Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 มาตรฐานการเชื่ยมต่อระบบเครือข่าย

หน่วยที่ 3 มาตรฐานการเชื่ยมต่อระบบเครือข่าย

Published by จักริน ทองดี, 2020-04-29 07:55:41

Description: หน่วยที่ 3 มาตรฐานการเชื่ยมต่อระบบเครือข่าย

Search

Read the Text Version

วิทยาลยั สารพดั ช่างสระบุรี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 20204-2005 อาจารยจ์ ักริน ทองดี

วิทยาลยั สารพัดชา่ งสระบุรี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ หน่วยท่ี 3 มาตรฐานการเชื่อมตอ่ ระบบเครอื ขา่ ย มาตรฐาน OSI Model การทค่ี อมพวิ เตอร์เคร่ืองหนง่ึ จะสง่ ขอ้ มูลไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครือ่ งหนงึ่ ไดน้ น้ั จะตอ้ งอาศัยกลไก หลาย ๆ อยา่ งร่วมกนั ทำงานตา่ งหน้าทีก่ ัน และเชอ่ื มต่อเป็นเครือข่ายเขา้ ดว้ ยกัน ปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ คอื การเชอ่ื มตอ่ มี ความแตกแต่งระหวา่ งระบบและอปุ กรณ์หรอื เป็นผู้ผลติ คนละรายกนั ซ่งึ เป็นสง่ิ ทีท่ ำให้การสรา้ งเครอื ข่ายเปน็ เรอ่ื ง ยากมาก เน่อื งจากขาดมาตรฐานกลางทจ่ี ำเป็นในการเช่ือมตอ่ จึงไดเ้ กดิ หน่วยงานกำหนดมาตรฐานสากลขึ้นคือ International Standards Organization (ISO) ขึ้น และทำการกำหนดโครงสรา้ งทงั้ หมดทจ่ี ำเปน็ ต้องใช้ในการส่อื สารข้อมลู และเป็นระบบเปดิ เพื่อให้ผู้ผลิต ต่าง ๆ สามารถแยกผลิตในส่วนท่ีตวั เองถนัดแต่สามารถนำไปใช้รว่ มกนั ได้ ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรส์ มัยใหม่จะ ถูกออกแบบให้มีโครงสร้างที่แน่นอน และเพื่อเป็นการลดความซับซ้อน ระบบเครือข่ายสว่ นมากจงึ แยกการทำงาน ออกเป็นชน้ั ๆ (layer) โดยกำหนดหนา้ ท่ีในแตล่ ะช้ันไว้อยา่ งชัดเจน แบบจำลองสำหรบั อ้างอิงแบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) ของ ISO เป็นแบบจำลองที่ถูกเสนอและพฒั นาโดยองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถงึ โครงสร้างของสถาปตั ยกรรมเครือข่ายในอดุ ม คติ ซงึ่ ระบบเครือข่ายท่ีเป็นไปตามสถาปัตยกรรมน้ีจะเป็นระบบเครือขา่ ยแบบเปิด และอุปกรณ์ทางเครอื ข่ายจะ สามารถตดิ ต่อกนั ได้โดยไม่คำนึงถึงว่าจะเป็นอปุ กรณข์ องผู้ขายรายใด แบบจำลอง OSI จะแบง่ การทำงานของ ระบบเครือข่ายออกเปน็ 7 ช้ัน คือ อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1.Application Layer เป็นเลเยอร์ทกี่ ำหนดอินเตอรเ์ ฟชระหว่างแอปพลิเคชันทีท่ ำงานบนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรก์ ับซอฟตแ์ วร์ ส่ือสารตา่ ง ๆ ทที่ ำงานอยูบ่ นเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ตัวอยา่ งเช่น เวบ็ บราวเซอร์ ถอื วา่ เปน็ แอปพลิเคชนั ทท่ี ำงานอยู่ บนเครื่องคอมพวิ เตอร์ เม่อื ต้งการบั ส่งข้อมูลเว็บเพจกบั เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ ซ่ึงจะตง้ อาศัยความสามารถของเลเยอร์ 7 ในการอนิ เตอรเ์ ฟชกับซอฟต์แวรส์ ่ือสารในเลเยอร์ระดับล่างเพอื่ ให้ไดม้ าซงึ่ เว็บเพจท่ีตอ้ งการ 2.Presentation Layer จดุ ประสงค์หลักของเลเยอร์น้ีคือ กำหนดฟอรแ์ มตของการส่ือสาร ตัวอยา่ งเชน่ ASCII Text,EBCDIC, ไบ นารี (Binary) และ JPEG การเขา้ รหสั กร็ วมอยู่ในเลเยอรน์ ด้ี ้วย ตวั อยา่ งเช่น โปรแกรม FTP ตอ้ งการรับส่งโอนย้าย ไฟลก์ บั เคร่ืองเซริ ์ฟเวอรป์ ลายทาง โปรโตคอล FTP จะอนญุ าตใหผ้ ู้ใชร้ ะบุฟอรม์ ของข้อมลู ทีโ่ อนยา้ ยกนั ได้ว่าเป็น แบบ ASCII Text หรือเป็นแบบไบนารี (Binary) อาจารย์จกั รนิ ทองดี

วิทยาลยั สารพดั ชา่ งสระบุรี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ 3.Session Layer เป็นเลเยอรท์ ค่ี วบคมุ การสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทางแบบ End to End และคอยควบคุมช่องทาง การส่ือสารในกรณที ี่มีหลาย ๆ กระบวนการ (Process) ตอ้ งการรบั สง่ ข้อมลู พร้อม ๆ กันบนเครอ่ื งเดยี วกัน และ ยงั ให้อนิ เตอรเ์ ฟชสำหรบั แอปพลเิ คชนั เลเยอรด์ ้านบนในการควบคมุ ขึ้นตอนการทำงานของโปรโตคอลในระดบั Transport/Network เช่น Socket ทใี่ ช้ในยูนกิ ซ์ หรือ Windows Socket ที่ใชใ้ นยนู กิ ซ์ หรือ Windows Socket ท่ีใชใ้ นวินโดวส์ ซ่ึงได้ให้ Application Programming Interface (API) แกผ่ ู้พฒั นาซอฟ์แวรใ์ นระดบั บนสำหรบั การเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมการทำงานของโปรโตคอล TCP/IP ในระดบั ลา่ ง 4.Transport Layer เปน็ เลเยอร์ทม่ี หี นา้ ท่หี ลักๆในการแบ่งข้อมลในเลเยอร์บนใหพ้ อเหมาะกับการจัดส่งไปในเลเยอรล์ า่ ง (Segmentation) ทำหนา้ ทป่ี ระกอบรวมข้อมลู ต่าง ๆ ที่ได้รบั มาจากเลเยอรล์ า่ ง (Assembly) และใหบ้ ริการในการ แก้ไขปัญหาเม่ือเกิดข้อผิดพลาดขน้ึ ในระหวา่ งทางของการส่ง หน่วยของข้อมูลในเลเยอร์น้มี กั จะถูกเรยี กว่า Segment ตัวอยา่ งของโปรโตคอลในเลเยอร์นีท้ ่รี ู้จกั กนั ดี คือ โปรโตคอล TCP และ UDP 5.Network Layer เป็นเลเยอรท์ มี่ ีหนา้ ท่ีหลักๆในการแบง่ ข้อมลู ในเลเยอรบ์ นใหพ้ อเหมาะกับการจัดสง่ ไปในเลเยอร์ลา่ ง (Segmentation) ทำหนา้ ทป่ี ระกอบรวมข้อมลู ต่าง ๆ ท่ีได้รับมาจากเลเยอรล์ า่ ง (Assembly) และให้บริการในการ แกไ้ ขปัญหาเมื่อเกดิ ข้อผิดพลาดขน้ึ ในระหว่างทางของการสง่ หน่วยของข้อมลู ในเลเยอร์น้มี ักจะถูกเรยี กว่า Segment ตัวอย่างของโปรโตคอลในเลเยอร์น้ี ไดแ้ ก่ โปรโตคอล IP และลอจิคลั แอดเดรสทใ่ี ช้คือ หมายเลข IP Address น้นั เอง 6.Data Link Layer รบั ผดิ ชอบในการส่งข้อมูลบนเน็ตเวริ ก์ แตล่ ะประเภท เชน่ Ethernet, Token Ring, FDDI หรอื บน WAN ต่าง ๆ และดแู ลเร่ืองการห่อหุ้มข้อมูลจากเลเยอรบ์ น เชน่ แพค็ เกจ IP ไว้ภายใน “เฟรม” และส่งจากตน้ ทางไปยงั อุปกรณ์ตัวถดั ไป เลเยอรน์ ี้จเข้าใจได้ถงึ กลไกและอลั กอริทีมรวมทัง้ ฟอร์มแมตของเฟรมทจ่ี ะใช้ในเนต็ เวิรก์ ประเภท ตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งดี อาจารยจ์ กั ริน ทองดี

วิทยาลยั สารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 7.Physical Layer เลเยอรน์ ้ีจะกำหนดมาตรฐานของสญั ญาณทางไฟฟ้าและมาตรฐานของคอนเน็กเตอรเ์ ช่อื มตอ่ ต่าง ๆ รวมถงึ มาตรฐานของสายเคเบิลทีจ่ ำเป็นต้องใช้ เชน่ มาตรฐานสาย CAT มาตรฐานของหัวตอ่ เชอ่ื ม V.35 ท่ีใช้ใน WAN และมาตรฐาน RS232 เปน็ ตน้ รวมทงั้ แรงดนั ทางไฟฟ้าและรปู แบบการรับสง่ บิตข้อมูลทเี่ กดิ ข้ึนในส่ือนำ สัญญาณ โปรโตคอล (Protocal) โปรโตคอล (Protocal) คือ ข้อตกลงในการสอื่ สารระหวา่ งอปุ กรณ์ในเครือขา่ ย ดงั น้ันคอมพวิ เตอร์หรือ อุปกรณ์เครอื ขา่ ยจะติดต่อสือ่ สารกนั ได้ต้องใชโ้ ปรโตคอลตัวเดยี วกนั โปรโตคอลเปน็ ได้ทั้งฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวร์ ซึ่งจะสอดคล้องกับโมเดล OSI โปรโตคอลอาจเป็นเพยี งสว่ นเดียวหรือประกอบข้ึนมาเปน็ ชุดก็ได้ โปรโตคอลสำคัญ ท่ีพบได้บอ่ ยในระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มีดงั ต่อไปน้ี โปรโตคอล TCP ในเลเยอรข์ อง Transport น้ันมีหนา้ ทห่ี ลกั ๆ คือ 1.จดั แบง่ ขอ้ มูลจากระดับแอปพลเิ คชันเลเยอรใ์ ห้มีขนาดพอเหมาะท่จี ะสง่ ไปบนเนต็ เวิร์ก หน่วยของข้อมลู ในระดบั นเี้ รียกวา่ TCP Segment 2.เริ่มตน้ สรา้ งคอนเนก็ ชนั ระหว่างต้นทางและปลายทางให้สำเร็จก่อน ก่อนทตี่ ้นทางและปลายทางจะมี การรบั สง่ ข้อมลู กันจริง ๆ การรับสง่ ขอ้ มูลโดยมีการสร้างคอนเนก็ ชนั กอ่ นการสง่ น้ี เรยี กว่าการส่ือสารแบบ Connection - Oriented และกระบวนการท่ใี ชใ้ นการสร้างคอนเน็กชนั คือ Three Way Handshake 3.มกี ารใส่หมายเลข Sequence Number (SEQ) ลงไปใน TCP Segment ทส่ี ่งไปเพ่ือจัดลำดับการส่ง ขอ้ มลู เมื่อปลายทางได้รับ TCP Segment นั้นแลว้ จตอ้ งมีการส่งยนื ยนั (Acknowledgement: ACK) กลับมาให้ เครือ่ งต้นทางทราบว่าไดร้ ับ TCP Segment แล้ว 4.ในกรณีที่ไม่ได้รับ ACK ยนื ยนั กลบั มาภายในเวลารอคอยท่เี หมาะสมคา่ หนงึ่ ซ่งึ จะเข้าใจวา่ TCP Segment ส่งไปไม่ถึงยงั เครอ่ื งปลายทาง ในกรณนี ้เี ครื่องต้นทางจะมีการส่งใหม่ (Retransmission) อีกคร้ัง และ อาจารย์จักรนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพดั ช่างสระบุรี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ เพิม่ เวลารอคอยออกไปอีกระยะหนงึ่ จนกว่าจะไดร้ บั ACK กลับมา กลไกนคี้ ือการทำ Error Recovery ซ่ึงทำให้ โปรโตคอล TCP มีความนา่ เชื่อถือในการับสง่ ข้อมลู 5.การส่ง ACK เพ่ือยนื ยันวา่ ได้รบั ข้อมูลครบถ้วนนน้ั เคร่ืองปลายทางไม่จำเป็นต้องส่ง ACK กลับ TCP Segment ท้งั หมดท่ีได้รับ แต่สามารถส่ง ACK เม่ือได้รบั ข้อมูลหลาย ๆ TCP Segment ตามท่ีตกลงกันไวก้ อ่ นได้ โดยเครอื่ งต้นทางและเครอื่ งปลายทางทางต้องมกี ารตกลงกันแตแ่ รกวา่ จะใหผ้ ู้ทไ่ี ดร้ บั TCP Segment ทผี่ ู้สง่ สามารถรอรบั ขอ้ มูลจนครับตามขนาดของ Window Size ก่อนแล้วจงึ ค่อยสง่ ACK จดั สรรขนาดบัฟเฟอร์ข้อมูลท่ี เหมาะสมไว้ท้งั ในขณะรบั และส่งข้อมูล และชว่ ยประกอบรวมเเแพ็คเกจ IP ที่ไดร้ บั เขา้ มาให้เป็นขอ้ มลู ผืนเดยี วกนั สำหรับส่งตอ่ ข้นึ ไปยงั แอปพลิเคชันในระดบั บน กระบวนการ Three Way handshake เปน็ กระบวนการในการสร้างคอนเน็กชัน (Connection) ระหว่างตน้ ทางกบั ปลายทาง โฮสตต์ ้นทางจะ เรม่ิ ตน้ ขอสรา้ งคอนเน็กวันดว้ ยการส่งแพ็คเกจ TCP ที่มีการเซตฟลิ ด์ SYN ไว้ (ฟลิ ด์ SYN = Syn-chronnize) และ รอใหป้ ลายทางสง่ แพ็คเกจ TCP ที่มีฟิลด์ SYN และ ACK กลบั มาก่อน จากน้ันตน้ ทางจึงตอนยนื ยันวา่ ต้องการการ รบั สง่ ขอ้ มูลดว้ ยอีกคร้ัง เป็นอันจบ หลังจากผา่ นกระบวนการข้างตน้ นไี้ ป โฮลต์ตน้ ทางและโฮสตป์ ลายทางจะมีการ ตกลงกันวา่ จะใชข้ นาดของ Window Size ขนาดเทา่ ไร และหลายเลข Sequence Number (Seq) ของโฮสต์แต่ ละฝ่ังจะมีค่าเรมิ่ ตน้ เทา่ กับเท่าไร ดงั แสดงในภาพที่ 3.3 Seq Number ของตน้ ทางเทา่ กับ 300 และ Seq Number ของปลายทางเท่ากับ 400 อาจารย์จกั ริน ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งสระบุรี แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ Sliding window และความนา่ เช่ือถือในการับสง่ ขอ้ มูล แสดงกระบวนการ Sliding Window แบบงา่ ย ๆ เพ่อื ช่วยควบคมุ โฟล์การรับสง่ ขอ้ มลู (Flow Control) สมมุตใิ ห้ขนาดของ Window (Window Siza) เทา่ กบั 1 น้ันหมายความวา่ ทุก ๆ TCP Segment ทีถ่ กู ส่งออกไป จะตอ้ งรับการตอบยืนยัน (Ask) ว่าไดร้ ับข้อมลู แล้ว โดยเครื่องตน้ ทางตอ้ งรอคอยใหป้ ลายทางส่ง Ack กลับมาก่อน วา่ ได้รบั TCP Segment ที่ 2 แลว้ จึงค่อยสง่ TCP Segment ท่ี 3 สามารถส่ง TCP Segment ไปไดท้ เี ดียว 4 ชดุ ตามลำดบั และถึงจะหยดุ รอคอยให้ปลายทางตอบรับกลบั มาวา่ ไดร้ ับ TCP Segment ขา้ งต้นท้งั หมดครบ 4 ชุด แล้ว จึงจะสง่ TCP Segment ถัดไปได้ อาจารย์จักรนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพดั ช่างสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ ในการตอบกลบั เพอื่ ยืนยนั ได้รับข้อมลู จากต้นทางนี้ เครื่องปลายทางจะใช้วธิ ีการตอบรบั แบบ Forword Acknowledgement คือการบอกเครอื่ งต้นทางว่ามนั ได้รบั TCP Segment ลา่ สดุ ถงึ ชุดที่ 4 แลว้ พร้อมทีจ่ ะรับ TCP Segment ที่ 5 เป็นข้อมูลชุดถัดไป (ดว้ ยการส่ง Ack 5 ไม่ใช่ Ack) เม่อื เคร่ืองปลายทางไดร้ ับ Ack เช่นน้ี จะ ทราบทนั ทีวา่ เครื่องปลายทางได้รบั ครบถว้ นถงึ TCP Segment ที่ 4 แลว้ มนั จะส่ง TCP Segment ชุดที่ 5 อยาก ไปให้ อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี

วิทยาลยั สารพดั ช่างสระบุรี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ จากภาพ ขนาดของ Window เท่ากบั 4 เพราะฉะน้ันเคร่ืองต้นทางจึงสง่ ได้ 4 ชดุ แลว้ จึงรอการตอบกลบั (Ack) เมื่อปลายทางตอบกลบั มาว่าได้รับ TCP Segment ถึงชุดท่ี 4 แลว้ และตอ้ งการได้ TCP Segnemt ชดุ ท่ี 5 ตอ่ ไป (ดว้ ยการ Ack5) เครื่องตน้ ทางจะสง่ ไปให้อกี 4 ชุด (คอื TCP Segment ที่ 5,6,7 และ 8 ตามลำดับ) แต่ บงั เอิญดว้ ยเหตุผลบางประการทำให้ TCP Segment ท่ี 7 สญู หายระหวา่ งทาง เช่น เกดิ ความหนาแนน่ ขึ้น เรา เตอร์มบี ัฟเฟอร์ไม่เพยี งพอ เราเตอร์จำเปน็ ต้องโยนท้ิงด้วยกฎบางประการของ QoS หรืออะไรก็แล้วแต่ สง่ ผลให้ ปลายทางไมไ่ ดร้ บั TCP Segment ที่ 7 เมื่อ TCP Segment ท่ี 8 เดินทางมาถงึ ปลายทาง มนั จะตอบรบั (AsK) กลับไปว่า Ack 7 ซึง่ หมายความ วา่ จะได้รบั TCP Segment ลา่ สุดถงึ ชดุ ท่ี 6 แลว้ และตอ้ งการจะไดร้ บั TCP Segment ที่ 7 ต่อไป เมอ่ื Ack ถูก ส่งกลบั มาให้ต้นทาง ต้นทางจะทราบไดท้ นั ท่ีว่า TCP Segment ชดุ ท่ี 7 สูญหายไประหวา่ งทาง และจะส่ง TCP Segment ชุดท่ี 7 กลับไปใหใ้ หม่ เมอ่ื ปลายทางได้รับและเช็คดูว่าขณะนี้ได้รบั ครบแล้วตง้ั แต่ TCP Segment ท่ี 5- อาจารย์จักริน ทองดี

วิทยาลยั สารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 8 จงึ ตอบ Ack กลบั ไปว่าได้รับ TCP Segment ท่ี 5-8 ครบถว้ นแลว้ และตอ้ งการรบั TCP Segment ท่ี 9 เป็น TCP Segment ถดั ไปดว้ ยการส่ง Ack 9 กลบั มาให้ โปรโตคอล UDP เปน็ โปรโตคอลในระดับ Transport Layer ทมี่ ีความแตกตา่ งไปจากโปรโตคอล TCP เกือบทุกดา้ น โปรโตคอล UDP ทำการสง่ ข้อมูลโดยไม่มกี ารสรา้ งคอนเน็กชนั กอ่ น (เรียกวา่ แบบ Connectionless) ไมม่ กี ารสง่ การยนื ยันวา่ ได้รบั ข้อมูลแลว้ ไมม่ ีการจดั เตรยี มขนาดของบัฟเฟอร์สำหรบั การรบั สง่ ข้อมูลและไม่มีการจัดลำดับของ ข้อมลู ท่ีไดร้ บั หนา้ ที่ของการยืนยนั ว่าได้รบั ข้อมลู แล้วอาจถูกผลักภาระให้กับแอปพลเิ คชันในเลเยอร์บนต่อไป และ ยังไมส่ นใจในการควบคุมโฟล์ของการรบั สง่ ข้อมลู ดว้ ย ด้วยหลกั การทำงานขา้ งต้นน้ีจึงทำให้ UDP เปน็ โปรโตคอลที่ ไมม่ ีความน่าเช่ือถือ (Unreliable) โปรโตคอล UDP เม่ือไมม่ ีความน่าเชื่อถือ แตป่ ระโยชน์สำคัญทีไ่ ด้รบั จากการทำงานแบบนคี้ อื ความรวม เร็ว ความไม่ส้นิ เปลืองเวลาและทรพั ยากรทต่ี ้องใช้ในการตดิ ตามสถานะตา่ ง ๆ ตวั อย่างหนึง่ ท่พี บในการทำงาน บนเน็ตเวิร์กที่ใช้ UDP ไดแ้ ก่ โปรโตคอล SNMP (Simple Netowork Management Protocol) อปุ กรเ์ นต็ เวิร์ กซึ่งทำหน้าท่เี ปน็ SNMP Agent จะส่งรายงานสถานะต่าง ๆ กลับไปให้เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ท่ีทำหน้าที่ SMMP Server โดยผ่านทาง UDP เพราะมนั ต้องการความรวมเรว็ อีกทั้งข้อมูลสถานะมจี ำนวนมาก การที่จะต้องรอคอย เซตอัพคอนเน็กชนั ทุกครัง้ เม่ือต้องการสง่ ขอ้ มูลอาจจะเป็นเร่อื งทีเ่ สียเวลาและไม่จำเปน็ อกี ตวั อย่างหนึง่ คือ การ โอนย้ายไฟล์ด้วยโปรโตคอล FTP จะเป็นแบบ Connection Oriented คือ ใชง้ านโปรโตคอล TCP ส่วนการ โอนย้ายไฟล์ดว้ ยโปรโตคอล Trivial FTP (TFTP) จะเป็นแบบ Connectionless คือ ใช้งานโปรโตคอล UDP โปรโตคอล IP โปรโตคอล IP ที่อยูใ่ น Network Layer จะมหี น้าที่ 3 อย่างตอ่ ไปน้ี คือ 1. Addressing หน้าทนี่ ี้หมายถงึ การใหบ้ ริการในการตดิ ต้ัง “ลอจคิ ัลแอดเดรส (Logical Address)” ให้กับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่ใช้ โปรโตคอล IP เนอ่ื งจาก ลอจิคัลแอดเดรสนีจ้ ะไม่ได้ถกู กำหนดมาตายตวั หรือฝังมากับเน็ตเวิรก์ การ์ด ดังนน้ั มนั จงึ เปน็ แอดเดรสทผ่ี ู้ออกแบบหรือบริหารระบบเครือข่ายเปน็ ผู้ตง้ั ขึ้นมาเอง และสามารถเปล่ียนแปลงแก้ไขได้ ข้อดี ของการมลี อจิคัลแอดเดรสหรือแอดเดรสใน Network Layer คอื อาจารยจ์ กั ริน ทองดี

วิทยาลยั สารพัดช่างสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 1.1 ทำใหเ้ ราสามารถออกแบบระบบเนต็ เวริ ์กได้งา่ ยข้นึ 1.2 ทำใหร้ ะบบเน็ตเวิรก์ สามารถขยายเพิ่มเติมได้โดยง่าย 1.3 ทำให้การแก้ไขปัญหาทำได้โดยง่าย 2. Packaging เปน็ การจัดเตรียมแพ็คเกจ IP ใหอ้ ย่ใู นสภาพที่พร้อมสง่ ไปยังเครือ่ งปลายทาง โดยการนำเอา TCP Segment หรือ UDP Segment จากในเลเยอร์บนมาบรรจุไว้ในฟลิ ด์ Data ของแพ็กเกจ IP (หากขนาดของ Segment ใหญ่เกิน กวา่ จะส่งไดภ้ ายในแพ็คเกจ IP แพค็ เกจเดยี ว จะต้องแบ่ง Segment ย่อยออกและสง่ ไปในหลาย ๆ แพ็จเกจ) จากน้ันใสค่ า่ ฟิลด์ Destination IP Address และ Source IP Address ใหเ้ ปน็ หมายเลข IP Address ปลายทาง และตน้ ทางตามลำดับ และท่ีสำคญั คือ จะใส่ค่าฟลิ ด์ Protocol Nember ลงไปด้วย ค่าตัวเลขคา่ หน่งึ ท่รี ะบุว่าเล เยอรบ์ นเปน็ TCP หรอื UDP (หมายเลข 6 สำหรับ TCP และหมายเลข 17 สำหรบั UDP) แพ็คเกจ IP หนงึ่ ๆ บางคร้งั เรยี กว่า ดาต้าแกรม (Datagram) 3. Routing Routing คือ การหาเส้นทางในการส่งแพค็ เกจไปให้ถงึ เครื่องปลายให้ได้ หลกั ความสำคัญของการส่งแพจ็ เกจโดย โปรโตคอล IP คอื จะส่งใหด้ ีท่ีสุด (Best Effort) โดยไม่การันตีว่าขอ้ มลู จะถึงปลายทางหรือไม่ และจะปล่อยใหเ้ ป็น หนา้ ทข่ี องโปรโตคอลในระดับสูงกวา่ คือ TCP เปน็ ผรู้ ับประกนั ให้ อาจารย์จักริน ทองดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook