Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการเบื้องต้นในการปลูกผักสวนครัว

หลักการเบื้องต้นในการปลูกผักสวนครัว

Published by Bangbo District Public Library, 2019-07-21 01:42:45

Description: หลักการเบื้องต้นในการปลูกผักสวนครัว

Search

Read the Text Version

จดั ทาํ และเผยแพรท างเว็บไซต : กลมุ ส่ือสงเสริมการเกษตร สวนสงเสรมิ และเผยแพร สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

หลกั ปฏบิ ัติเบือ้ งตน ..ในการปลูกผักสวนครัว ผกั สวนครวั คอื ผักท่ปี ลกู ไวใ นบริเวณบานหรือที่ วางตา ง ๆ ในชมุ ชนตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงคเพอื่ ปลกู ไวสาํ หรับรบั ประทานเอง ภายในครอบครัว หรอื ชุมชน การปลูกผักสวนครัวไวร ับประทาน จะทาํ ใหผ ูปลูกไดรับประทานผักสดทีอ่ ดุ มดวย วติ ามนิ และเกลอื แรต า ง ๆ มคี วามปลอดภยั จากสารเคมี ลดรายจายในครัวเรอื นและท่ีสาํ คญั ทาํ ใหสมาชิก ในครอบครัวมีกจิ กรรมรวมกันในการปลกู ผกั เพื่อ เกิดสมั พนั ธท ี่ดีภายในครอบครัว โดยทั่วไปคนตอง มกี ารบรโิ ภคผักอยางนอย วนั ละ 200 กรมั เพ่ือให ไดส ารอาหารครบถวน f ประโยชนข องการปลูกผกั สวนครัว ปลูกเปน รวั้ บาน ( ร้ัวกินได ) ผักที่สามารถนาํ มาปลูกเปนทาํ เปน ร้ัว ไดแก กระถนิ บา น ชะอม ตําลงึ ผกั หวาน ผกั ปลงั ตน แค ถว่ั พู มะระ ฯลฯ ซง่ึ เปน ผกั ทป่ี ลกู งา ย และใหผลผลติ ตลอดปม คี ุณคา ทางอาหารสูงและปลอดภัยจากสารเคมี สามารถใชป ระดบั ตกแตง บริเวณบาน เชน จัดสวนผกั สวนครัว การปลูกตน แค เปน รว้ั กนิ ได การนําผกั สวนครวั ทป่ี ลกู ในกระถางแบบแขวน – หอ ย มาตกแตง บรเิ วณรอบ ๆ บา น ใชพ ้ืนท่สี ว นที่วางเปลา ใหเกิดประโยชน ลดคาใชจ ายในการซื้อผักมาประกอบอาหารประจําวัน ครอบครวั ไดร บั ประทานผกั ทม่ี คี ณุ คา ทางอาหารครบถว นและปลอดภยั จากสารเคมี สรา งความสมั พนั ธแ ละสานสายใยรกั ทด่ี ใี นครอบครวั และใชเ วลาวา งใหเ ปน ประโยชน กลมุ ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2 ตน แคปลูกเปน รว้ั กนิ ได ปลูกแบบแขวนหอยตกแตง บาน ปลกู ประดบั ตกแตงบริเวณบาน ปลูกผกั สวนครัวในพนื้ ท่ีวา งเปลา แปลงปลกู มีแหลงนํ้า กลุมส่ือสงเสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

3 f ขอ พิจารณาในการปลูกผกั สวนครัว 1. การเลอื กสถานที่หรือทําเลปลกู ควรเลือกพนื้ ทท่ี ี่มีความอดุ มสมบูรณท่ีสุด อยูใกลแ หลงนํ้าไมไกลจากทพี่ กั อาศัย มากนัก เพอ่ื ความสะดวกในการปฏบิ ัติงานดานการปลูก การดแู ลรักษา และสะดวกในการเก็บ มาประกอบอาหารไดทนั ทีตามความตอ งการ 2. การเลือกประเภทผักสําหรับปลูก ควรเลอื กปลกู ผกั ใหม ากชนดิ ทส่ี ดุ เพอ่ื ใหไ ดค ณุ คา ทางอาหารทห่ี ลากหลาย เปน ผกั ที่สมาชิกในครอบครวั ชอบบรโิ ภคและเลือกปลูกผักใหเ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ มและปลกู ใหตรงกบั ฤดูกาล 3. สภาพแสงและรม เงา มคี วามจําเปนในการสังเคราะหแสงของพชื เพอื่ สรา งอาหาร ปริมาณแสงท่ีไดร บั ในพนื้ ทปี่ ลกู แตล ะวนั นน้ั จะมผี ลตอ ชนดิ ของผกั ทปี่ ลกู แบง ความตอ งการแสงในการปลกู ผกั ดงั น้ี สภาพพ้ืนทไี่ มไดร ับแสงแดดตลอดทง้ั วนั ควรปลกู พืชผกั ทเี่ จริญเติบโตใน รมได เชน ชะพลู สะระแหน ตะไคร โหระพา ขงิ ขา และกะเพรา เปนตน สภาพพ้ืนท่ีไดรับแสงแดดตลอดท้งั วัน ควรเลือกผักท่สี ามารถเจริญเติบโต ไดใ นแสงปกติ เชน ถั่วฝกยาว คะนา ผกั กาดเขียวกวางตุง พรกิ ตาง ๆ ยกเวน พริกขีห้ นสู วน 4. ความพรอมของผปู ลกู ผูปลูกควรกําหนดวา จะปลกู ผกั โดยมวี ัตถปุ ระสงคอะไร เชน ปลูกเพ่ือตอ งการ ไดผักมาบริโภคประจําวัน ปลูกเพือ่ งานอดเิ รก ปลูกเพื่อจดั สวนตกแตง บรเิ วณบา น ผูปลกู ตองมีความรู ความเขาใจธรรมชาติของผัก วิธีการปลกู ผักตลอดจนการ ดแู ลรกั ษา แรงงานในการปลกู ผัก ควรมีแรงงานในการดแู ลรักษาเฉลยี่ วนั ละประมาณ 2 – 3 ชัว่ โมง เนอ่ื งจากผกั สวนครัวตอ งการความพถิ ีพถิ นั ในการดแู ลรักษา ความชํานาญในการปลูกผัก การปลูกใหไดผลผลิตดี ผูปลูกจําเปนตองมี ความชาํ นาญ รูจกั สังเกตในการเจรญิ เตบิ โตของผกั และการเปลย่ี นแปลงตาง ๆ กลุมส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

4 5. ชนิดของผักท่ีจะปลกู ผักแตล ะชนิดมคี วามแตกตางกันในเร่ือง อายุการเก็บเกีย่ ว และฤดกู าลเพาะปลกู การวางแผน การปลกู ทเ่ี หมาะสม จะทาํ ใหม ีผลผลิตผักออกสมา่ํ เสมอ และใชพน้ื ทใี่ หเ กดิ ประโยชนไดเต็มที่ การจําแนกผกั ตามอายุการเก็บเก่ยี ว ดังน้ี 5.1 ผกั อายสุ ้นั ( นอ ยกวา 2 เดือน ) ไดแ ก ผักชี ผกั กาดหอม ผกั กาดเขียว กวางตุง คะนา ผกั บงุ จีน ผกั กาดหวั ผักกาดขาว แตงกวา ขา วโพดฝกออ น ปวยเหล็ง ผกั โขม 5.2 ผักอายปุ านกลาง ( 2 – 5 เดือน ) ไดแ ก กะหล่าํ ปลี ผักกาดขาวปลี บร็อคโคลี่ กะหลาํ่ ดอก ถว่ั ฝก ยาว ถวั่ แขก หอมหวั ใหญ มะเขอื เทศ พริก แตงโม มะระ บวบ ฟก ทอง ขาวโพดหวาน มนั ฝร่งั มนั เทศ กลมุ สอ่ื สงเสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

5 5.3ผักยนื ตน ( มากกวา 1 ป ) ไดแก กุยชาย ผกั หวาน มะเขือ ชะอม สะตอ ชะพลู โหระพา กะเพรา ถั่วพู ตะไคร แมงลัก กระชาย ขงิ หนอไมฝ รงั่ ขา ขมิ้น 6. ฤดูกาล ควรเลอื กปลกู ผักสวนครัวใหเ หมาะสมกับฤดูกาล เพราะจะทาํ ใหดูแลรกั ษางา ย ไดผ ักทม่ี ีคุณภาพ ผลผลิตดี มีโรคและแมลงรบกวนนอย ฤดกู าลทเ่ี หมาะสมในการปลูกพืชผกั แตล ะชนดิ ดังนี้ พฤศจกิ ายน – มกราคม หอมแบง กยุ ชา ย คนื่ ฉา ย กะหล่ําปลี ผกั กาดขาวปลหี อ กะหลํ่าปม กะหล่ําดอก มะเขือเทศ ถว่ั แระญ่ีปนุ หอมแดง หอมหวั ใหญ กระเทยี ม กมุ ภาพันธ – เมษายน ผกั ชี ผกั บงุ จีน ผกั กาดหัว ถว่ั ฝกยาว แตงกวา แตงไทย มะระ ผกั กาดขาวปลี ผกั คะนา ผักกาดเขียวกวางตุง ผกั กาดขาว พฤษภาคม – กรกฎาคม ผกั คะนา กุยชา ย บวบเหลี่ยม กวางตงุ ไตหวัน ขาวโพดหวาน หอมแดง สงิ หาคม – ตลุ าคม ผกั ชลี าว ผกั โขม กยุ ชา ย ผกั กาดขาว ผกั กาดเขยี วกวางตงุ หอมแบง มนั แกว มนั เทศ ผักกาดหอม ผกั คะนา ผกั บงุ จนี พรกิ ชี้ฟา พรกิ ขหี้ นู มะเขอื เปราะ มะเขอื ยาว กลุม ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

6 f วิธกี ารปลกู ผกั สวนครัว 1. การเตรียมดนิ ผักสามารถปลกู ไดท งั้ ในพืน้ ดนิ โดยตรงหรือหากไมม ที ่ีดนิ เพียงพอกส็ ามารถปลูก ไดใ นภาชนะตาง ๆ ท่มี คี วามลึกต้ังแต 20 เซนติเมตร ขนึ้ ไป เพ่อื ใหรากสามารถหยั่งลงไปใน วสั ดปุ ลูกได สําหรับความกวางของภาชนะขึ้นกับชนิดผักที่จะปลกู 1.1 การเตรียมดินสําหรบั ปลูกในภาชนะ ใช ดิน : แกลบ : ปุยหมกั อัตราสวน 1 : 1 : 1 คลกุ เคลาใหเขา กนั รดนํ้า เพ่อื ใหมีความชื้น สงั เกตไดจากสามารถกําวสั ดปุ ลูกเปนกอ นได 1.2 การเตรยี มดนิ สาํ หรับการปลกู ในพ้นื ทว่ี างหรอื ในแปลง กลุม ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

7 - พรวนดิน ตากดนิ ทิ้งไวป ระมาณ 7 – 15 วัน - ยกแปลงสูงประมาณ 4 – 5 นว้ิ กวา งประมาณ 1 – 1.20 เมตร สว นความยาวตามลกั ษณะของพน้ื ท่ี ควรอยใู นแนวทศิ เหนอื /ใต เพอื่ ใหผ กั ไดร บั แสงแดดทวั่ ทง้ั แปลง - ใสป ยุ หมักหรอื ปยุ คอก อัตรา 2 – 3 กิโลกรมั ตอ เนื้อที่ 1 ตารางเมตร 2. การปลูก 2.1 การปลูกดวยเมล็ด สําหรับผักโดยทั่วไป เชน พรกิ มะเขอื คะนา กวางตงุ กะหลาํ่ ปลี ผักกาดหวั ถัว่ ฝก ยาว และแตงกวา ตอ งใชเมลด็ ปลูก การใชเมล็ดปลูก ทาํ ได 3 วิธี คือ - การเพาะกลา กอ นแลว จึงยา ยปลูก สาํ หรับผักท่เี มล็ดมีราคาแพง ตอ งการดูแลเอาใจใสม าก หรือในชวงท่เี วนปลกู มีฝนตกชกุ การเพาะ และยายปลกู อาจทาํ ให สามารถดแู ลตน กลาใหแ ข็งแรงได กอ นยา ยปลูกลงในแปลงปลูก - การหวานเมลด็ โดยตรงในแปลงปลกู และเมื่อตน กลา โตทําการถอน แยกตน ทแี่ นน เกนิ ไปออก เพอ่ื จดั ระยะปลกู วธิ นี ห้ี ากผปู ลกู ไมช ํานาญอาจทําใหส น้ิ เปลอื งเมลด็ และเมล็ดอาจกระจายตวั ไมด จี ะทาํ ใหผกั ขึ้นเปนกระจุก มีวิธแี กโดยอาจใชเ มลด็ ผสมกบั ทราย และหวานเมลด็ จะทาํ ใหเมล็ดตกกระจายดีขึ้น - การปลูกในหลุมปลูกโดยตรง ใชก บั ผกั ที่มเี มลด็ ใหญ เชน ขา วโพด ถว่ั ฝก ยาว แตงกวา หรือผักที่ใชส ว นของรากรับประทาน เชน ผกั กาด หวั แครอท 2.2 ปลูกดวยสวนขยายพันธอุ ่นื ๆ เชน ก่งิ ตน หวั และไหล เปนตน ตัวอยางเชน กะเพรา โหระพา แมงลัก หอมแดง กระเทยี ม มันฝรัง่ เปน ตน กลุม ส่อื สงเสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

8 3. การดูแลรักษา 3.1 การใหนํ้า พืชผกั เปน พืชอายุสนั้ ระบบรากตื้น ตองการน้ําสมํา่ เสมอ ทุกระยะการเจริญเติบโต ตองใหน า้ํ ทุกวนั แตระวังอยาแฉะหรือมีนาํ้ ขัง เพราะนาํ้ จะเขาไป แทนท่ีอากาศในดิน ทําใหรากพชื ขาดออกซิเจนและเนา ตายได ควรรดน้ําในชว งเชา – เยน็ ไมควรรดนาํ้ ตอนแดดจัด 3.2 การใหปุย มี 2 ระยะ คอื - ปยุ รองพนื้ ใสช ว งเตรยี มดนิ หรอื รองกน หลมุ กอ นปลกู ควรเปน ปยุ คอก หรอื ปยุ หมกั เพือ่ ปรับโครงสรา งดนิ ใหโ ปรงรว นซุย ชว ยในการอมุ น้ําและรักษาความชน้ื ของ ดินใหเหมาะสมกบั การเจรญิ เติบโตของพชื - ปยุ บํารุง ใสปุยวทิ ยาศาสตร 2 ครงั้ ครัง้ แรกเมือ่ ยายกลา ไปปลูกจน กลาต้ังตัวไดแ ลว และใสครั้งที่ 2 หลงั จากใสค รั้งแรกประมาณ 2 – 3 สัปดาห การใสใหโ รย บาง ๆ ระหวา งแถว ระวังอยาใหป ยุ อยูชดิ ตน เพราะจะทาํ ใหผ ักตายได เมอ่ื ใสป ยุ แลว ควร พรวนดนิ และรดนํา้ ทันที ปยุ ท่มี ักใชก บั พชื ผกั ไดแ ก ยเู รยี แอมโมเนียมซัลเฟต สาํ หรับบํารุง ตนและใบ และปุยสูตร 15 – 15 – 15 และ12 – 24 – 12 สําหรับเรง การออกดอกและผล 3.3 การกาํ จัดวัชพชื ใชมดี จอบ หรอื ถอนดว ยมือ กลมุ ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

9 3.4 การปอ งกันกาํ จดั แมลงศัตรูพืช การปองกนั กาํ จัดแมลงทป่ี ลอดภัย ทาํ ไดหลายวิธี ดังน้ี - ใชก ับดักกาวเหนียวสีเหลอื ง สามารถดกั แมลงไดหลายชนดิ เชน เพลย้ี ออ น หนอนแมลงวนั ชอนใบ โดยตดิ ตง้ั 1 – 2 อนั ตอ แปลง สงู จากพนื้ ดนิ ประมาณ 50 ซม. โดยปจ จุบนั ถงุ พลาสติกสเี หลืองและกาวเหนียวมีขายทั่วไปตามรา นขายวัสดุการเกษตร - ใชกบั ดกั แสงไฟ ซ่งึ อาจเปน กับดักแมลงชนิดขดลวดไฟฟา ทําลายแมลง โดยตรงเชนเดียวกับท่ีดักยุงตามบาน หรืออาจเปนเพียงหลอดไฟสีน้ําเงินลอตัวแกของ หนอนผเี สอ้ื กลางคนื มาตกลงในภาชนะท่ีใสนาํ้ และนาํ้ มัน กลมุ สอื่ สงเสรมิ การเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

10 - ใชสารสกัดจากสะเดา เปนท้งั สารไลแ มลงและฆาแมลงโดยตรง - การใชสารสกัดจากพืชอน่ื ๆ เชน โลต้นิ สารสกดั จากหนอนตายหยาก และนิโคตินจากยาสูบ หรือยาฉุน สามารถหาซื้อไดงายในทองตลาด ใชยาฉุน 100 กรัม ตอ นํ้า 1 ลิตร แชท ้งิ ไว 1 คนื นาํ มาราด หรือฉีดพนฆา แมลงได - ใชเชอ้ื แบคทีเรยี หรอื เชื้อไวรัส ซึ่งไมเ ปนอนั ตรายตอ คน มที ้งั ในรปู ของ ผงและนํา้ โดยนาํ มาผสมนา้ํ ฉีด หรือราดบนใบผกั ในชวงบาย หรอื ค่ํา เพือ่ ไมใ หเ ช้อื ถูกชะลา ง ออกไป ควรรดนํ้าแปลงปลูกกอนฉีดเช้ือแบคทเี รีย นอกจากน้ีความชนื้ ยังชว ยใหเช้อื แบคทเี รีย เจริญเติบโตไดดี เชื้อแบคทเี รียและไวรัสสามารถกาํ จัดหนอนไดห ลายชนิด เชน หนอนใยผกั หนอนกระทูหอม หนอนคืบ ดวงหมัดผัก - ไสเ ดือนฝอย สามารถควบคุมดวงหมัดผัก และหนอนกระทูหอม โดยฉีดพน หรือราดลงแปลงปลูกหลงั ใหนา้ํ ในชว งเยน็ - ใชส ารไพรที รอยด เปน สารทปี่ ลอดภยั กบั สตั วเ ลอื ดอนุ แตม ฤี ทธเ์ิ ฉยี บพลนั ตอแมลง สลายตัวเร็วจนมีพิษตกคางต่าํ แตตองปฏิบัติตามคําแนะนําท่ีฉลากขางขวด ระบชุ วงเวลาทป่ี ลอดภัยหลงั จากฉดี พน แตสารไพรที รอยด ถา ใชบ อ ยจะทําใหแมลงปากดูด เชน เพล้ียไฟ และไรระบาดมากขึ้น - ปลกู พืชผกั รว มกบั พชื ที่มกี ล่ินไลแ มลง เชน โหระพา กะเพรา ตะไคร 3.5 การปอ งกันกาํ จดั เช้อื โรคในผัก ในการปลกู ผกั หากมีการดแู ลใหพชื ผัก มกี ารเจรญิ เตบิ โตท่ีแขง็ แรง สมบูรณ และปลูกไมใ หต น แนน หรือชดิ กนั เกินไป สามารถชว ย ปอ งกนั โรคไดใ นระดบั หนง่ึ แตใ นชว งฤดฝู นทม่ี ฝี นตกชกุ อาจทําใหเ กดิ ปญ หาใบจดุ หรอื โคนเนา ใหทําการเกบ็ ใบหรอื ตนผักท่เี ปน โรคทง้ิ และนําไปทําลายนอกแปลง และใชนา้ํ ปนู ใสรดท่ี แปลงผกั หรือตน ผัก วธิ กี ารทาํ น้ําปูนใส ใหใชปูนขาวจํานวน 5 กิโลกรัมตอน้าํ 20 ลติ ร ผสมให เขา กนั และทงิ้ คา งคนื ไว 1 คนื รงุ ขน้ึ ใหน ํานํา้ ปนู ใสทป่ี นู ตกตะกอนแลว อตั รา นา้ํ ปนู ใส 1 สว น นา้ํ ธรรมดาสําหรับรดผัก 5 สวน เพอ่ื รดในแปลงปลูก กลมุ สือ่ สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

11 f การเกบ็ เก่ยี ว การเก็บเก่ยี วผัก ควรเก็บในเวลาเชา จะทําใหผ ักสด รสชาติดี และหากยงั ไมไดใ ช ใหลา งใหส ะอาด และนาํ เก็บไวในตูเยน็ สาํ หรบั ผักประเภทผลควรเก็บในขณะท่ีผลไมแ กจ ัด จะไดผลทีม่ รี สชาติดี และจะทาํ ใหผลดก หากปลอ ยใหผลแกคาตนตอไปจะออกผลนอ ยลง สาํ หรบั ผกั ใบหลายชนดิ เชน หอมแบง ผกั บงุ จนี ผกั คะนา กะหลํ่าปลี การแบง เกบ็ ผกั ทส่ี ดออ น หรือโตไดข นาดแลว โดยยงั คงเหลือลาํ ตน และรากไว ไมถอนออกทง้ั ตน รากหรอื ตนทเี่ หลืออยู จะสามารถงอกงามใหผ ลผลติ ไดอ กี หลายครงั้ ทง้ั นจี้ ะตอ งมกี ารดแู ลรกั ษาใหน าํ้ และปยุ อยเู สมอ การปลกู พชื หมุนเวยี นสลบั ชนิด หรือปลกู ผักหลายชนิดในแปลงเดียวกันและปลูกผักทม่ี ีอายุ เกบ็ เกยี่ วสนั้ บา ง ยาวบา งคละกนั ในแปลงเดยี วกนั หรอื ปลกู ผกั ชนดิ เดยี วกนั แตท ยอยปลกู ครงั้ ละ 3 – 5 ตน หรอื ประมาณวา รบั ประทานไดใ นครอบครวั ในแตล ะครงั้ ทเี่ กบ็ เกยี่ ว กจ็ ะทําใหผ ปู ลกู มผี กั สด เกบ็ รับประทานไดท ุกวนั ตลอดป fที่มา กรมสง เสรมิ การเกษตร 2551. “ ผกั สวนครวั สานสายใยรกั แหง ครอบครวั ”. กรงุ เทพฯ. fเรียบเรยี งและจดั ทําโดย นางอรสา ดสิ ถาพร ผอู าํ นวยการสว นสง เสรมิ การผลติ ผกั ไมด อกไมป ระดบั และพชื สมนุ ไพร สวนสง เสรมิ การผลิตผัก ไมดอกไมประดับและพืชสมุนไพร สาํ นกั สง เสริมและจดั การสินคาเกษตร กรมสง เสริมการเกษตร กลุมสอื่ สงเสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook