Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล

Published by จักริน ทองดี, 2020-01-20 11:53:05

Description: การสื่อสารข้อมูล

Search

Read the Text Version

วทิ ยาลยั สารพัดช่างสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ การสื่อสารขอ้ มลู (Data communication) หมายถงึ การส่งข้อมูลหรือข่าวสาร จากผ้สู ง่ ตน้ ทางไปยงั ผรู้ ับปลายทางท่ีอย่หู า่ งไกล โดยผา่ นชอ่ งทางการสอื่ สาร เพ่อื เป็นสื่อกลางในการสง่ ข้อมลู ซึ่งอาจจะเป็นแบบใชส้ าย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมลู หรือข่าวสารนั้นอาจจะเปน็ ขอ้ ความ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว หรอื ข้อมูลทีเ่ ปน็ มลั ติมเี ดียก็ได้ ดังน้ันการ สอ่ื สารข้อมลู จงึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการส่ือสารโทรคมนาคม โดยเน้นการสง่ ผา่ นข้อมูล โดยใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์และ เครือข่ายเป็นหลัก อาจารย์จกั ริน ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดช่างสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ องคป์ ระกอบของการส่อื สาร 1. ผู้สง่ ข้อมลู (Sendar) คือ ส่ิงที่ทำหนา้ ท่ีสง่ ข้อมูลไปยงั จดุ หมายปลายทางท่ีต้องการ 2. ผูร้ ับขอ้ มลู (Receiver) คือ สงิ่ ทท่ี ำหน้าท่ีรบั ข้อมูลที่ถูกส่งมาให้ 3. ขอ้ มูล (Data) คือ สง่ิ ท่ผี ้สู ่งต้องการสง่ ไปยังผู้รบั อาจอยใู่ นรปู แบบ ข้อความ เสียง ภาพ วดิ ีโอ และอน่ื ๆ 4. สอื่ นำขอ้ มูล (Meduim) คือ สง่ิ ทีเ่ ป็นตวั กลางในการถ่ายโอนขอ้ มูลจากผูส้ ่งไปยังผูร้ บั 5. โพโตคอล (Potocal) คือ กฎระเบยี บทใี่ ช้กำหนดวิธีการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหวา่ งอปุ กรณ์คหู่ นึ่ง ซึ่งอาจจะเป็น เครื่องคอมพวิ เตอร์หรอื อุปกรณ์สอื่ สารใด ๆ ผา่ นระบบเครือข่าย เน่ืองจากอปุ กรณ์เหลา่ น้ีอาจใช้รหัสแทนข้อมลู แตกตา่ งกนั และ/หรือมีกระบวนการทำงานแตกตา่ งกัน จึงจำเปน็ ตอ้ งมีตัวกลางหรอื วธิ กี ารที่ใชใ้ นการเปลี่ยนแปลง หรือทำให้ความแตก ตา่ งระหวา่ งอุปกรณ์หมดไป ซงึ่ จะทำใหส้ ามารถสือ่ สารระหวา่ งกนั ได้ โพรโทคอลจึงมหี น้าท่ีใน การกำหนดรายละเอยี ดกระบวนการทำงานของตัวกลางนใี้ ห้ เปน็ มาตรฐานเดยี วกัน อาจารย์จกั ริน ทองดี

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ชนิดของสัญญาณข้อมูล แบ่งได้เปน็ 2 ชนดิ คือ 1.Analog signal เปน็ สัญญาณตอ่ เนื่อง ลกั ษณะของคลื่นไซน์ sine wave ตัวอย่างการส่งข้อมลู ท่ี เป็น analog คือการส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์ Hertz คอื หนว่ ยวดั ความถีข่ องสัญญาณ โดยนับความถีท่ ี่เกิดขึน้ ใน 1 วินาที เช่น 1 วนิ าทีมกี ารเปล่ียนแปลง ของระดับสญั ญาณ 60 รอบแสดงว่ามคี วามถ่ี 60 Hz 2.Digital signal สญั ญาณไม่ตอ่ เนื่อง ขอ้ มลู ในเครื่องคอมพวิ เตอรท์ ี่เปน็ เลขฐาน 2 จะถูกแทนด้วย สญั ญาณ digital คือเปน็ 0 และ 1 โดยการ แทนข้อมลู สญั ญาณแบบ Unipolar จะแทน 0 ด้วยสญั ญาณไฟฟา้ ทเ่ี ป็นกลาง และ 1 ด้วยสัญญาณไฟฟา้ ทเี่ ป็น บวก Bit rate เป็นอัตราความเร็ว ในการสง่ ข้อมูล โดยนับจำนวน bit ท่ีส่งได้ในชว่ ง 1 วินาที เชน่ ส่งขอ้ มลู ได้ 14,400 bps (bit per seconds) อาจารย์จักริน ทองดี

วิทยาลัยสารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ โมเดม็ (MODEM) เป็นอุปกรณ์สำหรับคอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งหนงึ่ ทช่ี ว่ ยให้คณุ สมั ผสั กับโลกภายนอกไดอ้ ยา่ งง่ายดาย โมเดม็ เป็นเสมือนโทรศพั ท์ สำหรับคอมพวิ เตอร์ที่จะชว่ ยใหร้ ะบบคอมพิวเตอร์ของคณุ สามารถสอ่ื สารกับคอมพวิ เตอร์อ่ืนๆ ได้ท่ัวโลก โมเดม็ จะ สามารถทำงานของคุณให้ สำเรจ็ ได้ก็ดว้ ยการเช่ือมต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ของคุณเขา้ คู่สายของโทรศพั ทธ์ รรมดาคู่หนง่ึ ซ่งึ โมเด็มจะทำการ แปลงสญั ญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพวิ เตอรใ์ หเ้ ป็นสญั ญาณอนาลอ็ ก (analog signals) เพ่ือใหส้ ามารถส่งไปบนคู่สาย โทรศพั ท์ โมเด็มสามารถแบ่ง 3 ประเภทคอื 1. โมเดม็ แบบติดตงั้ ภายนอก (External modem) เปน็ โมเดม็ ทต่ี ิดตั้งกบั คอมพิวเตอรภ์ ายนอก สามารถ เคล่ือนยา้ ยได้สะดวก เพราะในปัจจบุ ัน การเช่ือมต่อกับคอมพิวเตอรจ์ ะผ่าน USB พอร์ต (Universal Serial Bus) ซงึ่ เป็นพอรต์ ที่นิยมใชก้ ันมาก ราคาของ โมเดม็ ภายนอกไม่สูงมากนัก แต่จะยงั มรี าคาสูงกว่าโมเด็มแบบติดตง้ั ภายใน 2. โมเด็มแบบตดิ ต้งั ภายใน (Internal modem) เป็นโมเด็มท่เี ป็นการด์ คอมพิวเตอรท์ ่ตี ้องติดตั้งเขา้ ไปกับ แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด (main board) ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โมเด็มประเภทนีจ้ ะมรี าคาถกู ว่าโมเดม็ แบบตดิ ต้ังภายนอก เวลาตดิ ตั้งต้องอาศัย ความชำนาญในการเปดิ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ และตดิ ต้งั ไปกบั แผงวงจรหลัก 3. โมเด็มสำหรบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์โนต้ บกุ๊ (Note Book Computer) อาจเรยี กสน้ั ๆว่า PCMCIA modem อาจารย์จกั ริน ทองดี

วิทยาลัยสารพดั ช่างสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ การเช่อื มต่อสายส่ือสาร การเชือ่ มต่อของสายส่อื สารระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเปน็ สองประเภท ดังนี้ 1. การเชือ่ มตอ่ สายส่ือสารแบบจดุ ตอ่ จุด (point-to-point) การเชื่อมต่อสายสอ่ื สารแบบจดุ ตอ่ จดุ เปน็ การเชอื่ มต่อระหว่างอปุ กรณ์สอ่ื สารสองตวั เทา่ นั้น อุปกรณ์ ส่ือสารสองตวั ทเ่ี ช่อื มตอ่ แบบน้ี จะใชค้ วามสามารถ ของสอ่ื ส่งขอ้ มลู อย่างเต็มท่ีในขณะท่ีอุปกรณผ์ ู้สง่ พร้อมจะสง่ ข้อมูล และอปุ กรณผ์ รู้ บั พรอ้ มจะ รับขอ้ มูล การส่อื สารสามารถ เกดิ ข้ึนได้ทนั ที เพราะสอ่ื ส่งข้อมลู ท่ีอุทิศฯให้กับสื่อสารระหว่างอปุ กรณส์ องตัว ยอ่ มพร้อมทำหนา้ ท่อี ย่เู สมอ การ เช่อื มต่อแบบนี้อาจใชส้ อ่ื ที่เป็น สายหรอื ส่อื ไร้สายกไ็ ด้ ตามปกติ การสอื่ สาร ระหว่างเครื่องคอมพวิ เตอร์กบั เคร่ืองพิมพก์ ็เป็นการเช่ือมต่อแบบจุด ตอ่ จุด คือ เมื่อเคร่ืองพิมพ์ พรอ้ มจะรับข้อมูล และเครื่องคอมพวิ เตอร์พร้อมจะสง่ ข้อมูล ก็สามารถสือ่ สารกนั ได้ทันที อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดช่างสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. การเชื่อมต่อสายส่ือสารแบบหลายจุด (multipoint) การเช่ือมต่อสายสอื่ สารแบบหลายจดุ เปน็ การเช่อื มต่อท่ีมีอุปกรณ์ส่ือสารมากกวา่ สองตัวแบ่งกันใช้สอ่ื สง่ ข้อมูลเดยี วกัน ในการเชือ่ ม ต่อแบบนี้ สอ่ื สง่ ขอ้ มูลจะถูกแบ่งด้วยเวลา หรือความสามารถ การแบ่งกันใชส้ ่อื ด้วยเวลา หมายถึง อุปกรณ์ (มากกวา่ สองตัว) ที่เชือ่ มอยกู่ บั สื่อจะผลดั เปล่ยี นกันใชส้ ่อื เมอ่ื สื่อวา่ งอยจู่ ึงจะสามารถเรม่ิ ตน้ การสือ่ สารได้ หรืออาจจะเปน็ การผลัดเปล่ียนกนั อยา่ งสมำ่ เสมอ เชน่ ผลดั กันใช้สื่อทกุ ๆ 0.5 วินาที เมือ่ เวลาผา่ นไป 0.5 วินาที เคร่อื ง หน่งึ จะมีสิทธิใช้สอื่ เพอ่ื ส่งข้อมูล และเม่ือ 0.5 วนิ าทีของเครือ่ งน้ันหมดลง เคร่ืองถัดไปก็มีสทิ ธิใช้ส่อื ส่ง ขอ้ มลู เป็นตน้ การแบง่ ตามเวลา อาจจะไม่เสมอภาคกันสำหรับอปุ กรณ์ทุกตวั ข้ึนอยกู่ ับการให้ความสำคัญ (priority) กบั อุปกรณแ์ ต่ละตัว ในระบบท่ีใช้แบง่ ความสามารถ ของสื่อ อปุ กรณ์ทุกตัวจะใชส้ ่ือไดเ้ มอ่ื ต้องการ แต่จะใช้ความสามารถไมเ่ ต็มที่ ซง่ึ จะสง่ ผลใหค้ วามเร็วใน การสอ่ื สารลดลง เม่ือเทียบกับ การใช้ส่ืออย่างเตม็ ความสามารถ อาจารย์จกั รนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ ทศิ ทางการส่ือสาร ทศิ ทางของการสื่อสารข้อมลู หมายถงึ ทิศทางจากอุปกรณ์ส่งขอ้ มลู ไปยงั อปุ กรณ์รบั ข้อมูลโดยผา่ นส่อื นำข้อมูล สามารถแบ่งทิศทางการ สอื่ สารของข้อมูลได้เปน็ 3 แบบ คือ 1. แบบทศิ ทางเดียว (Simplex) หรือเรียกว่า “การสอ่ื สารแบบทางเดียว” (One-way Communication) เป็น ทศิ ทางการสอ่ื สารข้อมูลแบบท่ี ข้อมลู จะถูกสง่ จากทิศทางหนงึ่ ไปยงั อกี ทิศทางโดยไมส่ ามารถสง่ ขอ้ มลู ย้อนกลับมาไดเ้ ช่น การกระจายเสียงจาก สถานวี ิทยุ การเผยแพร่ ภาพและรายการตา่ งๆของสถานีโทรทัศน์ เปน็ ต้น 2. แบบกึ่งสองทศิ ทาง ( Half Duplex)หรือเรยี กว่า “การสอ่ื สารแบบทางใดทางหนึ่ง (Either-way Communication)” เปน็ ทิศทางการ สอ่ื สารข้อมลู แบบท่ีข้อมูลสามารถสง่ กลับกนั ได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถสง่ พรอ้ มกนั ได้ โดยต้องผลัดกันส่งครง้ั ละทิศทางเทา่ น้ัน เชน่ วิทยุสือ่ สารแบบผลดั กันพดู อาจารย์จกั รนิ ทองดี

วิทยาลัยสารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การส่ือสารแบบสองทาง (Both-way Communication)” เป็น ทศิ ทางการสอ่ื สารข้อมลู แบบทข่ี ้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กนั ได้ท้ัง 2 ทิศทาง ในเวลาเดยี วกัน เชน่ ระบบโทรศพั ท์ โดยที่ค่สู นทนาสามารถ พดู คุยโตต้ อบกันได้ ในเวลาเดียวกัน ไมต่ ้องกดสวติ ซ์ เพื่อเปล่ียนสถานะกอ่ นท่ีจะสื่อสาร อาจารย์จักรนิ ทองดี

วทิ ยาลยั สารพดั ช่างสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ตวั กลาง ตวั กลางหรือสื่อท่ใี ช้ในการส่ือสารแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี ส่ือนำข้อมลู แบบมีสาย สอื่ นำข้อมลู แบบมสี าย (wired media) หรือเรยี กอีกอย่างหน่ึงว่า guided media ซึ่งก็คือ ส่ือที่สามารถ บังคบั ให้สัญญาณข้อมลู เคล่ือนทไี่ ปในทศิ ทางท่ีกำหนดได้ แบง่ เปน็ 3 ชนดิ ดังนี้ 1.สายคบู่ ดิ เกลียว (twisted pair cable) สายค่บู ิดเกลีบวเป็นสายสญั ญาณไฟฟ้านำข้อมูลไดท้ ้ังแอนะลอ็ กและดจิ ิทลั ลกั ษณะคลา้ ยสายไฟท่ัวไป ราคา ไม่แพงมาก นำ้ หนกั เบา ตดิ ตั้งไดง้ ่าย ภายในสายคู่บดิ เกลยี วจะประกอบด้วยสายทองแดงพันกันเปน็ เกลยี ว เปน็ คู่ๆ ซึ้งอาจจะมี 2,4 หรอื 6 คู่ 2.สายโคแอกเชียล (coaxial cable) สายโคแอกเชียล เป็นสายสญั ญาณไฟฟ้านำข้อมลู ได้ทั้งแอนะลอ็ กและดิจิทลั เช่นเดียวกับสายคูบ่ ดิ เกลียว ลกั ษณะคลา้ ยสายเคเบิคทวี ี โดยภายในมตี ัวนำไฟฟา้ เป็นแกนกลางและห่อหมุ้ ดว้ ยฉนวนเปน็ ช้ันๆตัวนำโลหะทำ หน้าท่ีส่งสัญญาณ สว่ นฉนวนทำหน้าทปี่ ้องกันสญั ญาณรบกวนจากภายนอก ความถ่ีในการสง่ ข้อมลู : 100 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ถึง 500 เมกะเฮริ ตซ์ (MHz) ความเร็วในการส่งข้อมูล : 1 ลา้ นบติ ตอ่ วินาที (Mbps) ถงึ 1 พนั ลา้ นบิตต่อวนิ าที (Gbps) อาจารย์จกั รนิ ทองดี

วิทยาลยั สารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3.สายใยแก้วนำแสง (optical fiber cable) มีแกนกลางของสายซ่ึงประกอบด้วยเสน้ ใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเลก็ หลายๆ เส้นอยูร่ วมกัน เส้นใยแต่ ละเสน้ มีขนาดเล็กเท่าเสน้ ผมและภายในกลวง และเสน้ ใยเหลา่ นน้ั ได้รบั การห่อหมุ้ ด้วยเส้นใยอีกชนิดหนงึ่ ก่อนจะ หมุ้ ช้ันนอกสดุ ดว้ ยฉนวน การส่งข้อมลู ผ่านทางสอ่ื กลางชนดิ นี้จะแตกตา่ งจากชนดิ อ่นื ๆ ซึง่ ใชส้ ัญญาณไฟฟ้าในการ ส่ง แต่การทำงานของสือ่ กลางชนิดนี้จะใชเ้ ลเซอรว์ ง่ิ ผา่ นชอ่ งกลวงของเส้นใยแตล่ ะเสน้ และอาศัยหลกั การหกั เห ของแสง เส้นใยนำแสงเหมาะทีจ่ ะใชก้ บั การเชอื่ มโยงระหวา่ งอาคารกับอาคารหรือระหว่างเมอื งกับเมือง เส้นใยนำแสงจึงถูกนำไปใชเ้ ป็นสายแกนหลัก ส่ือนำข้อมลู แบบไร้สาย ส่อื นำขอ้ มูลแบบไร้สาย (wireless media) หรอื เรียกอีกอย่างหนงึ่ คอื unguided media คอื ส่อื ที่ไม่ สามารถ กำหนดทศิ ทางให้ขอ้ มลู เดินทางไปในทิศทางทต่ี ้องการได้ อากาศเป็นสื่อหรือตัวกลางในการนำข้อมลู ไปยัง ปลายทางชนดิ หนง่ึ การสอื่ สารโดยใช้อากาศเป็นตัวกลางมีลกั ษณะการส่ือสาร 4 ประเภท ดงั น้ี อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี

วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 1.แสงอินฟราเรด การส่อื สารโดยการสง่ ดว้ ยแสงอนิ ฟราเรด (infrared) จะใช้ในการส่ือสารระยะทางใกลๆ้ เช่น การใชแ้ สง อินฟราเรดจากเคร่ืองรีโมทคอนโทรลไปยงั เครื่องรับวทิ ยุและโทรทศั น์ การส่งข้อมลู จากโทรศพั ท์มือถือไปยังมือ ถอื ดว้ ยกนั เอง หรือระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบพกพาเน่ืองจากแสงอนิ ฟราเรดไมส่ ามารถทะลุผ่านวตั ถุทบึ แสงได้ ดงั น้นั ไมสามารถสง่ ข้อมลู ในระยะทางไกลได้ 2.สัญญาณวิทยุ การส่ือสารข้อมลู โดยการสง่ สัญญาณวทิ ยุ (radio wave) ท่มี ีความถต่ี า่ งๆกัน สามารถส่งไปได้ในระยะทาง ไกลๆ หรือในสถานท่ีทไี่ มส่ ามารถใช้สายส่งได้ แตเ่ น่ืองจากใช้อากาศเป็นตวั กลางในการสื่อสาร ดังนน้ั เมื่อสภาพ อากาศไม่ดี จงึ มผี ลตอ่ สญั ญาณวทิ ยทุ ี่ทำการสง่ ออกไป สัญญาณวิทยุมหี ลายความถี่ ซ่งึ ใช้ประโยชน์แตกตา่ งกนั เชน่ สัญญาณทคี่ วามถี่ 300 กิโลเฮิรตซ์ (KHz) -3 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ใช้ส่งสัญญาณโทรทัศน์ช่อง 3,5,7,9 วิทยุ สายการบิน เปน็ ต้น อาจารย์จกั รนิ ทองดี

วิทยาลัยสารพดั ชา่ งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 3.ระบบไมโครเวฟ ระบบไมโครเวฟ (microwave) เปน็ การสื่อสารไร้สายโดยการส่งสัญญาณปน็ คล่นื ไมโครเวฟจากเสา ไมโครเวฟตน้ หนง่ึ ไปยังเสาไมโครเวฟท่ีตั้งอยู่ในระยะทางท่ีไกลออกไป เน่อื งจากทิศทางการส่งข้อมูลระหว่างเสา ไมโครเวฟ 2 ต้น ส่งในทิศทางท่ีเป็นเส้นตรง หรอื เรียกว่าระยะเสน้ สายตา (line of sight) ดงั นั้นถา้ ระหว่างเสน้ ทาง การสง่ ข้อมูลมีส่ิงกีดขวางก็จะไม่สามารถสง่ สญั ญาณได้ ดังนั้นจงึ ตอ้ งมีการติดต้ังจานรบั สง่ เป็นสถานีทวนสญั ญาณ (repeater station) เพอื่ เปน็ จุดส่งสญั ญาณต่อไปยงั เสาไมโครเวฟต้นต่อไป คลน่ื ไมโครเวฟ จะถกู รบกวนไดจ้ าก สภาพอากาศที่ไมด่ ี เชน่ ฝนตก ฟ้าร้อง ฟา้ ผ่า เป็นต้น ขอ้ ดีของการสือ่ สารดว้ ยระบบไมโครเวฟ คือ สามารถทำการสื่อสารระยะทางไกลๆได้โดยไม่ต้องเดินสายใหย้ ่งุ ยาก และสามารถสง่ ขอ้ มูลได้ในปริมารมาก ขอ้ เสยี คือ คลนื่ ไมโครเวฟถูกรบกวนไดง้ า่ ยจากสภาพอากาศท่แี ปรปรวน และมีค่าตดิ ตงั้ เสาและจานรับและสง่ ทม่ี ี ราคาแพง อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี

วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4.การส่ือสารผ่านดาวเทยี ม เมื่อตอ้ งการทำการสื่อสารในระยะทางท่ีไกลออกไป การเชอ่ื มตอ่ โดยใช้สายเคเบิลไมสามารถทำได้ การสื่อสาร ด้วยระบบไมโครเวฟกต็ ้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายมากและทำการตดิ ตั้งยาก ดงั น้นั คำตอบของการสื่อสารในระยะทางไกลอีก วิธีหนงึ่ คอื การสอ่ื สารผ่านดาวเทียม (satellite communication) การสื่อสารดาวเทยี ม เป็นการส่อื สารจากพน้ื โลกไปสดู่ าวเทยี ม โดยบนพน้ื โลกจะมสี ถานสี ่งสัญญาณข้อมลู ไปยงั ดาวเทยี มทีโ่ คจรอยูน่ อกโลก ซง่ึ จะทำหน้าที่ทวน สญั ญาณและกระจายสญั ญาณส่งกลับมายังสถานรี ับบนพ้ืนโลก การสื่อสารผ่านดาวเทยี มเหมาะสมกับการสือ่ สาร ระยะไกลมากๆ เช่น การส่อื สารระหว่างประเทศ มาตรฐานเครอื ขา่ ยไร้สาย (Wireless Networking Protocols) ดว้ ยความเจริญเติบโตอยา่ งรวดเรว็ ของเทคโนโลยเี ครอื ข่ายไรส้ ายได้สง่ ผลให้อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ ตลอดจนโรงงานอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีความต้องการมาตรฐานเพอ่ื การ สื่อสารไรส้ าย ในทีน้ีกลา่ วถึงการสอ่ื สารไร้สายดังน้ี อาจารย์จกั ริน ทองดี

วิทยาลัยสารพัดช่างสระบรุ ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ บลทู ธู (Bluetooth) บลูทธเปน็ ชอื่ ทเี่ รียกสำหรบั มาตรฐานเรือข่ายแบบ 802.15 บลูทูธเปน็ เทคโนโลยไี ร้ สายท่ีใช้การส่งข้อมลู ทางคล่นื วิทยุ (Universal Radio Interface) เร่มิ ใชใ้ นปี ค.ศ. 1998 สามารถ ตดิ ตอ่ เชอ่ื มโยงสื่อสารแบบไร้สายระหวา่ งกันในชว่ งระยะห่างสน้ั ๆ ได้ ไว-ไฟ (Wi-Fi) ไว-ไฟ ย่อมาจากคำวา่ Wireless Fidelity คือ มาตรฐานทร่ี ับรองวา่ อปุ กรณ์ไวเลส (Wireless LAN) อาจารยจ์ กั รนิ ทองดี

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งสระบรุ ี แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ไว-ไฟ เป็นเทคโนโลยอี ินเทอร์เนต็ ไร้สายความเร็วสูงทีน่ ิยมใชท้ ี่สดุ ในโลก ใชส้ ญั ญาณวิทยุใน การรับส่งข้อมูลความเรว็ สงู ผ่านเครอื ข่ายไรส้ ายจากบรเิ วณท่ีมีการตดิ ตัง้ Access Point ไปยงั อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ เชอื่ มต่อ เชน่ โทรศัพท์มอื ถือ และโนต้ บกุ๊ เป็นต้น ไว- แมกซ์ (Wi-MAX) เป็นชอ่ื เรียกเทคโนโลยไี รส้ ายรุ่นใหม่ลา่ สุดทีค่ าดหมายกันวา่ จะถกู นำมาใช้ งานทป่ี ระเทศไทยอยา่ งเป็นทางการ ในอนาคตอันใกล้น้ี (ตอนนีม้ แี อบทดสอบ WiMAX กนั หลายทใี่ นตา่ ง จังหวดั แล้ว เช่น ที่เชยี งใหม่) อาจารยจ์ ักรนิ ทองดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook