Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2

บทที่ 2

Published by จักริน ทองดี, 2020-04-29 00:53:43

Description: บทที่ 2

Search

Read the Text Version

วิทยาลยั สารพดั ชางสระบุรี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธรุ กจิ 20204-2005 อาจารยจ ักริน ทองดี

วทิ ยาลยั สารพัดชา งสระบุรี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ รุ กจิ หนวยท่ี 2 ประเภทของเครือขาย เครือขายคอมพิวเตอร จะแบงออกเปนระดับทองถิ่น ระดับเมือง ระดับประเทศและไรสายแตละประเภท จะมคี วามแตกตา งกันในเครื่องของระยะทางในการรับ - สง ขอมูลไดประมาณ 100 เมตรหรอื ระดับเมอื งจะรบั - สง ขอมูลไดไมเ กิน 60 กิโลเมตร ขอแตกตางของเครอื ขายคอมพิวเตอร นอกจากจะแตกตา งกันในเคร่ืองระยะทางแลว ยังมีลักษณะของอุปกรแ ละระบบการเชือ่ มตอของเครอื ขายท่ีแตกตางกัน สิ่งท่ีจะไดเรียนรูจากหนวยการเรยี นรูน้กี ็ คอื รูปแบบการเช่ือมตอ ของระบบเครอื ขายไรส ายแบบตา ง ๆ อีกดว ย 2.1 เครือขายทอ งถิ่น เครอื ขายคอมพิวเตอรมหี ลายประเภทสามารถใชหลักเกณฑใ นการแบงไดหลายวิธี แตถ า หากแบง ประเภท ของเครือขายตามขนาดและระยะทางท่ีเช่ือมตอระหวางอุปกรณการสื่อสาร เครือขายคอมพิวเตอรสามารถแบง ออกไดเ ปน 4 ชนิด ดงั น้ี 1. เครือขายทองถิน่ หรอื เครอื ขายแลน (Local Area Network : LAN) 2. เครอื ขายระดบั เมอื ง หรือเครือขา ยแมน (Metropolitan Are Network : MAN) 3. เครือขายระดบั ประเทศ หรอื เครือขายแวน (Wide Area Network : WAN) 4. เครอื ขายไรสาย (Wireless Local Area Network : WLAN 1. เครอื ขายทอ งถ่ิน (LAN) เปนระบบเครอื ขายท่ีใชงานอยูใ นบรเิ วณท่ีไมก วางนัก อาจใชอ ยูภายในอาคารเดยี วกันหรืออาคารที่อยูใกล กัน เชน ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสํานักงาน คลังสินคา หรือโรงงาน เปนตน การสงขอมูลสามารถทําไดดวย ความเร็วสูง และมีขอผิดพลาดนอย ระบบเครือขายระดับทองถ่ินจึงถูกออกแบบมาใหชวยลดตน ทุนและเพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทํางาน และใชงานอุปกรณต า ง ๆ รว มกัน อาจารยจกั ริน ทองดี

วิทยาลัยสารพัดชางสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธรุ กจิ 2. เครอื ขา ยระดบั เมือง เครอื ขา ยระดบั เมอื ง (MAN) เปนระบบเครือขายท่ีมีขนาดอยูระหวาง Lan และ Wan เปนระบบเครือขายท่ีใชภายในเมืองหรือจังหวัด เทาน้ัน การเช่ือมโยงจะตองอาศัยระบบบริการเครือขายสาธารณะ จึงเปนเครือขายท่ีใชกับองคการที่มีสาขา หางไกลและตองการเชื่อมสาขา เหลาน้ันเขาดวยกัน เชน ธนาคาร เครือขายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก จึงมี ความเร็วในการสื่อสารไมสงู เน่อื งจากมสี ัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใชก บั เครอื ขายแวนมีความหลากหลาย มกี ารเชือ่ มโยงระหวางประเทศดวยชองสญั ญาณดาวเทียม เสน ใยนําแสง คล่นื ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล อาจารยจกั ริน ทองดี

วทิ ยาลยั สารพัดชา งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธุรกิจ 3. เครอื ขา ยระดับประเทศ เครือขายระดับประเทศ (WAN) เปน ระบบเครือขา ยที่ติดต้ังใชงานอยูในบรเิ วณกวาง เชน ระบบเครอื ขา ยทตี่ ดิ ต้งั ใชง านทั่วโลก เปน เครอื ขายทเ่ี ชอ่ื มตอ คอมพิวเตอรหรอื อุปกรณทอ่ี ยูหางไกลกันเขา ดวย กนั อาจจะตองเปน การตดิ ตอส่ือสารกันใน ระดบั ประเทศ ขา มทวีปหรอื ทั่วโลกกไ็ ด ในการเช่อื มการติดตอน้นั จะตองมีการตอ เขา กับระบบสือ่ สารของ องคการโทรศพั ทห รือการสอ่ื สารแหง ประเทศไทยเสยี กอน เพราะจะเปน การสง ขอมลู ผา นสายโทรศพั ทใ นการ ติดตอ สือ่ สารกนั โดยปกติมี อัตราการสงขอมลู ทตี่ ่ําและมโี อกาสเกดิ ขอผิดพลาด การสงขอมลู อาจใชอ ปุ กรณใ นการ สือ่ สาร เชน โมเดม็ (Modem) มาชว ย 4.ระบบเครือขายไรส าย (Wireless LAN) เทคโนโลยีในการตดิ ตอ สอื่ สารระหวางเครื่องคอมพวิ เตอร 2 เคร่ือง หรือกลมุ ของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร รวมถึงการติดตอส่ือสารระหวางเคร่ืองคอมพวิ เตอรก ับอปุ กรณเคร่ือขายคอมพวิ เตอร ซึ่งการสื่อสารจะไมใช สายสัญญาณในการเชอ่ื มตอ (LAN) แตจะใชคลน่ื วิทยุ หรือ คลืน่ อินฟาเรด ในการรบั สง ขอมูลแทน ซ่ึงในขณะนี้ กาํ ลงั เปนที่นิยมเปน อยางมาก จะเห็นไดจ ากแทบจะทุกจดุ ในเมอื งท่ีสาํ คญั ๆจะมีสัญญาณของ Wireless อยแู ทบ ทกุ ทเ่ี ลยท่ีเดียวดวยความสะดวกสบายในการใชง านไมตองมองหา plug เสยี บสาย LAN กนั ใหยงุ ยาก เคลื่อนยาย งา ย แถมดวยสญั ญาณ ท่กี ระจายอยูทวั่ ไป ทําใหไมว าจะอยูทีไ่ หน ขอแคสัญญาณไปถึงกส็ ามารถรบั -สงขอมลู กันได ไมต องเจาะกําแพง เดนิ สายกันใหย งุ ยากอีกตอไป อาจารยจักริน ทองดี

วิทยาลัยสารพดั ชา งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธุรกจิ มาตรฐานเครือขา ยไรสาย เครอื ขายไรส ายมาตรฐาน IEEE 802.11 มีขอ กาํ หนดวา “ผลติ ภัณฑเ ครอื ขายไรส ายในสว นของ PHY Layer นัน้ มีความสามารถในการรับสงขอมูลทคี่ วามเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 เมกะบติ ตอ วินาที โดยมีสือ่ นํา สัญญาณ 3 ประเภทใหเ ลือกใชง าน ไดแ ก คลน่ื วิทยยุ านความถี่ 2.4 กกิ ะเฮิรตซ, 2.5 กิกะเฮริ ตซและคลื่นอิน ฟาเรด สวนในระดบั ช้นั MAC Layer นน้ั ไดกาํ หนดกลไกของการทาํ งานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance)ซง่ึ มีความคลายคลึงกบั CSMA/CD (Collision Detection) ของ มาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet ซึง่ นยิ มใชง านบนระบบเครือขายแลนใชสาย โดยมกี ลไกในการเขารหสั ขอมลู กอนแพรกระจายสัญญาณไปบนอากาศ พรอมกับมกี ารตรวจสอบผใู ชงานอกี ดวย” มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยคุ เริ่มแรกน้ันใหป ระสทิ ธภิ าพการทํางานที่คอนขา งตาํ่ ทั้งไมมกี ารรบั รอง คณุ ภาพของการใหบ ริการทเ่ี รียกวา QoS (Quality of Service) ซึ่งมคี วามสาํ คัญในสภาพแวดลอมท่ีมแี อพพลิเค ชนั หลากหลายประเภทใหใชงาน นอกจากน้ันกลไกในเรื่องการรกั ษาความปลอดภยั ที่นาํ มาใชก ็ยงั มีชองโหวจาํ นวน มาก IEEE จึงไดจ ัดต้งั คณะทํางานขนึ้ มาหลายชดุ ดว ยกนั เพ่ือทาํ การพฒั นาและปรับปรุงมาตรฐานใหม ีศกั ยภาพ เพิม่ สงู ขนึ้ IEEE 802.11a เปน มาตรฐานทีไ่ ดร ับการตีพิมพและเผยแพรเ มอื่ ป พ.ศ. 2542 โดยใชเทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพือ่ พัฒนาใหผ ลิตภัณฑไ รส ายมีความสามารถในการรบั สง ขอ มลู ดวยอัตราความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวนิ าที โดยใชคล่ืนวิทยุยานความถ่ี 5 กกิ ะเฮริ ตซ ซงึ่ เปนยานความถ่ี อาจารยจ ักรนิ ทองดี

วิทยาลยั สารพดั ชางสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ รุ กิจ ท่ไี มไดร บั อนญุ าตใหใ ชงานโดยท่ัวไปในประเทศไทย เนื่องจากสงวนไวสําหรับกิจการทางดา นดาวเทยี ม ขอเสยี ของ ผลิตภณั ฑม าตรฐาน IEEE 802.11a ก็คือมรี ัศมกี ารใชง านในระยะสน้ั และมีราคาแพงดงั นน้ั ผลติ ภณั ฑไ รส าย มาตรฐาน IEEE 802.11a จึงไดรบั ความนิยมนอย IEEE 802.11b เปนมาตรฐานท่ถี ูกตพี มิ พแ ละเผยแพรออกมาพรอมกับมาตรฐาน IEEE 802.11a เมอ่ื ป พ.ศ. 2542 ซงึ่ เปน ท่รี ูจ ักกนั ดีและไดรบั ความนยิ มในการใชงานกันอยางแพรห ลายมากทส่ี ุด ผลติ ภัณฑท ่อี อกแบบ มาใหร องรับมาตรฐาน IEEE 802.11b ใชเทคโนโลยที เ่ี รยี กวา CCK (Complimentary Code Keying) รว มกบั เทคโนโลยี DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพอื่ ใหสามารถรบั สงขอมูลไดดวยอตั ราความเรว็ สงู สุด ท่ี 11 เมกะบิตตอวินาที โดยใชค ลนื่ สญั ญาณวทิ ยุยานความถ่ี 2.4 กกิ ะเฮิรตซ ซ่ึงเปน ยานความถ่ที ่อี นญุ าตใหใ ชงาน ในแบบสาธารณะทางดา นวทิ ยาศาสตร อตุ สาหกรรม และการแพทย โดยผลติ ภณั ฑท่ีใชความถยี่ า นนีม้ ชี นิด ท้ัง ผลติ ภณั ฑทร่ี องรบั เทคโนโลยี Bluetooth, โทรศพั ทไรส ายและเตาไมโครเวฟ จึงทําใหก ารใชง านน้นั มีปญ หาใน เร่ืองของสัญญาณรบกวนของผลติ ภณั ฑเ หลา น้ี ขอดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b ก็คอื สนบั สนุนการใชง านเปน บรเิ วณกวา งกวามาตรฐาน IEEE 802.11a ผลิตภณั ฑมาตรฐาน IEEE 802.11b เปน ทรี่ จู กั ในเคร่ืองหมายการคา Wi-Fi ซึง่ กาํ หนดขึ้นโดย WECA (Wireless Ethernet Compatability Alliance) โดยผลติ ภัณฑท ไ่ี ดร บั เครอ่ื งหมาย Wi-Fi ไดผ า นการตรวจสอบและรับรองวาเปน ไปตามขอ กาํ หนดของมาตรฐาน IEEE 802.11b ซ่ึง สามารถใชงานรวมกันกับผลติ ภณั ฑข องผผู ลิตรายอ่นื ๆ ได IEEE 802.11g เปน มาตรฐานทนี่ ิยมใชงานกนั มากในปจจบุ ันและไดเ ขา มาทดแทนผลติ ภัณฑท ี่รองรบั มาตรฐาน IEEE 802.11b เน่ืองจากสนบั สนนุ อัตราความเร็วของการรบั สงขอมูลในระดบั 54 เมกะบิตตอวนิ าที โดยใชเทคโนโลยี OFDM บนคล่ืนสัญญาณวทิ ยุยา นความถ่ี 2.4 กิกะเฮริ ตซ และใหรัศมีการทํางานท่ีมากกวา IEEE 802.11a พรอมความสามารถในการใชงานรว มกันกบั มาตรฐาน IEEE 802.11b ได (Backward-Compatible) IEEE 802.11e เปนมาตรฐานทีอ่ อกแบบมาสาํ หรบั การใชงานแอพพลเิ คชนั ทางดา นมัลติมิเดยี อยาง VoIP (Voice over IP) เพ่อื ควบคุมและรบั ประกันคณุ ภาพของการใชง านตามหลกั การ QoS (Quality of Service) โดย การปรบั ปรุง MAC Layer ใหม ีคุณสมบัติในการรบั รองการใชง านใหมีประสทิ ธิภาพ IEEE 802.11f มาตรฐานน้ีเปนทร่ี จู กั กันในนาม IAPP (Inter Access Point Protocol) ซ่งึ เปนมาตรฐาน ที่ออกแบบมาสําหรบั จดั การกับผใู ชงานที่เคล่ือนทขี่ ามเขตการใหบริการของ Access Point ตัวหนึ่งไปยัง Access Point เพอ่ื ใหบริการในแบบโรมมงิ สัญญาณระหวางกนั อาจารยจกั รนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพดั ชา งสระบุรี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ ุรกจิ IEEE 802.11h มาตรฐานท่อี อกแบบมาสําหรับผลิตภณั ฑเ ครือขา ยไรสายท่ีใชงานยานความถ่ี 5 กิกะ เฮริ ตซ ใหท ํางานถูกตองตามขอกาํ หนดการใชค วามถ่ขี องประเทศในทวปี ยโุ รป IEEE 802.11i เปนมาตรฐานในดา นการรักษาความปลอดภัยของผลิตภัณฑเ ครือขา ยไรส าย โดยการ ปรับปรงุ MAC Layer เนือ่ งจากระบบเครือขายไรส ายมชี องโหวม ากมายในการใชง าน โดยเฉพาะฟงกช นั การ เขารหัสแบบ WEP 64/128-bit ซง่ึ ใชคยี ท ่ีไมม ีการเปล่ียนแปลง ซง่ึ ไมเ พยี งพอสาํ หรับสภาพการใชงานทีต่ อ งการ ความมั่นใจในการรกั ษาความปลอดภัยของการสอ่ื สารระดับสงู มาตรฐาน IEEE 802.11i จึงกาํ หนดเทคนิคการ เขารหสั ทีใ่ ชคียช ่ัวคราวดวย WPA, WPA2 และการเขารหัสในแบบ AES (Advanced Encryption Standard) ซ่งึ มีความนาเชอื่ ถือสูง IEEE 802.11k เปนมาตรฐานท่ใี ชจ ัดการการทํางานของระบบเครือขา ยไรสาย ท้ังจัดการการใชงาน คลน่ื วทิ ยุใหมปี ระสิทธิภาพ มีฟงกช ันการเลือกชองสัญญาณ, การโรมมงิ และการควบคุมกําลังสง นอกจากนั้นกย็ งั มี การรองขอและ ปรับแตง คา ใหเ หมาะสมกบั การทาํ งาน การหารัศมกี ารใชง านสาํ หรับเคร่อื งไคลเอนตทีเ่ หมะสม ทสี่ ดุ เพ่ือใหร ะบบจดั การสามารถทาํ งานจากศูนยกลางได IEEE 802.11n เปนมาตรฐานของผลติ ภัณฑเครือขายไรส ายท่ีคาดหมายกันวา จะเขามาแทนทีม่ าตรฐาน IEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใชง านกันอยูในปจ จุบัน โดยใหอัตราความเร็วในการรบั สง ขอมลู ในระดบั 100 เมกะบิตตอ วินาที IEEE 802.1x เปนมาตรฐานท่ีใชง านกับระบบรักษาความปลอดภยั ซ่งึ กอนเขาใชงานระบบเครอื ขายไร สายจะตองตรวจสอบสิทธใ์ิ นการใชง านกอ น โดย IEEE 802.1x จะใชโ พรโตคอลอยา ง LEAP, PEAP, EAP-TLS, EAP-FAST ซง่ึ รองรับการตรวจสอบผานเซริ ฟเวอร เชน RADIUS, Kerberos เปน ตน 802.11n มาตรฐานใหมWi-Fi 802.11n เร็วขนึ้ และไกลขนึ้ Wireless LAN ( ระบบแลนไรส าย ) มี ความเรว็ เพ่ิมขน้ึ และใชง านไดไกลกวาที่เปนอยูในปจจบุ ัน ดว ยมาตรฐาน Wi-Fi 80.211n จากตัวเลขความเรว็ สงู สดุ ของ Wi-Fi ในปจ จุบัน 802.11g ท่ี 54 Mbps และระยะใชง านไกลสุด 100 เมตรน้ัน ไมวา ใครก็คงจะพอ ทราบวา ความเร็วที่ไดรบั จรงิ อยูนัน้ มนั แตกตา งจากสเปกทร่ี ะบุไว เพราะถา จะใหไดความเร็วระดบั 54 Mbps ตอ งหา งจากตวั เครื่อง Access Point ไมเกนิ 10 เมตร และถาระยะทางเพ่ิมข้ึนเปนกวา 20 เมตร ความเร็วก็มักจะ ลดลงเหลอื แค 1.5 Mbps ซงึ่ ใชง านอะไรไมไ ดแลว อาจารยจกั รนิ ทองดี

วทิ ยาลยั สารพัดชางสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ Wi-Fi 802.11n จะกลายมาเปนบรรทัดฐานอันใหม ทช่ี ว ยเพ่มิ ความเรว็ และระยะทางในการรบั สง ขอมลู ใหไ กล ขึ้นโดยยังใชง านรว มกับมาตรฐานเดมิ อยา ง 802.11b/g ไดด วย ในเบ้อื งตน Intel (U.S.) ไดคาดการณวา อัตรา การสง ผานขอ มลู สงู สุดในทางทฤษฏีจะมากกวา 200 Mbps สวนความเร็วจริงทไ่ี ดร บั จะอยูทีป่ ระมาณ 100 Mbps ซ่ึงเปน ตัวเลขทีเ่ ทากับตางสเปก ความเรว็ สูงสดุ ของระบบแลนไรส ายแบบ Fast Ethernet พอดสี ว นในดานของ ระยะใชง านนั้นตองบอกวายังไมม ีความชัดเจนในเรื่องน้ีเทาใดนัก แตท าจะเทียบจากระยะท่ใี ชง านไดจ ริงของ 802.11g ในปจ จุบนั แลว 802.11n ก็นา จะดีขน้ึ อยา งแนน อน เพราะวาระบบรบั -สงจะทนทานตอสัญญาณรบกวน ตางๆไดดีกวา คา สเปกของ 802.11n ทีด่ ขี ึน้ กวา 802.11g นน้ั เกดิ จากเทคนิคในการออกแบบทส่ี ําคญั อันหน่งึ ซง่ึ เรียกกัน วา MIMO ซ่ึงหมายถึง การเพิ่มจาํ นวนชอ งสญั ญาณในการรับ-สงขอมูล ดวยการเพิ่มจาํ นวนเสาอากาศทง้ั ท่ี เครอ่ื งสง และเครอ่ื งรับใหม ากขึน้ เปนจํานวนเทาๆกัน อยางเชนถาหากเครื่องสง มเี สาอากาศ 2 ตน เคร่ืองรบั กต็ อ ง มเี สาอากาศ 2 ตนดวย โดยมเี งือ่ นไขวา การจดั วางตาํ แหนง ของเสาอากาศทกุ ตนของฝงเครอ่ื งสง และเคร่ืองรบั จะตอ งมีขนาด และระยะตําแหนงตางๆ ทต่ี รงกันแปะ จึงจะสามารถรบั -สง ผา นชองสญั ญาณทกุ ชองได รูปแบบการเชยี่ มตอของระบบเครอื ขา ยไรส าย 1. Peer-to-peer ( ad hoc mode) รูปแบบการเชื่อมตอระบบแลนไรส ายแบบ Peer to Peer เปน ลกั ษณะ การเชือ่ มตอ แบบโครงขาย โดยตรงระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอร จํานวน 2 เครือ่ งหรือมากกวานัน้ เปนการใชงานรว มกันของ wireless adapter cards โดยไมไ ดม ีการเชื่อมตอ กบั เครือขายแบบใชส ายเลย โดยทเ่ี ครอื่ งคอมพิวเตอรแ ตล ะเคร่อื งจะมี ความเทาเทยี มกัน สามารถทํางานของตนเองไดและขอใชบริการเคร่อื งอื่นได เหมาะสาํ หรบั การนํามาใชง านเพ่ือ จุดประสงคใ นดานความรวดเร็วหรือตดิ ตั้งไดโดยงายเมือ่ ไมมีโครงสรางพื้นฐานที่จะรองรบั ยกตัวอยางเชน ในศูนย ประชุม, หรอื การประชุมท่ีจดั ขนึ้ นอกสถานท่ี อาจารยจักริน ทองดี

วิทยาลยั สารพัดชา งสระบุรี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธุรกิจ 2. Client/server (Infrastructure mode) ระบบเครอื ขายไรสายแบบ Client / serverหรอื Infrastructure mode เปนลักษณะการรับสง ขอมูลโดยอาศัย Access Point (AP) หรอื เรยี กวา “Hot spot” ทาํ หนาที่เปน สะพานเชอ่ื มตอระหวางระบบ เครอื ขายแบบใชส ายกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรลกู ขา ย (client) โดยจะกระจายสัญญาณคลนื่ วิทยเุ พอ่ื รับ-สง ขอมลู เปนรัศมโี ดยรอบ เครื่องคอมพวิ เตอรท ่อี ยูในรศั มีของ AP จะกลายเปน เครือขายกลุมเดียวกันทนั ที โดยเคร่อื ง คอมพิวเตอร จะสามารถติดตอ กัน หรอื ติดตอกบั Server เพอื่ แลกเปลย่ี นและคนหาขอมูลได โดยตองตดิ ตอผา น AP เทา นน้ั ซ่ึง AP 1 จุด สามารถใหบ รกิ ารเครื่องลูกขายไดถงึ 15-50 อปุ กรณ ของเคร่ืองลูกขา ย เหมาะสําหรบั การนาํ ไปขยายเครอื ขายหรือใชรวมกบั ระบบเครือขายแบบใชสายเดมิ ในออฟฟต, หอ งสมุด หรอื ในหอ งประชุม เพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพในการทํางานใหม ากข้ึน อาจารยจักริน ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดชา งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธรุ กจิ 3. Multiple access points and roaming โดยทัว่ ไปแลว การเช่ือมตอ สัญญาณระหวา งเครอื่ งคอมพวิ เตอร กับ Access Point ของเครอื ขา ยไรสาย จะอยใู นรศั มปี ระมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ 1000 ฟุต ภายนอกอาคาร หากสถานที่ที่ตดิ ตัง้ มขี นาดกวา ง มากๆ เชน คลังสินคา บรเิ วณภายในมหาวิทยาลยั สนามบิน จะตอ งมีการเพมิ่ จุดการติดตง้ั AP ใหมากขึน้ เพื่อให การรบั สงสัญญาณในบรเิ วณของเครอื ขา ยขนาดใหญ เปน ไปอยางครอบคลุมท่วั ถงึ 4. Use of an Extension Point กรณที โี่ ครงสรา งของสถานทต่ี ดิ ตง้ั เครอื ขา ยแบบไรสายมปี ญ หาผอู อกแบบระบบอาจจะใช Extension Points ท่มี คี ุณสมบตั เิ หมือนกบั Access Point แตไมตองผูกติดไวกับเครอื ขา ยไรสาย เปน สวนทใ่ี ช เพม่ิ เตมิ ในการรับสง สัญญาณ 5. The Use of Directional Antennas อาจารยจ ักริน ทองดี

วิทยาลัยสารพดั ชา งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ ุรกิจ ระบบแลนไรสายแบบนี้เปน แบบใชเสาอากาศในการรับสง สญั ญาณระหวางอาคารทอ่ี ยหู างกนั โดย การตดิ ตง้ั เสาอากาศที่แตล ะอาคาร เพ่ือสงและรบั สญั ญาณระหวางกนั ประโยชนของระบบเครอื ขา ยไรสาย มดี ังน้ี ▪ ความคลอ งตัวสงู ไมว าเราจะเคลื่อนที่ไปท่ีไหนหรือเคล่ือนยา ยคอมพิวเตอรไปตาํ แหนงใด กย็ ังมกี ารเชอ่ื มตอกับเครือขา ยตลอดเวลาตราบใดท่ีอยูในระยะการสงขอมูล ▪ สามารถตดิ ต้ังไดงายและรวดเร็ว เพราะไมตอ งเสียเวลาติดตั้งสายเคเบิลและไมร กรงุ รัง ▪ สามารถขยายระบบเครือขา ยไดงา ย เพราะเพยี งแคม ีบตั รพซี (ี PC Card) มาตอ เขามากับ คอมพวิ เตอรโ นตบุกหรอื คอมพิวเตอรสว นบุคคลกเ็ ขา สูเครือขา ยไดทนั ที ▪ ลดคา ใชจ ายโดยรวม ทผ่ี ูลงทุนตองลงทุนซึ่งมีราคาสูง เพราะในระยะยาวแลว ระบบ เครอื ขายไรสายไมจ าํ เปนตองเสียคา บํารงุ รักษาและการขยายเครอื ขายกล็ งทนุ นอยกวาเดิมหลายเทา เพราะติดต้ัง งาย ▪ สามารถปรับขนาดและความเหมาะสมไดง าย เพราะสามารถโยกยายตําแหนง การใชงาน ไดโดยเฉพาะระบบท่ีมีการเชอื่ มตอระหวา งจดุ ตอจุด เชน ระหวางตกึ ระหวางอาคาร ระหวางทพ่ี กั เปนตน ไมตอง เสยี เวลาในเรือ่ งการเดนิ สายเพ่ือเช่ือมตอสัญญาณ อาจารยจ ักริน ทองดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook