Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อำนาจเจริญ1

อำนาจเจริญ1

Published by kimjaya15, 2020-02-17 04:41:50

Description: อำนาจเจริญ1

Search

Read the Text Version

จงั หวดั อำนำจเจรญิ “ เมอื งขำ้ วหอมโอชำ ถิน่ เสมำพนั ปี มำกมีเกำะแก่งและเทือกเขำ ”

คำนำ รายงานเล่มนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของวิชาทรัพยากรท่องเที่ยวภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเร่ืองจังหวัดอานาจเจริญและได้ศกึ ษา อยา่ งเขา้ ใจเพอื่ เปน็ ประโยชน์กบั การเรียน ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่ กาลังหาข้อมูลเรื่องน้ีอยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภัยมา ณ ท่นี ้ีด้วย คณะผู้จดั ทา

สำรบญั เรือ่ ง หนำ้ คานา ก สารบัญ ข สารบญั (ตอ่ ) ค จงั หวัดอานาจเจรญิ 1 คาขวญั ประจาจงั หวดั 1 ตราประจาจงั หวดั 2 ดอกไมป้ ระจาจงั หวัด 2 ต้นไม้ประจาจังหวัด 3 สตั วน์ า้ ประจาจังหวดั 3 วิสยั ทศั น์ 4 สภาพเศรษฐกิจ 4 ประชากร 5 อาณาเขตติดต่อ 5 แผน่ ท่ีจงั หวัดอานาจเจรญิ 6 ประวตั ิจงั หวัดอานาจเจริญ 7-9 บ้านปลาคา้ ว 10 ไรภ่ ตู ะวนั Organic Farm 10 อ่างเก็บน้าห้วยหินกอง 11 บา้ นนาภูคา 11 ถนนคนเดนิ ผูกปน่ิ โตข้าว 12 ผาชืน่ วาริน 12 นา้ ตกตาดใหญ่ 13 แหลง่ โบราณคดวี ดั ดงเฒ่าเกา่ 13

สำรบญั (ต่อ) หนำ้ เร่ือง 14 พระมงคลม่งิ เมอื ง 14 แกง่ คันสงู 15 วัดถ้าแสงเพชร 15 วดั พระเทพนมิ ิต 16 ภผู าผ้ึง 16 พระธาตนุ าปา่ แซง 17 อา่ งเก็บนา้ พทุ ธอุทยาน 17 รมิ แมน่ า้ โขงที่ชานมุ าน 18 อทุ ยานดงลงิ ดอนเจา้ ปู่ 18 สวนเกษตรชิตสกนต์ 19 อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูสระดอกบวั 19 ผามะเกลอื 20 ภผู าหอม 20 วนอทุ ยานภูสิงห์ 21-22 การเดนิ ทาง 22-28 ประเพณปี ระจาจงั หวดั อานาจเจรญิ 28-38 พิธีกรรมท้องถิ่นอานาจเจรญิ 39-47 ท่ีพกั จงั หวดั อานาจเจรญิ 48 ของดปี ระจาจงั หวดั อานาจเจรญิ 49-50 ศูนย์จาหนา่ ยผลติ ภัณฑช์ มุ ชนอานาจเจรญิ ง บรรณานกุ รม

จงั หวดั อำนำจเจริญ คำขวญั ประจำจังหวดั พระมงคลมิ่งเมอื ง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน้ำ งำมล้ำถ้ำศกั ด์ิสิทธ์ิ เทพนิมิตพระเหลำ เกำะแก่งเขำแสนสวย เลอค่ำดว้ ยผำ้ ไหม รำษฎร์เล่ือมใสใฝ่ ธรรม

ตรำประจำจงั หวดั พระมงคลมิ่งเมอื งเป็นพระประธำนของภำพ แสงฉพั พรรณรังสี เปล่งรัศมโี ดยรอบพระเศียรซำ้ ยขวำมตี น้ ไมอ้ ยสู่ องขำ้ ง ดอกไม้ประจำจงั หวดั ดอกจำนเหลือง

ต้นไม้ประจำจงั หวดั ตะเคียนหิน สัตว์นำ้ ประจำจังหวดั ปลำสร้อยขำว

วสิ ัยทศั น์ ประชำสังคมเขม้ แขง็ แหล่งผลิตขำ้ วหอมมะลิคุณภำพดี มโี อกำสทำงกำรศึกษำ พฒั นำคุณภำพชีวติ สภำพเศรษฐกจิ โครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจข้ึนกบั กำรเกษตรกรรม มีพ้ืนท่ีถือ ครองทำงกำรเกษตร รวมท้งั สิ้น 1,021,798 ไร่ หรือประมำณร้อย ละ 51.72 ของเน้ือที่ท้งั หมด กำรทำนำ พ้ืนท่ีนำถือครองมีสัดส่วน 869,574 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 85.10 ของพ้ืนที่ถือครองทำกำรเกษตร เป็ นพ้ืนที่เก็บเก่ียว 558,530 ไร่ ผลผลิตรวมประมำณ 83,821 ตนั กำรปลูกพืชไร่ มีกำรปลูกพืชไร่รวมพ้ืนท่ีประมำณ 7,825 ไร่ คิด เป็ นร้อยละ 7.65 ของพ้ืนท่ีถือครองทำกำรเกษตร พืชเศรษฐกิจท่ี สำคญั ข้ำวเหนียว ข้ำวหอมมะลิ มนั สำปะหลัง ปอแก้ว ถวั่ ลิสง กำรอุตสำหกรรมส่วนใหญ่เป็ นโรงสีขำ้ ว และอุตสำหกรรมใน ครัวเรือน

ประชำกร ประชำกรส่วนใหญ่ของจงั หวดั เป็ นคนทอ้ งถิ่นเช้ือสำยไทย - ลำว และมีคนกลุ่มอ่ืนที่มีหลำยเช้ือสำย และภำษำพูดต่ำงออกไป ไดแ้ ก่ ชำวภูไท พบในเขตอำเภอชำนุมำน และอำเภอเสนำคนิคม ส่วยและข่ำ พบในอำเภอชำนุมำน ในชุมชนที่มีกำรคำ้ ขำยหรือใน เขตเมือง จะมีคนไทยเช้ือสำยจีนและญวนปะปนอยู่ ส่วนใหญ่ ประกอบอำชีพค้ำขำย ประชำกรส่วนใหญ่ของจังหวดั นับถือ พระพุทธศำสนำ ร้อยละ 97.50 มีวดั ในพระพุทธศำสนำอยู่ 266 แห่ง นับถือศำสนำคริสต์ ร้อยละ2.30และนับถือศำสนำอิสลำม นอ้ ยมำก อำณำเขตติดต่อ • ทิศเหนือ ติดต่อกบั จงั หวดั ยโสธรและจงั หวดั มุกดำหำร • ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับประเทศลำว (โดยมีแม่น้ำโขงไหล คนั่ ) และจงั หวดั อุบลรำชธำนี • ทิศใต้ ติดต่อกบั จงั หวดั อุบลรำชธำนี • ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั จงั หวดั ยโสธร



ประวตั ิจังหวดั อำนำจเจริญ เม่ือปี พ.ศ. 2357 เจำ้ พระพรหมวรรำชสุริยวงศ์ เจำ้ เมืองอุบลรำชธำนีคนที่ 2 (ตน้ สำยสกุล \" พรหมวงศำนนท์ \" ) ไดม้ ีใบบอกลงไปกรำบทูลพระกรุณำพระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลำ้ นภำลยั ขอพระรำชทำนต้งั บำ้ นโคกก่งดงพะเนียงเป็นเมืองเขมรำษฎร์ ธำนี พระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลำ้ นภำลยั จงึ ทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯให้ยกฐำนะ บำ้ นโคกก่งดงพะเนียงข้ึนเป็ นเมืองตำมทพี่ ระพรหมวรรำชสุริยวงศำกรำบทูลและทรง พระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ ให้เจำ้ อุปรำช (ก่ำ) พระโอรสเจำ้ พระวอ เป็ นที่พระเทพวงศำ (ก่ำ) (2357-2369) ตอ่ มำในปี พ.ศ. 2369 เกิดศึกระหวำ่ งกรุงเทพมหำนครกบั กองทพั เจำ้ อนุวงศ์ เจำ้ นครจำปำศกั ด์ิไดย้ กทพั มำยดึ เมืองเขมรำษฎร์ธำนี ขอให้พระเทพวงศำ (ก่ำ) เขำ้ เป็นพวกดว้ ย แตพ่ ระเทพวงศำไม่ยอมจึงถูกประหำรชีวติ พระเทพวงศำ (ก่ำ) มีบตุ ร 4 คน บุตรชำยคนหน่ึงคือพระเทพวงศำ (บุญจนั ทร์) มีบุตรชำย 2 คน คือ ท้ำวบุญสิงห์ และทำ้ วบุญชัย ต่อมำทำ้ วบุญสิงห์ไดเ้ ป็ นเจำ้ เมืองเขมรำษฎร์ธำนี มียศเป็ นพระเทพ วงศำ (บุญสิงห์) มีบุตรชำย 2 คน คือ ทำ้ วเสือและทำ้ วพ่วย ต่อมำทำ้ วพ่วยไดร้ ับกำร แต่งต้งั เป็ นทำ้ วขตั ติยะ และเป็ นเจำ้ เมืองเขมรำษฎร์ธำนีลำดับที่ 5 ตำแหน่งพระเทพ วงศำ (พ่วย) ส่วนทำ้ วเสือได้รับยศเป็ นทำ้ วจนั ทบุฮมหรือจนั ทบรม ต่อมำในปี พ.ศ. 2401 ทำ้ วจนั ทบรม (เสือ) ไดม้ ีใบกรำบบงั คมทูลทรงกรุณำทรำบ ขอยกฐำนะบำ้ นคอ้ ใหญ่ (ปัจจบุ นั อยใู่ นทอ้ งท่อี ำเภอลืออำนำจ) ข้นึ เป็นเมือง พระบำทสมเด็จพระจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ ัว รัชกำลที่ 4 จึงทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ ให้ยกฐำนะบำ้ นคอ้ ใหญ่ข้ึนเป็ น เมือง พระรำชทำนนำมวำ่ เมืองอำนำจเจริญ และทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ ต้งั ใหท้ ำ้ ว จนั ทบรม (เสือ) บุตรพระเทพวงศำบุญสิงห์)เจำ้ ผคู้ รองเมืองเขมรำษฎร์ธำนีองคท์ ี่ 4 มี ศกั ด์ิเป็นเหลนเจำ้ พระวรรำชภกั ดี เจำ้ ผคู้ รองนครเข่ือนขนั ธ์กำบแกว้ บวั บำน พระองคท์ ่ี 3 อนั สืบมำจำกรำชวงศส์ ุวรรณปำงคำ เป็นที่พระอมรอำนำจ (เสือ) ตน้ สำยสกลุ อมรสิน และอมรสิงห์ ดงั ปรำกฏตรำสำรต้งั เจำ้ เมืองอำนำจเจริญ เมืองอำนำจเจริญจงึ ไดร้ ับกำร สถำปนำเป็นเมืองต้งั แตบ่ ดั น้นั เป็นตน้ มำ

โดยข้นึ กำรบงั คบั บญั ชำของเจำ้ เมืองเขมรำษฎร์ธำนี ต่อมำในสมยั พระบำทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ำเจำ้ อยู่หัวได้ทรงปฏิรูปกำรปกครองให้เขำ้ สู่ระบบกำรบริหำรรำชกำร แผน่ ดินแบบยโุ รปตำมแบบสำกล เป็นเทศำภบิ ำล เมื่อ พ.ศ. 2429-2454 โดยยกเลิกกำร ปกครองแบบเดิมทีใ่ หม้ ีเจำ้ เมือง อุปรำช รำชวงศ์ และรำชบุตร ทีเ่ รียกวำ่ อำญำส่ี นบั แต่ ปี พ.ศ. 2429-2454 ไดย้ กเลิกกำรปกครองแบบเก่ำ คือ ยกเลิกตำแหน่งอำญำสี่สืบสกุล ในกำรเป็ นเจำ้ เมืองน้ันเสีย จดั ให้ขำ้ รำชกำรจำกรำชสำนักในกรุงเทพมหำนครมำ ปกครอง เปล่ียนช่ือตำแหน่งผูป้ กครองจำกเจำ้ เมืองมำเป็ นผวู้ ำ่ รำชกำรเมืองแทน และ ปรับปรุงกำรปกครองหัวเมืองมณฑลอีสำน จึงยบุ เมืองเล็กเมืองนอ้ ยรวมเป็ นเมืองใหญ่ ยบุ เมืองเป็ นอำเภอ เช่น เมืองเขมรำษฎร์ธำนี เมืองยศสุนทร (ยโสธร) เมืองฟ้ำหยำด (มหำชนะชยั ) เมืองลุมพุก (คำเขอื่ นแกว้ ) เมืองขหุ ลุ (ตระกำรพชื ผล) เมืองอำนำจเจริญ ไปข้ึนกำรปกครองกบั เมืองอุบลรำชธำนี ต้งั แต่บดั น้นั เป็นตน้ มำ อำเภออำนำจเจริญ จึง ไดแ้ ตง่ ต้งั นำยอำเภอปกครอง นำยอำเภอคนแรก คือ รองอำมำตยโ์ ทหลวงเอนกอำนำจ (เป้ย สุวรรณกฏู ) พ.ศ. 2454-2459 ต่อมำประมำณ พ.ศ. 2459 ยำ้ ยตวั อำเภอจำกที่เดิม (บำ้ นคอ้ บำ้ นอำนำจ อำเภอลืออำนำจในปัจจุบัน) มำต้งั ณ ตำบลบุ่งซ่ึงเป็ นท่ีต้ังเมืองในปัจจุบัน ตำม คำแนะนำของพระยำสุนทรพิพิธ เม่ือคร้ังดำรงตำแหน่งเลขำมณฑลอีสำน ไดเ้ ดินทำง มำตรวจรำชกำรโดยใชเ้ กวียนเป็ นพำหนะ มีควำมเห็นว่ำหำกยำ้ ยอำเภอมำต้งั ใหม่ท่ี บำ้ นบุ่งซ่ึงเป็ นชุมชนและชุมทำงสี่แยกระหว่ำงเมืองอุบลรำชธำนีกบั มุกดำหำร และ เมืองเขมรำฐกบั เมืองยศ (ยโสธร) โดยคำดวำ่ จะมีควำมเจริญยงิ่ ๆ ข้นึ ไปในอนำคต โดย ใชช้ ื่อวำ่ อำเภอบุ่ง [เสนอแนะยำ้ ยพร้อมกบั อำเภอเดชอุดม ยำ้ ยจำกเมืองขุขนั ธ์ (ในเขต จงั หวดั ศรีสะเกษปัจจุบนั ) มำข้ึนกบั จงั หวดั อุบลรำชธำนี] และยบุ เมืองอำนำจเจริญเดิม เป็ นตำบลชื่อว่ำตำบลอำนำจ ซ่ึงชำวบำ้ นนิยมเรียกว่ำ \"เมืองอำนำจน้อย\" อย่ใู นเขต ทอ้ งท่อี ำเภอลืออำนำจในปัจจุบนั ต่อมำในปี พ.ศ. 2482 จงึ เปล่ียนชื่อจำกอำเภอบุ่งเป็ น \"อำเภออำนำจเจริ ญ\" ข้ึนกำรปกครองกับจังหวัดอุบลรำชธำนี ต่อมำได้มี

พระรำชบญั ญตั ิจดั ต้งั จงั หวดั อำนำจเจริญ พุทธศกั รำช 2536 ซ่ึงมีผลบงั คบั ต้งั แต่วนั ที่ 1 ธันวำคม พ.ศ. 2536 ตรงกับวนั พุธ แรม 3 ค่ำ เดือน 12 ปี ระกำ ให้แยกอำเภอ อำนำจเจริญ อำเภอชำนุมำน อำเภอปทุมรำชวงศำ อำเภอพนำ อำเภอหัวตะพำน อำเภอ เสนำงคนิคม และก่ิงอำเภอลืออำนำจ (ปัจจุบนั อำเภอลืออำนำจ) รวม 6 อำเภอ 1 กิ่ง อำเภอ ออกจำกกำรปกครองจังหวดั อุบลรำชธำนีรวมกันข้ึนเป็ นจงั หวดั ใหม่ชื่อว่ำ จังหวดั อำนำจเจริญ เป็ นจงั หวดั ลำดับที่ 76 ของประเทศไทยและยกฐำนะอำเภอ อำนำจเจริญเป็ น อำเภอเมืองอำนำจเจริญ (รำชกิจจำนุเบกำำ ฉบบั พิเศษ หน้ำ 4-5-6 เล่ม 110 ตอนท่ี 125 ลงวนั ท่ี 2 กนั ยำยน 2536)

บ้ำนปลำค้ำว เที่ยวอำนำจเจริญ ไปเรียนรู้วฒั นธรรมกำรร้องหมอลำและดนตรีพ้ืนบำ้ น แลว้ แวะ อุดหนุนผำ้ ทอลำยดอกสะแบงลวดลำยสวยงำมผลิตภณั ฑป์ ระจำชุมชน ส่วนใครอยำก นอนคำ้ งสัมผสั วถิ ีชีวติ ชำวบำ้ นก็มีโฮมสเตไวร้ องรับนกั ทอ่ งเท่ียวที่สนใจอีกดว้ ย ไร่ภูตะวนั Organic Farm ท่องเทีย่ วเชิงเกษตรกบั ไร่ผกั อินทรียบ์ นเน้ือที่ 35 ไร่ ท่เี จำ้ ของนำควำมรู้ดำ้ นกำรเกษตร ที่ทนั สมยั มำปรับใช้ และส่งเสริมให้ชำวบำ้ นในชุมชมปลูกผกั อินทรียเ์ พื่อส่งขำยอีก ดว้ ย โดยผลผลิตหลกั ของไร่ คือ ผกั สลดั ปวยเลง้ คะน้ำ กวำงตุง้ เมลอน ใครมีโอกำส ไป เท่ียวอำนำจเจริญ สำมำรถแวะเยยี่ มชมและเลือกซ้ือผกั สด ๆ กนั ได้

อ่ำงเกบ็ นำ้ ห้วยหนิ กอง อ่ำงเก็บน้ำท่ีพฒั นำเป็ น ท่ีเท่ียวอำนำจเจริญ ให้ชำวบำ้ นและนกั ท่องเท่ียวไดใ้ ชเ้ วลำมำ พกั ผอ่ นและทำกิจกรรม เช่น ชมสวนผลไมโ้ ดยในช่วงมกรำคม - มีนำคม ไปแวะชิมเม ลอนผลสดรสหวำนฉ่ำ ส่วนเมษำยน - มิถุนำยน มีเงำะและลำใยให้ชิมกนั ถึงในสวน นอกจำกน้ีอยำ่ ลืมล้ิมลองสำรพดั เมนูปลำบู่จำกร้ำนอำหำรรอบอ่ำงเกบ็ น้ำ บ้ำนนำภูคำ ที่เที่ยวอำนำจเจริญแห่งใหม่ทีเ่ ปิ ดใหเ้ ขำ้ ชมและเรียนรู้วถิ ีเกษตรกรรมบนพ้นื ท่ี 12 ไร่ ซ่ึงที่น่ีมีกิจกรรมให้นกั ท่องเท่ียวไดม้ ีส่วนร่วมเช่น เก็บผกั ปลอดสำรพษิ เรียนรู้กำรทำ นำ หรือชมววิ ท่งุ นำบนสะพำนไมท้ ท่ี อดยำว ใครมำแลว้ ติดใจไม่อยำกกลบั กส็ ำมำรถ ตดิ ต่อพกั คำ้ งคืนไดเ้ ลย

ถนนคนเดนิ ผกู ป่ิ นโตข้ำว เพลิดเพลินกบั กำรเดินเลือกซ้ือสินคำ้ และผลิตภณั ฑก์ ำรเกษตรจำกชำวบำ้ นท่ีนำมำ จำหน่ำย แลว้ มำนั่งพกั ที่ลำนกำรแสดงศิลปวฒั นธรรม ชมกำรแสดงดนตรีพ้ืนบำ้ นท่ี หมุนเวียนมำสร้ำงสีสันให้บรรยำกำศของถนนคนเดินดูคึกคกั เป็ นอีกหน่ึง ท่ีเที่ยว อำนำจเจริญ ท่ีไม่ควรพลำด ผำชื่นวำริน จุดชมวิวพระอำทิตยต์ กในอำนำจเจริญ กบั บรรยำกำศลำนหินกวำ้ งเหมำะชวนคนขำ้ ง ๆ ไปยนื รับลมเยน็ ๆ ชมวิวพ้ืนป่ ำดำ้ นล่ำงไปพร้อมกบั แสงสุดทำ้ ยของวนั บอกไดเ้ ลย วำ่ เป็นอีกหน่ึง ท่ีเท่ยี วอำนำจเจริญ ท่ีนกั ท่องเทยี่ วไม่ควรพลำดอยำ่ งยง่ิ

นำ้ ตกตำดใหญ่ ท่ีเที่ยวอำนำจเจริญ กบั ควำมสวยงำมของกระแสน้ำจำกลำห้วยทมที่ไหลผำ่ นโขดหิน ก้นั ลำน้ำเกิดเป็ นน้ำตก 2 ช้ัน กวำ้ งประมำณ 50 เมตร แต่ละช้ันสูงประมำณ 2.5 เมตร และมีน้ำตลอดปี โดยในเดือนมกรำคม - พฤษภำคม เป็นช่วงเวลำท่ีเหมำะกบั กำรเที่ยว น้ำตกตำดใหญ่มำกที่สุด แหล่งโบรำณคดวี ดั ดงเฒ่ำเก่ำ เรียนรู้ประวตั ิศำสตร์และโบรำณคดีกบั ที่เท่ียวอำนำจเจริญ โดยมีกำรคน้ พบใบเสมำ พนั ปี ทำจำกหินทรำยแผน่ ขนำดใหญม่ ีกำรสลกั ลวดลำยนูนต่ำ เป็นรูปดอกไม้ รูปหมอ้ น้ำ และตอนบนเป็นวงคลำ้ ยธรรมจกั ร รวมถึงพระพุทธรูปหินทรำยแบบทวำรวดีตอน ปลำยอีกดว้ ย

พระมงคลม่ิงเมือง เที่ยวอำนำจเจริ ญ ต้องแวะไปสักกำระขอพรพระใหญ่ พระพุทธรูปศักด์ิสิ ทธ์ิ คู่บำ้ นคู่เมืองและเป็ นท่ีเคำรพศรัทธำของประชำชนในพ้ืนที่ โดยบริเวณดำ้ นหลงั พระ ใหญ่ยงั มี “พระละฮำย” หรือท่ีชำวบำ้ นเรียกวำ่ พระขี่ลำย เช่ือกนั ว่ำเป็ นพระให้โชค ลำภ ซ่ึงชำวบำ้ นมกั นิยมมำขอพรอยเู่ สมอ แก่งคนั สูง ช่วงฤดูร้อนของทุกปี แม่น้ำโขงบริเวณ อ.ชำนุมำน จ.อำนำจเจริญ จะลดต่ำลงจนเห็น โขดหินเกำะแก่งซ่ึงอยกู่ ลำงแม่น้ำ ชำวบำ้ นเรียกกนั ว่ำ แก่งคนั สูง เกำะแก่งขนำดใหญ่ และสำยน้ำโขงท่ไี หลหลง่ั ก้นั ระหวำ่ งไทยกบั สปป.ลำว เป็นควำมงดงำมทำงธรรมชำติ ท่ีเหมำะกบั กำรมำเท่ียวพกั ผอ่ นหยอ่ นใจมำกมำย ท้งั กำรรับประทำนอำหำรบนเพงิ ไม้ ไผร่ ิมน้ำ เล่นน้ำโขง และบำนำน่ำโบท๊

วดั ถำ้ แสงเพชร วดั ถ้ำแสงเพชร หรือวดั ศำลำพนั ห้อง เป็ นสถำนท่ีปฏิบัติธรรมสำยพระอำจำรยช์ ำ สุภทั โท ซ่ึงในอดีตหลวงป่ ูไดม้ ำทำวตั รเชำ้ เยน็ เจริญพระพุทธมนตน์ ง่ั สมำธิทถี่ ้ำแห่งน้ี ตวั วหิ ำรต้งั อยบู่ นยอดเขำสูง ประดิษฐำนพระพุทธไสยยำสน์ ยำว 19 เมตร ภำยในเจดีย์ สถูปมีหุ่นข้ผี ้งึ รูปเหมือนหลวงป่ ชู ำสุภทั โท และภำพเขยี นฝำผนงั สีน้ำพุทธประวตั ิ วดั พระเทพนมิ ติ วดั พระเทพนิมิต ต้งั อยหู่ ่ำงจำกตวั อำเภอพนำประมำณ 2 กิโลเมตร พระอุโบสถของวดั มีรูปทรงสถำปัตยกรรมแบบล้ำนนำ มีพระประธำนคือ พระเหลำเทพ – นิมิตร เป็ น พระพุทธรูปคู่บำ้ นคู่เมือง ประดิษฐำนในพระอุโบสถ องคพ์ ระพุทธรูปประทบั ขดั สำ มำธิรำบ ปำงมำรวชิ ยั ลงรักปิ ดทองงดงำม วำ่ กนั ว่ำเป็ นพระพุทธรูปที่มีพุทธลกั ษณะ งดงำมที่สุดในภำคอีสำนหรือของประเทศเลยกว็ ำ่ ได้

ภูผำผงึ้ เป็นหนำ้ ผำท่ีมำจำกสภำพพ้ืนที่ซ่ึงเป็นภูเขำท่ีมีรังผ้ึงอำศยั อยใู่ ตห้ นำ้ ผำ ทำงเดินเทำ้ บน ภูผำผ้ึงจะผ่ำนจุดชมวิวหลำยแห่ง ซ่ึงจะมีพนั ธุ์พืชที่มีลักษณะแปลกตำ ท้งั ท่ีอยู่บน ตน้ ไมห้ รือบนพ้ืนดิน ปัจจยั ของลมและลกั ษณะของดินซ่ึงเป็ นดินทรำยที่มีควำมอุดม สมบูรณ์ของธำตุอำหำรต่ำจะเป็ นตวั กำหนดชนิดพันธุ์ไม้ ที่บนยอดภูผำผ้ึง จะพบ พระพุทธรูป เป็ นพระพุทธรูปปูน ปรำงค์สมำธิ ซ่ึงเป็ นท่ีสักกำระของชำวบ้ำนใน บริเวณน้ี พระธำตุนำป่ ำแซง ต้งั อยู่ท่ี วดั สุทธิกำวำส ตำบลนำป่ ำแซง อำเภอปทุมรำชวงศำ จงั หวดั อำนำจเจริญ มี ควำมเชื่อกนั วำ่ ใครที่ไดม้ ำกรำบไหวพ้ ระธำตุนำป่ ำแซง เท่ำกบั กำรไดก้ รำบไหวบ้ ูชำ พระธำตุพนม ซ่ึงจะประสบควำมสำเร็จตำมท่ีขอ มีอำนำจบำรมีสูงส่ง ผคู้ นนบั หน้ำถือ ตำ เป็นผนู้ ำแก่บุคคลทว่ั ไป

อ่ำงเกบ็ นำ้ พุทธอทุ ยำน เป็ นอ่ำงเก็บน้ำที่มีขนำดใหญ่ของกรมชลประทำน สำมำรถกกั เก็บน้ำไดส้ ูงสุดมำกถึง 21.94 ลำ้ นลูกบำศกเ์ มตร อีกท้งั บริเวณสันเข่ือนทม่ี ีควำมยำวถึง 1,300 เมตร และควำม กวำ้ งหนำ้ สนั เขือ่ น กวำ้ งถึง 6 เมตร ทำให้สำมำรถมองเห็นวิวทวิ ทศั น์โดยรอบ มีควำม สวยงำมเป็นอยำ่ งยงิ่ เหมำะสำหรับเป็นท่พี กั ผอ่ นหยอ่ นใจเป็นอยำ่ งมำก ริมแม่นำ้ โขงทชี่ ำนุมำน ท่ีต้งั อยภู่ ำยในอำเภอชำนุมำน บริเวณน้ีถือเป็นอีกหน่ึงจุดชมควำมงำมของทศั นียภำพ 2 ฝั่งโขงท่ีงดงำม โดยเฉพำะในช่วงฤดูแลง้ จะสำมำรถเห็นเกำะแก่งได้หลำยแห่ง เช่น แก่งต่ำงหล่ำง ต้งั อยบู่ ำ้ นศรีสมบูรณ์ ลกั ษณะของแก่งต่ำงหล่ำงคือเป็ นโขดหินขรุขระ อยรู่ ิมแม่น้ำโขง เป็ นหินศิลำแลงคลำ้ ยชำมหรืออ่ำง สำมำรถชมควำมสวยงำมของแอ่ง น้ำไดใ้ นหนำ้ แลง้ เหมำะเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี วและพกั ผอ่ นหยอ่ นใจอยำ่ งมำก

อุทยำนดงลิงดอนเจ้ำป่ ู ควำมโดนเด่นอยูท่ ี่มีสัตวป์ ่ ำอำศยั อยู่จำนวนมำก โดยเฉำะเจำ้ ลิงแสม อีกท้งั ยงั เป็ น สถำนท่ศี กั ด์ิสิทธ์ิที่ประชำชนให้ควำมเคำรพและศรัทธำ เพรำะเป็นท่ีต้งั ของศำลป่ ูตำที่ สิงสถิตของเจำ้ ป่ ู (พรำนที) ซ่ึงในช่วงเดือนห้ำ (บุญสงกรำนต)์ และเดือนหก (บุญบ้งั ไฟ) ชำวพนำจะมำร่วมกนั จดั งำนและนำบ้งั ไฟมำถวำยเจำ้ ป่ ู (พรำนท)ี เป็นประจำทุกปี เพือ่ เสริมสิริมงคลแก่พีน่ อ้ งชำวพนำมำจนถึงปัจจุบนั สวนเกษตรชิตสกนต์ สำหรับนกั ท่องเท่ียวที่เดินทำงเขำ้ มำจะไดพ้ บกบั ไร่ดำวเรืองขนำดใหญ่ กินพ้ืนที่กว่ำ 30 ไร่ พร้อมสัมผสั ควำมสวยงำมของทุ่งดอกดำวเรืองอเมริกันพนั ธุ์ Sovereign Gold และพนั ธุ์ไมห้ ลำกหลำยชนิด พืชผกั สมุนไพร และพนั ธุ์ไมห้ ำยำกหลำยชนิด และ นอกจำกจะไดช้ มวิวสวย ๆ ของ \"สวนเกษตรชิตสกนต\"์ แลว้ ท่ีน่ียงั มีบริกำรชิตสกนต์ รีสอร์ท สำหรับนกั ท่องเท่ียวที่จะมำนอนพกั ผอ่ นริมทงุ่ ดอกไมส้ วย ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย

อุทยำนแห่งชำตภิ สู ระดอกบวั อยใู่ นเขตอุทยำนแห่งชำติภูสระดอกบวั เป็ นภูเขำ บนรอยต่อของเขต 3 จงั หวดั คือ อำเภอเสนำงคนิคม อำเภอชำนุมำน จงั หวดั อำนำจเจริญ อำเภอนิคมคำสร้อย อำเภอ ดอนตำล จงั หวดั มุกดำหำร อำเภอเลิงนกทำ จงั หวดั ยโสธร ที่ยอดภูสระดอกบวั มีแอ่ง หินขนำดกวำ้ งประมำณ 2 – 3 เมตร มีน้ำขงั ตลอดท้งั ปี มีบวั พนั ธุ์ต่ำงๆมำกมำย ข้ึนอยู่ เตม็ สระท่ียอดภู เมื่อออกดอกบวั จสวยงำมมำก บวั เหล่ำน้ีจะเกิดข้ึนเองตำมธรรมชำติ ชำวบำ้ นจงึ เรียกกนั วำ่ ภูสระดอกบวั ผำมะเกลือ เป็นจุดพกั ผอ่ นหยอ่ นใจและชมววิ ใกลภ้ ูผำแตม้ มีลกั ษณะเป็นลำนหิน ใตเ้ พงิ ร่มร่ืนไป ดว้ ยแมกไม้

ภผู ำหอม เป็ นจุดชมวิวท่ีสวยงำมของเทือกเขำภูผำแต้ม จุดน้ีสำมำรถมองเห็นทิวทัศน์ใน ระยะไกลออกไป ทำงทศิ ตะวนั ตก มีควำมสูงประมำณ 366 กิโลเมตรจำกระดบั น้ำทะเล ดำ้ นหลงั จะมองเห็นภหู มู ภูแผงมำ้ ภูไมซ้ ำง ภูของ ภอู ดั รชำด เป็นจดุ ชมพระอำทิตยต์ ก ดินทีน่ ิยมกนั มำก รวมถึงกำรพกั คำ้ งแรม วนอุทยำนภูสิงห์ “วนอุทยำนภสู ิงห์” แหล่งท่องเทย่ี วทำงธรรมชำติท่ีมีลกั ษะเป็ นภเู ขำหินทรำยอยใู่ นเขต ป่ ำสงวนแห่งชำติ เพรำะพวกเรำต้งั ใจมำเดินป่ ำศึกษำธรรมชำติ ซ่ึงระยะเวลำในกำร เดินเทำ้ เขำ้ ชมแหล่งท่องเที่ยวธรรมชำติ ซ่ึงมีท้งั น้ำตกเทพธิดำ วดั ถ้ำแสงแกว้ ลำน ควำมตู้ หรือผำผ้งึ รวมแลว้ ประมำณ 2-3 ชว่ั โมงข้ึนอยกู่ บั วำ่ คุณเป็นสำยชิลแวะถ่ำยรูป มำกน้อยแค่ไหนดว้ ย จุดที่พวกเรำชอบที่สุดคือที่ผำช่ืนวำริน หน้ำผำขนำดเล็กที่ถูก ลอ้ มรอบดว้ ยผนื ป่ ำและภูเขำนอ้ ยใหญ่มำกมำย

กำรเดนิ ทำง รถยนต์ ใช้ทำงหลวงหมำยเลข1 (ถนนพหลโยธิน) และทำงหลวงหมำยเลข2 (ถนน มิตรภำพ) จำกน้ันใช้ทำงหลวงหมำยเลข226 นครรำชสีมำ-สุรินทร์ และใช้ทำงหลวง หมำยเลข214 สุรินทร์-อำเภอสุวรรณภูมิ แลว้ แยกขวำไปตำมทำงหลวงหมำยเลข202 ผำ่ นจงั หวดั ยโสธร และอำเภอป่ ำต้ิว ถึงจงั หวดั อำนำจเจริญ รวมระยะทำง580 กม. หรือ สำมำรถใช้ทำงหลวงหมำยเลข1 และหมำยเลข 2 จำกน้ันใช้ทำงหลวงหมำยเลข226 นครรำชสีมำ-อุบลรำชธำนี ถึงจงั หวดั อุบลรำชธำนี แล้วใช้ทำงหลวงหมำยเลข212 อุบลรำชธำนี-อำนำจเจริญ รวมเป็นระยะทำง704 กม. รถโดยสำรประจำทำง มีท้ังธรรมดำและปรับอำกำศ ซ่ึงเป็ นรถโดยสำรท่ีว่ิงระหว่ำง กรุงเทพฯ- อุบลรำชธำนี ออกจำกสถำนี ขนส่งสำยตะวนั ออกเฉียงเหนือ จำกน้ันใช้รถโดยสำร ประจำทำงที่ว่ิงระหว่ำงอุบลรำชธำนี-มุกดำหำร-ธำตุพนม ซ่ึงจะผ่ำนจังหวัด อำนำจเจริญ มี2 บริษทั คือ บริษทั สำยณั ห์เดินรถ จำกดั เป็นรถโดยสำรธรรมดำ มีเวลำรถออกดงั น้ีคอื 06.00 น.07.00 น.09.00 น.11.00 น.12.00 น. และเวลำ13.00 น. ซ้ือตว๋ั และข้ึนรถไดท้ ่ีคิวรถ ตลำดบำ้ นดอนกลำง รำยละเอียดเพ่มิ เติมสอบถำมไดท้ ี่ โทร. (045) 242163, 241820 บริษัท สหมิตรทวั ร์ เป็ นรถโดยสำรปรับอำกำศ ซ่ึงวิ่งระหว่ำงอุบลรำชธำนี- นครพนม มีเวลำออกดังน้ีคือ06.30 น. และเวลำ14.00 น. ซ้ือตว๋ั และข้ึนรถได้ท่ี บริษทั สหมิตรทวั ร์ ถนนเขอ่ื นธำนี ตรงขำ้ มพิพธิ ภณั ฑสถำนแห่งชำติ อุบลรำชธำนี รถไฟ มีรถด่วนและรถเร็วทุกวนั ซ่ึงเป็ นรถไฟท่ีว่ิงระหว่ำงกรุงเทพฯ-อุบลรำชธำนี และยงั มีรถธรรมดำ จำกนครรำชสีมำ-อุบลรำชธำนี และสุรินทร์-อุบลรำชสีมำ อีกดว้ ย จำกน้ันใชร้ ถโดยสำรประจำทำง ที่วิง่ ระหวำ่ งอุบลรำชธำนี-มุกดำหำร-ธำตุพนม หรือ

ใชร้ ถประจำทำงที่วิ่งระหวำงอุบลรำชธำนี-นครพนม ก็ได้ รำยละเอียดติดต่อสอบถำม ไดท้ ีห่ น่วยบริกำรเดินทำง กำรรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 223-7010, 223-7020 เครื่องบิน บริษัท กำรบินไทย จำกัด (มหำชน) มีเครื่องบินรับส่งผูโ้ ดยสำรระหว่ำง กรุงเทพฯ-อุบลรำชธำนี และอุบลรำชธำนี-กรุงเทพฯ ทุกวนั สอบถำมรำยละเอียด เพ่ิมเติมไดท้ ่ี โทร.628-0200 หรือท่ีอุบลรำชธำนี โทร. (045) 313340-43 เม่ือถึง จ. อุบลรำชธำนีแลว้ นงั่ รถโดยสำรต่อไปอำนำจเจริญ ประเพณปี ระจำจงั หวดั อำนำจเจริญ ฮีตสิบสอง คือ จำรีตประเพณีที่ประชำชนนำมำปฏิบตั ิประจำเดือน ท้งั ๑๒ เดือนใน รอบปี เป็ นประเพณีกำรทำบุญประจำเดือนที่เก่ียวเนื่องกบั พุทธศำสนำ กำรนบั เดือน เป็นแบบจนั ทรคติ คือ เดือนอำ้ ย เดือนยี่ เดือนสำม เดือนสี่ เดือนหำ้ เดือนหก เดือนเจ็ด เดือนแปด เดือนเกำ้ เดือนสิบ เดือนสิบเอ็ด และเดือนสิบสอง ตำมปกติเดือนอำ้ ยซ่ึงเป็ น เดือนแรกของปี จะเริ่มประมำณปลำยเดือนธันวำคม ชำวอำนำจเจริญ ถือว่ำกำร ประกอบพธิ ีกรรมตำมฮีตสิบสองเป็ นเร่ืองสำคญั เพรำะวำ่ พธิ ีกรรม ดงั กล่ำวเกี่ยวเนื่อง ท้งั พุทธศำสนำและภูตผวี ิญญำณ ต้งั แต่ไดร้ ับกำรยกฐำนะให้เป็ นจงั หวดั อำนำจเจริญ ทำงรำชกำรและประชำชนไดพ้ ยำยำมส่งเสริมพิธีกรรมฮีตสิบสอง ให้เป็ นเอกลกั ษณ์ ของจงั หวดั อำนำจเจริญ โดยจดั งำนฮีตสิบสองและงำนกำชำด ให้เป็นงำนประจำปี ซ่ึง จดั งำนในวนั ที่ ๑-๑๐ ธันวำคม ของทุกปี พิธีกรรมตำมฮีตสิบสอง ท่ีชำวอำนำจเจริญ ปฏิบตั ิสืบเนื่องต่อมำจนปัจจุบนั สำระสำคญั พอสงั เขป ดงั น้ี ฮีตที่ ๑. เดือนอำ้ ย บญุ เขำ้ กรรม ฮีตที่ ๒. เดือนยี่ บญุ คูนลำน ฮีตท่ี ๓. เดือนสำม บญุ ขำ้ วจี่ ฮีตที่ ๔. เดือนสี่ บุญผะเหวด ฮีตที่ ๕. เดือนห้ำ บุญสงกรำนต์

ฮีตที่ ๖. เดือนหก บุญบ้งั ไฟ ฮีตที่ ๗. เดือนเจด็ บุญซำฮะ ฮีตท่ี ๘. เดือนแปด บุญเขำ้ พรรษำ ฮีตที่ ๙. เดือนเกำ้ บุญขำ้ วประดบั ดิน ฮีตท่ี ๑๐. เดือนสิบ บุญขำ้ วสำก ฮีตท่ี ๑๑. เดือนสิบเอด็ บญุ ออกพรรษำ ฮีตที่ ๑๒. เดือนสิบสอง บญุ กฐิน และงำนลอยกระทง เดือนอ้ำย บุญเขำ้ กรรม เป็นพิธีกรรมที่พระภิกษุหำทำงออกจำกอำบตั ิ พระภิกษุ เป็ น ผูป้ ระกอบพิธี พระภิกษุจะเขำ้ อย่ใู นเขตจำกดั แล้วรักษำกำยและชำระจิตใจให้ บริสุทธ์ิ พร้อมท้งั ถือวำ่ “เขำ้ กรรม” เป็นกำรทดแทนคุณมำรดำ เพรำะวำ่ เม่ือมำรดำชำว อีสำนคลอดบุตรตอ้ งอยู่กรรม หรืออย่ไู ฟ บำงทอ้ งถ่ินเรียกกำรเขำ้ กรรมว่ำ “กำรเขำ้ ปริวำสกรรม” ใชเ้ วลำท้งั สิ้น ๙ คืน ปัจจบุ นั กำรทำบุญเขำ้ กรรม จะนิยมทำที่วดั โดยจะ มีกำรกำหนดวนั ทำบุญเขำ้ กรรม ตำมควำมพร้อมของแต่ละทอ้ งที่ เช่น อำเภอพนำ จดั งำนปริวำสกรรม วนั ที่ ๒๐-๓๐ ธนั วำคม ของทุกปี ณ วนอุทยำนดอนเจำ้ ป่ ู (ดอนลิง) วนั ที่ ๕-๑๔ มกรำคม ของทกุ ปี วดั ฤกษอ์ ุดม ตำบลลือ อำเภอปทุมรำชวงศำ จดั งำนเขำ้ กรรม โดยมีพระสงฆจ์ ำกทว่ั ทุกสำรทิศ และมีชำวบำ้ นที่รู้ข่ำวและมีศรัทธำ มำบวชชี พรำหมณ์ ชำวบำ้ นท่ีติดภำระก็จะมำร่วมทำบุญตกั บำตรในช่วงเช้ำ และมำฟังเทศนำ ธรรม ณ ลำนธรรม ในช่วงเย็น มีน้ำสมุนไพรพ้ืนบำ้ น เช่น น้ำมะตูม น้ำขิง มำไว้ ให้บริกำรกบั ผมู้ ำร่วมงำน

เดือนยี่ บุญคูนลำน หลงั จำกนวดขำ้ วเสร็จแลว้ ชำวบำ้ นจะกองเมล็ดขำ้ วไวใ้ น ลำนนวดขำ้ ว เป็นรูปกรวยควำ่ ชำวบำ้ นนิยมเรียกวำ่ “กมุ้ ขำ้ ว” ก่อนจะนำขำ้ วข้ึนเก็บไว้ ในยงุ้ ฉำง ชำวบำ้ นจะทำบุญขวญั ขำ้ ว โดยนิมนตพ์ ระสงฆม์ ำเจริญพระพุทธมนต์ใน ตอนเย็นและถวำยภัตตำหำรเช้ำในวนั รุ่งข้ึน เล้ียงอำหำรเพื่อนบ้ำนที่ไปร่ วมพิธี ต่อจำกน้นั จึงนำน้ำมนตไ์ ปพรมกองขำ้ วและ ท่ีนำ เพื่อให้เจำ้ ของนำจะไดอ้ ยอู่ ยำ่ งเป็น สุข ฝนตกถูกตอ้ งตำมฤดูกำล ปี ต่อไปขำ้ วกลำ้ นำจะงอกงำมและไดผ้ ลดี ต่อจำกน้ันจึง ขนขำ้ วใส่ยงุ้ ฉำง เจำ้ ของนำ บำงคนอำจจะประกอบพิธีสู่ขวญั เลำ้ หรือยงุ้ ขำ้ วเพม่ิ ข้นึ อีก บำงคร้ังไม่สำมำรถทำบุญคูณลำนไดเ้ พรำะวำ่ สภำพเศรษฐกิจของครอบครัวไม่ดี กำรจดั งำนบุญคูนลำนในปัจจุบนั ของชำวจงั หวดั อำนำจเจริญ จดั ในช่วงเดือนมกรำคม โดยจงั หวดั ไดก้ ำหนดจดั งำนประเพณีบญุ คูนลำนจงั หวดั อำนำจเจริญ เป็นงำนส่งเสริม กำรท่องเท่ียวและส่งเสริมเศรษฐกิจ เน่ืองจำกจงั หวดั อำนำจเจริญ มีสินคำ้ ส่งออกมำก ที่สุดคือ ข้ำว ซ่ึงขำ้ วจังหวดั อำนำจเจริญมีคุณภำพ ได้รับรำงวลั ชนะเลิศจำกกำร ประกวดขำ้ วในระดบั ประเทศ ต้งั แต่ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๑ เป็ น ขำ้ วหอมมะลิ ช้นั ดี ใน กำรจดั งำนประเพณีมีพิธีทำงศำสนำตำมแบบเดิม และมีกำรเพิ่มศิลปะกำรกำรแสดง แสง สี เสียง กำรสัมมนำเก่ียวกบั วิถีชีวิตขำ้ วกับชำวนำเล้ียงโลก กำรแสดงวิถีชีวิต ชำวนำ พิธีกรรมกำรทำนำ และผลิตภัณฑ์จำกข้ำว จำหน่ำยสินค้ำพ้ืนเมือง โดย ประชำชนมีส่วนร่วมกำรจดั งำนทุกคน เดือนสำม บุญขำ้ วจี่ ตรงกบั ช่วงเทศกำลวนั มำฆบูชำ ชำวบำ้ น นำขำ้ วเหนียวที่ น่ึงสุกแลว้ มำป้ันเป็นกอ้ น ให้มีขนำดประมำณไข่เป็ดฟองใหญ่ ทำเกลือแลว้ เอำไมเ้ สียบ อยำ่ งไฟพลิกกลบั ไปมำจนผวิ ขำ้ วจีก่ ลำยเป็นสีเหลือง ชำวบำ้ นตำ่ งพำกนั นำขำ้ วจี่ไปวดั หลงั จำกที่พระสงฆส์ วดพระพุทธมนต์แลว้ ต่อจำกน้ันจึงตกั บำตรด้วยขำ้ วจี่ กล่ำวคำ ถวำยขำ้ วจี่ แลว้ นำขำ้ วจ่ีถวำยพระพร้อมกบั อำหำรอื่น ปัจจุบนั ไดร้ วมบุญมำฆบูชำไว้ ในบุญขำ้ วจี่ดว้ ย เดือนส่ี บุญผะเหวด หรือบุญมหำชำติ กำรทำบญุ ผะเหวดเป็นกำรประสำนควำม ร่วมมือกบั หมู่บำ้ นจำกหมู่บำ้ นอื่นมำร่วมงำนด้วย กิจกรรมหลกั ของบุญผะเหวด คือ

กำรนิมนตพ์ ระอุปคุตมำประดิษฐำนท่ีหอพระอุปคุตในตอนเชำ้ ตอนบ่ำยมีพิธีอญั เชิญ แห่พระเวสสนั ดร และพระนำงมทั รีเขำ้ วดั ช่วงค่ำพระสงฆส์ วดพระพทุ ธมนต์ กลำงคืน เทศน์เร่ือง พระมำลยั หมื่นพระมำลยั แสน ซ่ึงเป็นเรื่องที่เก่ียวกบั พระมำลยั ไปเยยี่ มนรก ต่อจำกน้นั จึงเทศน์สังกำศ วนั ทส่ี องจะมีเทศน์มหำชำติตลอดวนั เป็นประเพณีท่ีปฏิบตั ิ สืบต่อกนั มำว่ำกำรเทศน์มหำชำติน้ันจะตอ้ งเทศน์ให้จบท้งั ๑๓ กณั ฑภ์ ำยในวนั เดียว จึงจะไดอ้ ำนิสงส์มำก บำงทอ้ งถ่ินจะมีกำรแห่ขำ้ วพนั กอ้ น ก่อนฟังเทศน์มหำชำติ ใน วนั ที่สอง ซ่ึงจะ มีกำรทำพิธีแห่ขำ้ วพนั กอ้ น ต้งั แต่เวลำ ๐๓.๐๐ น. โดยชำวบำ้ นจะมี ผนู้ ำทำพิธีแตง่ ชุดขำว แห่ขำ้ วไปตำมซุม้ ธงทิว จำนวน ๘ ทิศ รอบโบสถ์ โดยเดินเวียน ท้งั หมด ๓ รอบ เดือนห้ำ บุญสงกรำนต์ เป็ นทำบุญเฉลิมฉลองปี ใหม่ตำมคติโบรำณ ซ่ึงจดั ให้มี พร้อมกนั ทวั่ ประเทศ โดยทำบญุ สงกรำนตใ์ นวนั ท่ี ๑๓-๑๔ เมษำยน กิจกรรมหลกั ของ บุญสงกรำนต์ คือกำรสรงน้ำพระพุทธรูปที่วดั สรงน้ำคนเฒ่ำคนแก่ หนุ่มสำวเล่นสำด น้ำกนั (หรือนิยมเรียกวำ่ “ไปเนำ”) ขนทรำยเขำ้ วดั ก่อพระเจดียท์ รำย บูชำพระเจดีย์ ทรำย และแห่ขำ้ วพนั กอ้ น ในเมืองจะทำบุญสงกรำนตเ์ พียง ๓ วนั คือวนั ที่ ๑๓ – ๑๕ เมษำยน ส่วนในชนบทจะสรงน้ำพระพุทธรูปต่อไปอีกจนถึงวนั เพญ็ เดือน ๖ จึงเสร็จ สิ้นพิธีสงกรำนต์ และก่อนที่พิธีสงกรำนตจ์ ะส้ินลง ชำวบำ้ นจะทำพิธีแห่ดอกไมร้ อบ บำ้ น ก่อพระเจดียท์ รำยไวต้ ำมทำงสำมแพร่งรอบหมู่บำ้ น ไปรวมกนั เรียกวำ่ ค้ำโพธ์ิค้ำ ไฮ และ ปักธงเฉลียงไวต้ ำมกองทรำย เดือนหก บุญบ้งั ไฟ เป็ นพิธีกรรมขอฝนจำกแถน โดยทำพิธีบูชำอำรักษ์หลัก เมือง เพื่อให้ฝนตกถูกตอ้ งตำมฤดูกำล ให้ชำวบำ้ นไดท้ ำนำ อยำ่ งเตม็ ที่ ประชำชนอยู่ เยน็ เป็ นสุข กิจกรรมหลกั ของบุญบ้งั ไฟ กำรแห่บ้งั ไฟ กำรประกวดและแข่งขนั บ้งั ไฟ กำรเล่นกลองตุม้ กำรเส็งกลองกิ่ง กำรหดสรงพระภิกษุหรือสำมเณรท่ีเห็นว่ำเป็ นผูม้ ี คุณธรรม กำรบวชนำค วนั สุดทำ้ ยเป็ นกำรจุดบ้งั ไฟ บำงพ้ืนท่ีจะทำบุญบ้งั ไฟ ทุก ๆ ๓ ปี ปี ใดไม่ทำบญุ บ้งั ไฟก็จะทำเฉพำะบญุ เดือนหก คือ บญุ วนั วสิ ำขบูชำ

เดือนเจ็ด บุญซำฮะ ทำบุญชำฮะ ซำฮะ หมำยควำมวำ่ ชำระ หรือลำ้ ง เป็ นกำร ทำบญุ เพอ่ื ชำระลำ้ งส่ิงอปั มงคลใหอ้ อกจำกหมู่บำ้ น เพื่อชำวบำ้ นอยเู่ ยน็ เป็นสุข พน้ จำก ภยั ต่ำง ๆ โดยชำวบำ้ นจะสร้ำงประรำพิธีข้ึน ในหมู่บำ้ น ผูกตน้ กลว้ ยติดกบั เสำประรำ ท้งั ส่ีมุมจดั ทำอำสนสงฆ์ เตรียมเคร่ืองบูชำพระรัตนตรัย ดำ้ ยสำยสิญจน์ น้ำพระพุทธ มนต์ ฝ้ำยผูกแขน (ขอ้ มือ) เคร่ืองไทยทำน กรวด ทรำย หลกั ไมไ้ ผ่ ๘ หลัก ตอนเยน็ นิมนตพ์ ระมำสวดมนต์ ตอนเชำ้ ของวนั รุ่งข้ึนถวำยภตั ตำหำรเชำ้ ทำพิธี ๓ คืน เช้ำวนั สุดทำ้ ยถวำยสังฆทำน ประพรมน้ำพระพุทธมนต์ คนเฒ่ำคนแก่ผูกแขนให้ชำวบำ้ น หว่ำนกรวดทรำยให้ทว่ั หมู่บำ้ น แลว้ ขึงดำ้ ยสำยสิญจน์ให้รอบหมู่บำ้ น เอำหลกั ๘ ทิศ ไปตอกไวต้ ำมทิศท้งั แปดของหมู่บำ้ น ชำวบำ้ นจะนำส่ิงปฏกิ ูล ไปทิ้งนอกบำ้ นบำงแห่ง จะทำบญุ ซำฮะในเดือนสำม โดยเลือกวนั ข้ึน ๑๔- ๑๕ ค่ำ เดือนแปด บุญเขำ้ พรรษำ ซ่ึงเป็ นพิธีที่ให้พระภิกษุ และสำมเณรอยปู่ ระจำที่วดั แห่งใดแห่งหน่ึงตลอดสำมเดือน คือเริ่มต้งั แต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึง ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ทำบญุ เขำ้ พรรษำถือเอำวนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ หรือวนั อำสำฬหบูชำโดยชำวบำ้ นจะ ถวำยภตั ตำหำรเช้ำและภตั ตำหำรเพล พร้อมท้งั เคร่ืองใช้ต่ำงๆ ที่จำเป็ นตลอดท้งั ๓ เดือน แด่พระสงฆ์ ไดแ้ ก่ ไตรจีวร ยำรักษำโรค เทียน ตะเกียง น้ำมนั นอกจำกน้นั ยงั มี กำรถวำยตน้ เทียน บำงทอ้ งที่นำข้ีผ้งึ มำหล่อเป็ น ตน้ เทียนขนำดใหญ่ ประดบั ตกแต่ง ลวดลำยท่สี วยงำม แลว้ แห่ไปถวำยพระ ท่ีวดั อำจจะมีกำรถวำยผำ้ อำบน้ำฝนหรือปัจจยั ดว้ ย หลงั จำกน้นั พระสงฆจ์ ะเทศนำ ๑ กณั ฑ์ จงั หวดั อำนำจเจริญ ไดจ้ ดั ประเพณี ไหว้ พระ ๙ วดั เสริมอำนำจบำรมีที่อำนำจเจริญ เดือนเก้ำ บุญขำ้ วประดบั ดิน เป็ นกำรทำบุญเพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้แก่เปรต หรือ ญำตมิ ิตร ทลี่ ่วงลบั ไปแลว้ ขำ้ วประดบั ดิน คือ ขำ้ วและอำหำรหวำนคำว หมำกพลู และ บุหร่ี ชำวบำ้ นจะนำส่ิงของดงั กล่ำวใส่กระทงแลว้ นำไปวำงตำมท่ีตำ่ งๆ ในเขต ลำนวดั เช่น ตำมร้ัว ตน้ ไม้ หรือตำมพ้ืนดิน กำรทำบุญขำ้ วประดบั ดินจะจดั ข้ึนในวนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ โดยชำวบำ้ นจะลุกข้ึนแต่เช้ำมืดประมำณ ๓ – ๕ นำฬิกำ แลว้ นำกระทงขำ้ ว ประดบั ดินไปวำงไวต้ ำมที่เห็นว่ำสมควร เม่ือวำงกระทงเสร็จแลว้ จะจุดธูปเทียนบอก

กล่ำวให้เปรตหรือผูล้ ่ำงลบั ไปแลว้ มำรับส่วนบุญ กำรนำกระทงไปวำงที่ต่ำงๆตอ้ งทำ ให้เสร็จก่อนรุ่งเชำ้ เพรำะเช่ือวำ่ เปรตจะท่องเท่ียวเฉพำะเวลำกลำงคืนเท่ำน้ัน เม่ือถึง เวลำรุ่งเชำ้ ก็จะทำบุญตกั บำตร ถวำยภตั ตำหำรเช้ำแด่พระสงฆส์ มำทำนศีล ฟังเทศน์ และกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลไปให้ผลู้ ่วงลบั เดือนสิบ บญุ ขำ้ วสำก ขำ้ วสำก คอื สลำกภตั เป็นกำรถวำยภตั ตำหำรแด่พระสงฆ์ โดยวธิ ี จบั สลำก เป็นกำรทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผูต้ ำย ซ่ึงเคยเป็นญำติผูร้ ักใคร่ นบั ถือ โดยจะจดั งำนข้ึนในวนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ตอนเชำ้ มืดของวนั งำนชำวบำ้ นจะ เตรียมอำหำรที่จะทำเป็ นสลำกภตั แลว้ นำอำหำรอีกส่วนหน่ึงไปถวำยพระและสำมเณร พอใกลเ้ วลำเพลจึงนำอำหำรที่เตรียมไวส้ ำหรับทำเป็ นสลำกภตั ไปวดั ชำวบำ้ นจะนำ สลำกที่มีชื่อพระสงฆ์และสำมเณร ไปถวำยพระสงฆ์หรือสำมเณรรูปน้ัน นำข้ำว สลำกภตั ไปวำงไวต้ ำมบริเวณวดั แลว้ จุดธูปเทียนบอกกล่ำวให้ญำติมิตรที่ล่วงลับไป แลว้ มำรับอำหำร และผลบญุ ท่ีอุทิศไปให้ มีกำรฟังเทศน์และกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ ผทู้ ่ลี ่วงลบั ไปแลว้ ต่อจำกน้นั ชำวบำ้ นจะนำอำหำรไปเล้ียงผตี ำแฮก ณ ท่ีนำของตน เดือนสิบเอด็ บุญออกพรรษำ ชำวบำ้ นจะจดั งำนในวนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ตอน เชำ้ มีกำรตกั บำตรหรือตกั บำตรเทโว ถวำยภตั ตำหำรเชำ้ แด่พระภกิ ษุสำมเณร บำงทอ้ งที่ มีกำรกวนขำ้ วทิพยถ์ วำยเป็ นพิเศษ มีกำรรับศีล ฟังเทศน์ ตอนค่ำมีกำรจุดประทีปโคม ไฟในบริเวณวดั และหนำ้ บำ้ น ในชนบทจะเอำรวงขำ้ วที่เพ่งิ ผลิ เรียกวำ่ “ขำ้ วน้ำนม” ทำ เป็นดอกไมบ้ ูชำ กลำงคืน มีมหรสพ ทอ้ งถ่ินที่อยใู่ กลแ้ ม่น้ำ เช่น อำเภอชำนุมำน จะจดั ใหม้ ีกำรแขง่ เรือ ชำวบำ้ นนิยมเรียกวำ่ กำรส่วงเฮือ นอกจำกน้ีประชำชนจำกสำธำรณรัฐ ประชำธิปไตยประชำชนลำวนิยมมำร่วมแข่งเรือในช่วงเวลำดงั กล่ำวดว้ ย เดือนสิบสอง บุญกฐิน กำรทำบุญกฐิน คือกำรถวำยผำ้ ไตรจีวรแด่พระสงฆท์ ่ี ผำ่ นกำรจำพรรษำแลว้ มีระยะเวลำกฐิน หรือกรำนกฐิน ต้งั แต่วนั แรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ ถึง วนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ในกำรทำบุญกฐินน้ันเจำ้ ภำพจะตอ้ งจองวดั และกำหนดวดั ทอดกฐินไวล้ ่วงหน้ำต้งั แต่ช่วงเวลำเขำ้ พรรษำ พร้อมท้งั เตรียมผำ้ ไตรจีวร อฐั บริขำร อื่นๆ และเคร่ืองไทยทำน เจำ้ ภำพจะแจง้ ข่ำวกำรทำบุญกฐินให้ญำตมิ ิตรทรำบ กลำงคืน

ก่อนวนั ทอดกฐินจะมีมหรสพฉลององคก์ ฐินอยำ่ งสนุกสนำน วนั รุ่งข้ึนก็แห่องคก์ ฐิน ไปวดั แห่เวยี นประทกั ษิณหรือเวยี นขวำรอบโบสถ์ สำมรอบ แลว้ จงึ ทำพธิ ีถวำยผำ้ กฐิน พร้อมท้งั บริวำรแด่พระสงฆ์ พธิ ีกรรมท้องถ่ินอำนำจเจริญ หนังปรำโมทยั คณะนำ้ ปลกี บันเทงิ ศิลป์ บ้ำนดงบัง ตำบลนำ้ ปลีก อำเภอเมือง จังหวดั อำนำจเจริญ ศิลปะกำรแสดง “หนงั ปรำโมทยั ” ของจงั หวดั อำนำจเจริญและจงั หวดั อื่นท่ีอยู่ ใกล้เคียงนิยมเรียกว่ำ “หนังปลดั ต้ือ” หรือ “หนังบกั ต้ือ”เพรำะหัวหน้ำทีมตลกเป็ น ทหำรของฝ่ ำยยกั ษ์ ท่ีเป็ นตวั เด่นพำสนุก คือ ปลัดต้ือ ปลดั ต้ือมีเพ่ือนและลูกน้องอยู่ หลำยคน เช่น แกว้ แหมบ ป่ อง เปื อย ยอดทอง เป็ นตน้ สันนิษฐำนวำ่ หนงั ปรำโมทยั นำมำจำก หนงั ตะลุงของภำคใต้ เพรำะว่ำรูปร่ำงลกั ษณะ ของปลดั ต้ือคลำ้ ยกนั กบั เท่ง หัวหนำ้ ทมี ตลกของหนงั ตะลุงภำคใต้ อุปกรณใ์ นกำรแสดงกค็ ลำ้ ยกนั มำก ปรำโมทยั มำจำกคำวำ่ ปรำโมทย์ แปลว่ำ ยนิ ดี ปล้ืมใจ ควำมบนั เทิงใจ แต่คน ส่วนมำกนิยมเรียกวำ่ หนงั ประโมทยั ไม่อำจทรำบไดว้ ำ่ หนงั ปรำโมทยั นำมำจำกหนัง ตะลุงของภำคใต้ เม่ือ พ.ศ. ใด แตพ่ อสอบถำมจำกผเู้ ฒำ่ ผแู้ ก่และปรมำจำรย์ ผู้ เล่นหนงั ปรำโมทยั ไดข้ อ้ มูล จำก พ.ศ. 2480 เป็นตน้ มำ ซ่ึงเป็นทมี่ ำของหนงั ปรำโมทยั คณะน้ำปลีกบนั เทงิ ศลิ ป์

กำรแสดงหนงั ปรำโมทยั ของคณะน้ำปลีกบนั เทิงศิลป์ มีตน้ กำเนิดมำจำก นำยคำ โพธิจนั ทร์ บำ้ นน้ำปลีก ตำบลน้ำปลีก อำเภอเมือง จงั หวดั อำนำจเจริญ ไดเ้ ขำ้ ไปร่วม แสดงในทีมปรำโมทยั คณะอำจำรยส์ มหมำย บำ้ นโนนแคน อำเภอหัวตะพำน จงั หวดั อำนำจเจริญ และมี นำยทองหลำย ขนั ติโคตร ซ่ึงช่วง พ.ศ. ๒๔๘๐ น้นั นำยทองหลำง ยงั เป็ นเด็ก เป็ นผูต้ ิดตำมและไดฝ้ ึ กเล่นหนังไปด้วย พ.ศ. ๒๔๙๒ ก็สำมำรถเล่นได้ ชำนำญ ในช่วงน้นั ยงั ไม่มีภำพยนตร์มำแสดงในชนบทในงำนประเพณีต่ำงๆ คงจะมีแต่ หมอลำคู่ หมอลำกลอนและหนงั ปรำโมทยั เทำ่ ทใี่ ห้ควำมบนั เทงิ หนงั ปรำโมทยั ไดร้ ับ ควำมนิยมมำกพอพอกนั กบั หมอลำ หนงั ปรำโมทยั มีกำรแสดงอยู่ 2 เร่ือง คือ ๑. หนังปรำโมทยั ร้อง เร่ือง รำมเกียรต์ิ ซ่ึงมีบทพำกย์ บทร้อง บทเจรจำ ตำมตน้ ฉบบั โดยยอ่ ตดั ตอนมำจำก ฉบบั หอสมุดแห่งชำติท่ีพระบำทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้ำ นภำลยั ทรงนิพนธไ์ วเ้ ริ่ม แสดงจำกตอนพระรำมออกบวช เดิมแสดงโดยคณะอำจำรย์ คำหมำย บำ้ นโนนแคน อำเภอหัวตะพำน ๒.หนงั ปรำโมทยั ลำ เร่ือง จำปำสี่ตน้ (ส่ีกมุ ำร) ซ่ึงมีบทพำกย์ บทร้อง บทเจรจำ เป็น กลอนลำ ตำมแบบของหมอลำเร่ือง เดิมแสดงโดย คณะบำ้ นอีเป๋ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ นำยธงชัย งอกงำม ไดพ้ ำทีมงำนชำวบำ้ นดงบัง ตำบลน้ำปลีก อำเภอเมือง จงั หวดั อำนำจเจริญ ไดฟ้ ้ื นฟูกำรแสดงหนงั ปรำโมทยั ข้นึ โดยใชช้ ่ือคณะวำ่ “๔๐ ดีกรี” ปรำกฎ วำ่ มีผวู้ ำ่ จำ้ งไปแสดงในงำนพอสมควร เพรำะไม่ไดด้ ูมำนำนในระยะน้ัน คงมีเทศบำล เมืองอุบลรำชธำนี อนุรักษห์ นงั ปรำโมทยั โดยให้คณะ ฟ. บนั เทงิ แสดงในงำนปี ใหม่ ณ ทุ่งศรีเมืองทุกปี คณะ ๔๐ ดีกรีไดร้ ับกำรถ่ำยทอดวิชำศิลปะกำรแสดงจำกอำจำรย์ ผำด บำ้ นโต่งโตน้ อำเภอหัวตะพำน ซ่ึงท่ำนเป็ นผหู้ น่ึงที่สังกดั ทีมงำนปรำโมทยั คณะ อำจำรยค์ ำหมำย บำ้ นโนนแคน และอำจำรยธ์ งชยั งอกงำม ไดน้ ำเอำประสบกำรณ์ท่ีได้ ชมจำกคณะ ฟ.บนั เทิง ทีอ่ ุบลฯมำประยกุ ตใ์ ชแ้ สดงดว้ ย ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๔๙) ได้รับกำรส่งเสริม อนุรักษ์ ฟ้ื นฟู จำก สำนักงำน คณะกรรมกำรวฒั นธรรมแห่งชำติ โดย สภำวฒั นธรรมจังหวดั อำนำจเจริญ และ สำนักงำนวฒั นธรรมจังหวดั อำนำจเจริญ จัดเก็บงำนศิลปะกำรแสดงที่สำคญั ของ

จงั หวดั ผนู้ ำในกำรอนุรักษ์ ฟ้ื นฟู คอื นำยธงชยั งอกงำม ประธำนศนู ยว์ ฒั นธรรมตำบล น้ำปลีก โดยมีคณะผแู้ สดงหนงั ปรำโมทยั ประกอบดว้ ย ๑.นำยทองหลำง ขนั ตโิ คตร หัวหนำ้ คณะ พำกย/์ เชิด ๒. นำยสมหมำย ดอกสะบำ พำกย/์ เชิด ๓. นำยธงชยั งอกงำม พำกย/์ เชิด ๔.นำยบุน่ ดอกสะบำ ระนำด ๕. นำยฤทธ์ิ อุดมลำภ ระนำด/แคน ๖.นำยวจิ ติ ร ดอกไม้ ระนำด/ฉ่ิง/ฉำบ/พิณโบรำณ ๗. นำยศริ ิ งอกงำม กลอง ๘.นำยอุทิศ สันตะวงศ์ พณิ ประยกุ ต์ ๙.นำยทวี ดอกสะบำ เชิด/ช่วยกลอง ควำมสำคญั ของ หนังปรำโมทัย ๑. หนังปรำโมทยั เป็ นคุณค่ำแห่งศิลป์ กำรแสดงพ้ืนบำ้ นท่ีเก่ำแก่ดว้ ยศิลป์ ลำยไทยมี ควำมสำคญั ตอ่ มรดกชำติ ๒. กำรแสดงหนงั ปรำโมทยั สำมำรถแสดงประยุกต์ เร่ืองคุณธรรม สิ่งดีงำม ปลูกฝัง คุณงำมควำมดีให้กบั ผชู้ มไดท้ กุ ระดบั ๓. หนังปรำโมทยั เป็ นศิลป์ กำรแสดงน้ีมีคุณค่ำสมควรไดร้ ับกำรอนุรักษ์และถ่ำยทอด ไวใ้ ห้บุตรหลำน ยวุ ชนรุ่นหลงั ไดศ้ กึ ษำและสืบทอดไวไ้ ม่สูญหำยไป

กำรเส็งกลองก่งิ อำเภอปทมุ รำชวงศำ จังหวัดอำนำจเจริญ กำรเส็งกลองกิ่ง เป็ นกำรละเล่นพ้ืนบำ้ น ในพ้ืนที่อำเภอปทุมรำชวงศำ อำเภอ พนำ และ อำเภอเมือง กลุ่มใหญ่อำศยั ในอำเภอปทุมรำชวงศำ มีผลู้ ะเล่นในหมู่บำ้ นนำ หวำ้ บำ้ นโคกพระ กลองกิ่ง หรือ กลองเส็ง เป็นกลองประเพณี มำแตโ่ บรำณ เป็นกลองท่ีใชใ้ นกำร จดั งำนประเพณี เทศกำลต่ำงๆ เช่น บุญผะเหวด บุญบ้งั ไฟ บุญแข่งเรือ ซ่ึงในลกั ษณะ กำรนำไปใชใ้ นงำนประเพณีต่ำงๆ จะแตกต่ำงกนั ไปตำมวตั ถุประสงคข์ องประเพณีน้นั แต่ท่ีเหมือนกนั คือ กลองกิ่ง เป็ นกลองที่ใช้ในกำรแข่งขนั ควำมดงั เรียกว่ำ กำรเส็ง กลอง สมยั ก่อน กำรทำกิจกรรม หรือประเพณีจะนิยมจดั อยใู่ นวดั จะเห็นวำ่ วดั เป็นศูนย์ รวมจิตใจของคนในหมู่บำ้ น ลูกหลำนจะตำมผใู้ หญ่เขำ้ วดั เพื่อเรียนรู้ในกำรปฏิบัติดี ปฏิบตั ิชอบ และกำรทำกลองก่ิง ก็อยู่ในวดั เช่นกนั ซ่ึงในแต่ละวดั จะมีกำรทำกลอง ประเภทต่ำงๆ ไวเ้ พือ่ ใชเ้ ป็นกำรส่งสัญญำณ เพรำะกลองมีเสียงดงั ทำให้คนในหมู่บำ้ น ไดย้ นิ และรับรู้วำ่ เป็นสัญญำณบอกเร่ืองรำวตำมท่ชี ำวบำ้ นตกลงกนั เช่น ถำ้ ตีกลองเพล จะใชต้ เี พ่อื บอกเวลำ โดยมีลกั ษณะกำรตีเสียง ส้ัน ยำว แลว้ แต่ศลิ ปะกำรตกี ลองของแต่ ละท้องถ่ิน กลองกิ่ง มักนิยมตีเพื่อบอกสัญญำณว่ำ ให้มำรวมกัน เน่ืองจำกเกิด เหตุกำรณ์ไม่ปกติ หรือ ตอ้ งกำรควำมร่วมมือ โดยสถำนท่ีรวมกนั คือท่ีวดั เหมือนกบั ทำงภำคเหนือทมี่ ีกลองสะบดั ชยั นนั่ เอง

วดั หน่ึงจะมีกลองกิ่งเพียงหน่ึงคู่ เพื่อใช้ในงำน และเม่ือมีประเพณี หรืองำน พิธีกรรม จะนำออกมำใช้ ไม่นิยมเก็บไวท้ ี่บำ้ น เพรำะถือว่ำเป็ นกลองของหมู่บำ้ นกำร เส็งกลอง หรือกำรแขง่ ขนั ตีกลองกิ่ง จะจดั ข้นึ เมื่อมีงำนประเพณี โดยจะนิยมแขง่ กนั ใน บุญเดือนหก คือ บุญบ้งั ไฟ เชื่อกนั วำ่ เสียงของกลอง จะดงั ไปถึงพญำแถน จะทำกำร แขง่ ในวนั โฮม (วนั รวมกนั รื่นเริง) ก่อนวนั จุดหน่ึงวนั ตำมควำมเช่ือท่ีวำ่ เมื่อพญำแถน ไดย้ นิ เสียงกลองกิ่ง เป็ นสัญญำณให้เตรียมกำรสำหรับปล่อยน้ำฝนลงมำ เพ่ือจะไดน้ ้ำ ทำนำ เม่ือจะทำกำรเส็งกลอง ชำวบำ้ นจะทำกำรคัดเลือกชำยฉกรรจ์ในหมู่บ้ำนท่ี แข็งแรงท่ีสุดเพื่อเป็ นผูต้ ีกลองกิ่ง เพรำะกำรเส็งกลองน้ีนิยมแข่งกันหลำยหมู่บ้ำน เพรำะบำ้ นหน่ึงจะมีกลองกิ่งเพียงคูเ่ ดียวทเ่ี ก็บไวท้ ่ีวดั เทำ่ น้นั ปัจจยั สำคญั ที่ทำให้กลอง มีเสียงดงั ๓ ประกำรคือ ๑) บ้งั หรือไมต้ วั กลอง ถำ้ เป็ นไมเ้ น้ือแขง็ จะมีเสียงดงั ดีมำก ๒) หนงั หุม้ กลอง จะตอ้ งเลือกหนงั ที่ดี เหนียว ทนทำน ไม่ขำดง่ำย ๓) คนตี ถำ้ คุณภำพ ของกลองดีเท่ำกนั จะวดั กนั ที่ควำมแขง็ แรงของคนตี ในกำรตดั สินกำรแขง่ ขนั ดีกลอง กิ่งน้ี เดิม พระครูปริยตั ิวฒั นำนุกูล วดั อำนำจเจริญ ไดเ้ ล่ำให้ฟังว่ำ เมื่อมีกำรแข่งกลอง กิ่งน้ี จะแข่งในเวลำ ๕ โมงเย็น ถึง สองทุ่ม จะประกอบคู่กลองกันก่อน โดย คณะกรรมกำรตดั สิน ประมำณ ๕ คน นั่งฟังเสียง ระยะห่ำงจำกกลอง ในระนำบ เดียวกนั บำงแห่งจะใชเ้ ทียนเป็ นตวั ตดั สิน โดยจดุ เทียนต้งั ไวใ้ กลก้ บั รูแพ กลองก่ิงหน่ึง ใบจะมีรูแพเพียงหน่ึงรู เพ่ือใช้ในกำรเก็บรักษำกลอง และใช้ตดั สินดว้ ยวิธีน้ี นน่ั คือถำ้ กลองใครเสียงดงั จะทำให้เทียนดบั ถำ้ เทียนใครดบั ก่อนจะเป็ นผชู้ นะ ประโยชน์ของ กำรเส็งกลอง แต่โบรำณถือเป็นกำรออกกำลงั กำยของผชู้ ำย แสดงออกถึงควำมแขง็ แรง เตรียมควำมพร้อมก่อนกำรทำนำ กำรทำกลองกิ่งจึงเป็ นศิลปะทำงงำนช่ำงฝีมืออย่ำง หน่ึง ที่จะทำให้หมู่บำ้ น เป็นทีร่ ู้จกั วำ่ มีควำมสำมคั คี มีชำยแขง็ แรง มีวดั เป็นศูนยร์ วมใจ

วถิ ชี ีวิตชนเผ่ำภูไท บ้ำนคำเดือย ตำบลคำเขื่อนแก้ว อำเภอชำนุมำน ชำวภูไท บำ้ นคำเดือย ตำบลคำเขื่อนแกว้ อำเภอชำนุมำน จงั หวดั อำนำจเจริญ เป็นชำวลำว ที่อพยพมำจำกเมืองเซโปนในสำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว มำ ต้งั ถ่ินฐำนในประเทศไทยหลงั จำกเกิดกบฏเจำ้ อนุวงศ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๓ ตำมพระดำริ ของสมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ และนโยบำยของเจำ้ พระยำบดินทรเดชำ (สิงห์ สิงหเสนี) โดยให้เจำ้ นำยพ้ืนเมืองเกล้ียกล่อมบ่ำวไพร่ของตนเองให้อพยพมำต้งั บำ้ นเมืองทำงฝ่ังขวำแม่น้ำโขงในอำณำเขตประเทศไทย เพื่อลดขนำดของกองกำลงั หัว เมืองข้ึนท่ีลอบซุ่มโจมตีกองทพั ไทย เมื่อคร้ังกองทพั ไทยยกไปขบั ไล่กองทพั ญวณให้ ออกไปจำกอำณำเขตประเทศไทย ชำวลำวที่อพยพมำต้งั บำ้ นเมืองตำมนโยบำยดงั กล่ำว ไดม้ ำต้งั เขตบำ้ นเรือนในเขตจงั หวดั อำนำจเจริญ ที่อำเภอเสนำงคนิคม และอำเภอชำนุ มำน ร่วมสมยั กบั ชำวภูไทยในจงั หวดั อ่ืนๆ เช่น จงั หวดั สกลนคร นครพนม มุกดำหำร เป็ นตน้ ชำวลำวดงั กล่ำวเป็ นชนเผ่ำภูไท มีภำษำใช้เฉพำะเผ่ำ คือ ภำษำภูไท เป็ นภำษำ พดู ไม่ปรำกฏวำ่ มีลำยลกั ษณ์อกั ษร กลุ่มภไู ทดงั กล่ำวใช้ภำษำภไู ทส่ือสำรกนั ตลอดมำ แต่สำเนียงอำจจะแตกต่ำงกันบ้ำงตำมสภำพท้องถ่ินและสิ่งแวดล้อม ในจังหวดั อำนำจเจริญ มีหลำยหมู่บำ้ นที่ใช้ภำษำภูไทในกำรสื่อสำรประจำวนั ไดแ้ ก่ บำ้ นนำ สะอำด อำเภอเสนำงคนิคม และ อำเภอชำนุมำน บำ้ นคำเดือย บำ้ นเหล่ำแกว้ แมง บำ้ น

สงยำง ตำบลคำเขือ่ นแกว้ บำ้ นโนนกงุ บำ้ นหินส่ิว ตำบลชำนุมำน บำ้ นหินกอง บำ้ นบ่งุ เขียว บำ้ นนำงำม บำ้ นโคกก่ง บำ้ นพทุ ธรักษำ ตำบลโคกก่ง วัฒนธรรมประเพณีทส่ี ำคญั ของชำวภูไท กำรแตง่ กำย หญิงชำวภไู ท จะนิยมแตง่ กำยดว้ ยผำ้ ฝ้ำยยอ้ มครำม ซิ่นต่อตนี ผำ้ จก คำดผำ้ สไบสีขำว ชำยชำวภไู ท ใส่สะโหร่ง เส้ือผำ้ ฝ้ำยยอ้ มครำม วถิ ชี ีวิตและควำมเชื่อ ชำวภูไท มีวิถีชีวิตในกำรดำเนินชีวิตท่ีเรียบง่ำย มีควำมพอเพียง หญิงชำวภูไท จะทำงำนบำ้ น ปลูกผกั เล้ียงสัตว์ และมีเอกลกั ษณ์ในกำรทอผำ้ ไวใ้ ช้เอง ส่วนชำยภไู ท จะเป็นผนู้ ำในกำรหำเล้ียงครอบครัว ล่ำสัตว์ จดั ทำเคร่ืองมือ เครื่องใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ประเภทจกั สำน โดยใช้วสั ดุจำกธรรมชำติเช่น ไมไ้ ผ่ ข้ีซี เป็ นตน้ ปัจจุบนั น้ีชำวภูไท ยงั คงรักษำขนบธรรมเนียมประเพณีสืบต่อกนั มำ เห็นเด่นชัดในชำวผูไ้ ทที่มีอำยุ ส่วน วยั รุ่น มีกำรเปล่ียนแปลงตำมโลกยคุ โลกำภวิ ฒั น์ ควำมเช่ือของชำวภูไท จะเชื่อภูติ ผี บรรพบุรุษ สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ ตำมธรรมชำติ มี พิธีกรรมที่เกี่ยวกบั ควำมเชื่อ เช่น พิธีกรรม รำผไี ท้ พธิ ีกรรมกินหมูลำ้ งดิน เป็นตน้ และ ปัจจุบนั ส่วนมำกมีกำรนบั ถือศำสนำพุทธ และบำงส่วนนบั ถือศำสนำคริสต์ ผนู้ ำทชี่ ำว ภูไทให้ควำมเคำรพ เช่ือถือ คือ นำยสำเม็ง ปักขีพนั ธ์ บำ้ นคำเดือย ตำบลคำเขื่อนแกว้ อำเภอชำนุมำน จงั หวดั อำนำจเจริญ

พธิ ีกรรม รำผไี ท้ บ้ำนป่ ำก่อ ตำบลป่ ำก่อ อำเภอชำนุมำน จังหวัดอำนำจเจริญ บำ้ นป่ ำก่อเป็ นบำ้ นด้งั เดิมของตำบลป่ ำก่อ สนั นิษฐำนวำ่ เป็นกำรต้งั ช่ือหมู่บำ้ น ตำมชื่อของต้นไม้ชนิดหน่ึงคือ ต้น “ก่อ” ซ่ึงเป็ นต้นไม้ป่ ำเมล็ดสำมำรถนำมำ รับประทำนได้ เดิมบริเวณที่ก่อต้งั หมู่บำ้ นเป็ นพ้ืนท่ีป่ ำไม้ ชำวบำ้ นไดแ้ ผว้ ถำง ต้งั เป็ น ชุมชน และต่อมำอำเภอได้ประกำศจดั ต้งั เป็ นหมู่บำ้ น ข้ึนตรงต่อตำบลโคกก่ง ในปี พ.ศ. 2507 เกิดเหตุกำรณ์ทำงกำรเมือง มีกำรเผยแพร่ลทั ธิคอมมิวนิสต์ โดยมีชำวบำ้ น ส่วนหน่ึงเขำ้ ไปร่วมขบวนกำรด้วย เพรำะสภำพภูมิประทศ ทำเลสถำนที่ต้งั ของ หมู่บำ้ นเอ้ืออำนวย ต่อทำงรำชกำรไดเ้ ขำ้ ปรำบปรำม ทำให้ชำวบำ้ นบำงส่วนหนีเขำ้ ป่ ำ เพื่อเขำ้ ร่วมขบวนกำรคอมมิวนิสต์ ส่วนที่เหลือทำงรำชกำรไดย้ ำ้ ยให้ไปอยนู่ ิคมสร้ำง ตนเองเข่ือนลำน้ำพอง จงั หวดั ขอนแก่น และต่อมำในปี 2510 ชำวบำ้ นไดข้ อยำ้ ยกลบั โดยทำงรำชกำรไดจ้ ดั ที่อยอู่ ำศยั ให้ท่ีบำ้ นหนองไฮน้อย ตำบลหนองข่ำ ซ่ึงอยไู่ ม่ไกล จำกหมู่บำ้ นเดิมมำกนัก และในปี 2516 ชำวบำ้ นไดอ้ พยพกลบั เขำ้ มำยงั หมู่บำ้ นเดิมอีก คร้ัง และได้เขำ้ ร่วมขบวนกำรคอมมิวนิสตอ์ ีก ทำงรำชกำรจึงได้ทำกำรปรำบปรำม อย่ำงหนัก ถึงขนำดเผำบ้ำนเรื อน ย่ิงทำให้ชำวบ้ำนหนีเข้ำป่ ำ ร่ วมขบวนกำร คอมมิวนิสตม์ ำกยงิ่ ข้ึน ในปี 2519 ทำงรำชกำรจึงไดอ้ พยพประชำชนไปอยทู่ ี่อื่น โดย จดั ทที่ ำมำหำกิน และสร้ำงบำ้ นเรือนใหช้ วั่ ครำว ต่อมำในปี 2525 ชำวบำ้ นจึงขออพยพ กลบั มำอยทู่ ่เี ดิมอีกคร้ัง เนื่องจำกรัฐบำลไดเ้ ปล่ียนแนวนโยบำยกำรปรำบปรำม และให้

รำษฎร์ออกมำมอบตวั ต่อมำในปี พ.ศ. 2527 ทำงรำชกำรไดป้ ระกำศจดั ต้งั เป็ นหมู่บำ้ น และข้ึนอยใู่ นกำรปกครองของตำบลโคกก่ง อำเภอชำนุมำน จงั หวดั อุบลรำชธำนี และ ในปี พ.ศ. 2536 ไดร้ วบรวมรำษฎร์ในหมู่บำ้ นใกลเ้ คียงกนั ต้งั เป็นตำบลป่ ำก่อ โดยแยก จำกตำบลโคกก่ง จนถึงปัจจบุ นั โดยใชช้ ่ือตำบล จำกบำ้ นป่ ำก่อ ซ่ึงเป็นหมู่บำ้ นด้งั เดิม ปัจจุบนั บำ้ นป่ ำก่อ หมู่ที่ 1 มีพ้นื ที่ 8.42 ตำรำงกิโลเมตร มีประชำกรท้งั ส้ิน จำนวน 887 คน กลุ่มประชำกรท่ีมีจำนวนมำกท่ีสุด คือ ประชำกรช่วงอำยุ 18-49 ปี (461 คน) รองลงมำคือ ประชำกรกลุ่มเดก็ และเยำวชนช่วงอำยรุ ะหวำ่ ง 1 ปี – 17 ปี ประชำกรท่ีมี น้อยที่สุดคือ กลุ่มผูส้ ูงอำยุ มีจำนวน 147 คน ผูค้ นที่อพยพมำจำกหลำยถิ่นฐำน เป็ น ผูค้ นซ่ึงเคยถูกรัฐบำลกวำดลำ้ งในอดีต และอพยพกลบั มำต้งั ถ่ินฐำนใหม่อีกคร้ัง ที่ทำ กินส่วนมำกเป็นท่ีซ่ึงทำงรำชกำรจดั สรรให้ ดงั น้นั หมู่บำ้ นแห่งน้ีจึงเป็นหมู่บำ้ นของคน ต่ำงถิ่น ตำ่ งวฒั นธรรม ตำ่ งอำชีพ อพยพเขำ้ มำอยรู่ วมกนั ชนเผำ่ ภไู ท ทีบ่ ำ้ นป่ ำก่อหมู่ท่ี 1 เป็นชนเผำ่ ด้งั เดิมของชำวบำ้ นป่ ำก่อ ซ่ึงเป็นชน เผำ่ ท่อี พยพมำอยบู่ ำ้ นป่ ำก่อ ต้งั แต่ก่อนเริ่มต้งั เป็นหมู่บำ้ น ปัจจบุ นั บริเวณท่ีเคยเป็ นบำ้ น ด้ังเดิมไดก้ ลำยเป็ นหมู่บำ้ นร้ำง ไม่มีผูค้ นอำศยั อยู่ ชำวบำ้ นเรียกว่ำ “ บำ้ นร้ำงบ้ำน ระนอง ” ประเพณีกำรรำผไี ท้ เป็ นประเพณีที่ชนเผ่ำภูไทบำ้ นป่ ำก่อพยำยำมรวมกลุ่มกัน สืบทอดไวใ้ ห้ลูกหลำนในชุมชน ทุกปี เมื่อถึงระยะเวลำกำรประกอบพิธีจะมีชำวบำ้ น จำกทกุ หมู่บำ้ นในตำบลป่ ำก่อ หมู่บำ้ นละ 10 - 15 คน จะมำร่วมกนั ประกอบพธิ ีท่ีบำ้ น ป่ ำก่อ หมู่ที่ 1 ซ่ึงเป็นหมู่บำ้ นท่มี ีชนเผำ่ ภไู ท อำศยั อยมู่ ำกท่ีสุด และมีผนู้ ำทำงพิธีกรรม เรียกวำ่ “แม่ครู” ซ่ึงเป็นที่เช่ือถือของชำวบำ้ นอำศยั อยใู่ นหมู่บำ้ นแห่งน้ี เดิมเม่ือถึงเวลำ ประกอบพิธีกรรม ชำวบำ้ นจะนำลูกหลำนและครอบครัว หรือนำผปู้ ่ วยในครอบครัว มำร่วมพิธีกรรมเพรำะเชื่อวำ่ “ผีไท”้ (ผีบรรพบุรุษหรือผีฟ้ำท่ีมีควำมศกั ด์ิสิทธ์ิเหนือ เทวดำ) จะช่วยคุม้ ครองป้องกนั ปกปักรักษำครอบครัว และชุมชนของตนให้อยเู่ ยน็ เป็ น สุข ปรำศจำกโรคภยั ไขเ้ จ็บ มีควำมเจริญรุ่งเรือง คนป่ วยก็จะหำยเจ็บป่ วย แต่ปัจจุบนั พบวำ่ ปัญหำทเ่ี กิดข้นึ คือ

1) จะมีเฉพำะคนแก่ (ผูส้ ูงอำยุเท่ำน้ัน) ที่ให้ควำมสำคญั และมำร่วมพิธีกรรม เยำวชนและคนรุ่นพ่อแม่เร่ิมไม่เช่ือถือจะมำเพียงยนื มองและดูกำรประกอบพิธีเพียงแค่ เห็นเป็ นเรื่องสนุกสนำนของคนแก่ เท่ำน้นั เพรำะในพิธีจะมีกำรร่ำยรำ (เมื่ออญั เชิญผี ไทล้ งสิงสู่ร่ำงกำยและจติ ใจ) 2) เครื่องดนตรีในพิธีกรรมคือ “แคน” และคนเป่ ำแคน “หมอแคน” ในพธิ ีกรรม ปัจจุบันหำคนเป่ ำแคนในพิธียำกมำกๆ บำงคร้ังต้องไปจ้ำง “หมอแคน” จำกท่ีอื่น เพรำะผูเ้ ป่ ำแคนตอ้ งเป็ นผมู้ ีศิลปะกำรเป่ ำช้ันสูง เป็ นเสียงแคนในพิธีกรรม “ซ่ึงตอ้ งมี ควำมไพเรำะ” สอดคล้องกับช่วงกำรทำพิธีกรรม ควำมไพเรำะน้ันตอ้ งศักด์ิสิทธ์ิ สำมำรถเรียกวญิ ญำณ สำมำรถบูชำผไี ทใ้ หไ้ ดย้ นิ และลงมำสิงสู่ ดูแลแตล่ ะครอบครัวท่ี มำร่วมพิธีกรรมได้ 3) กำรทำพิธีในปัจจุบนั ทำอย่ำงต่อเนื่องทุกปี ปี ละหน่ึงคร้ัง แต่ทำพอเป็ นพิธี เท่ำน้ัน รูปแบบบำงอย่ำงหำยไป เคร่ืองดนตรีหลำยชนิด ซ่ึงไม่ใช่เครื่องดนตรีใน พิธีกรรมเพ่ิมมำกข้ึน เช่น อิเล็กโทน กลอง เป็ นตน้ คุณค่ำของพิธีกรรมในอดีตจะทำ เพรำะเช่ือว่ำถำ้ เขำ้ พิธีกรรมและรับไทจ้ ะช่วยให้ลูกหลำนครอบครัวอยเู่ ยน็ เป็ นสุข มี สุขภำพดีไม่เจบ็ ป่ วย เพรำะถือวำ่ เป็นกำรไหวผ้ บี รรพบุรุษและเทวดำผดู้ ูแลรักษำเรำ ซ่ึง แต่ละครอบครัวก็จะมีผหี รือเทวดำที่มำรักษำคุม้ ครองแตกต่ำงกนั ไปในแต่ครอบครัว ท่ำรำต่ำงๆที่เกิดข้ึนในระหว่ำงเขำ้ พิธีกรรมจึงแตกต่ำงกนั ไป ซ่ึงในปัจจุบนั ลูกหลำน จะเห็นว่ำเป็ นเรื่องสนุกสนำนของคนแก่ ควำมเชื่อถือควำมศกั ด์ิสิทธ์ิ กำรเคำรพบรรพ บุรุษลดลง เด็ก เยำวชน ผู้ใหญ่หลำยคนมำร่วมพิธีกรรมเพียงแค่มำดูเพื่อควำม สนุกสนำนเท่ำน้ัน กำรให้ควำมสำคญั กับคุณค่ำของพิธีกรรม ไม่มีกำรสืบทอดให้ ควำมรู้กบั เด็ก เยำวชน แมแ้ ต่คนรุ่นพ่อแม่ บำงคนยงั ขำดควำมเคำรพนบั ถือ ขำดควำม เชื่อถือบรรพบุรุษเหมือนในอดีต

ประเพณีกำรแข่งเรือยำว จดั ข้ึนในรำวเดือน พฤศจิกำยน ของทุกปี ท่ีบริเวณหน้ำที่วำ่ กำรอำเภอชำนุมำน ซ่ึงติดกบั แม่น้ำโขง มีเรือจำกอำเภอดอนตำล จงั หวดั มุกดำหำร เรือจำกอำเภอเขมรำฐ จงั หวดั อุบลรำชธำนี และเรือจำก สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว มำร่วม แข่งขนั เพอื่ เป็นกำรเชื่อมสัมพนั ธไมตรี นอกจำกน้ีชำวอำนำจเจริญยงั ไดฟ้ ้ื นฟู ประเพณีลงช่วง ให้เป็ นประเพณีประจำ จงั หวดั กำรลงช่วงเป็ นกำรชุมนุมกนั ของหนุ่มสำว ฝ่ ำยสำวจะมีกิจกรรมทอผำ้ สำว ไหม ขณะเดียวกนั พวกหนุ่มๆ ก็มำร่วมสนุกโดยบรรเลงเพลงพ้ืนบำ้ นดว้ ยเคร่ืองดนตรี พ้ืนบำ้ น อำทิ แคน และพิณ

ท่พี กั จงั หวดั อำนำจเจริญ โรงแรมบ้ำนระเมยี รดำวบูตคิ เพลส [รำคำเริ่มตน้ 550 บำท] เที่ยวอำนำจเจริญให้เต็มที่แลว้ ค่อยแยกตวั จำกควำม วนุ่ วำยมำพกั สบำยนอนสูดอำกำศดี ๆ กบั ท่พี กั อำนำจเจริญในบรรยำกำศกลำงทุ่งนำ ที่ ตกแต่งห้องพกั สุดเก๋ในสไตล์อีสำนโมเดิร์น นอกจำกน้ีถำ้ ไปถูกช่วงเวลำอำจไดช้ ิมเม ล่อนสด ๆ ที่มำจำกฟำร์มของโรงแรมอีกดว้ ย ต้งั อยทู่ ี่ 151-153 หมู่ 18 (ต้งั อยใู่ นยำ่ นชำนเมือง สวนสำธำรณะม่ิงมงคล (2.3 กม.) • สวนม่ิงเมืองเฉลิมพระเกียรติ (2.6 กม.) • พุทธอุทยำนและพระมงคลมิ่งเมือง (4.8 กม.)) บงุ่ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ติดตอ่ 081 - 067 - 4149 , 045 - 989 – 706

โรงแรมฝ้ำยขดิ [รำคำเริ่มตน้ 850 บำท] โรงแรมอำนำจเจริญ พกั สบำยอยไู่ ม่ไกลจำกตวั เมือง หมดกงั วลเร่ืองกำรเดินทำงไปไดเ้ ลย รับรองว่ำนอนท่ีนี่สักคืนสองคืนก็สำมำรถแวะ เที่ยวอำนำจเจริญไดอ้ ยำ่ งสะดวก ส่วนห้องพกั ก็สะอำดน่ำนอน มีท้งั ห้องมำตรฐำนไป จนถึงหอ้ งสวตี ที่สำมำรถเลือกไดต้ ำมงบประมำณ ต้งั อยทู่ ี่ 449 อำนำจเจริญ หมู่ 12 ซอยสำรำญรำษฎร์ ถนนอรุณประเสริฐ (อยบู่ น ถนนอรุณประเสริฐ เล้ียวเขำ้ ซอยอำนำจเจริญ3 ขบั เขำ้ มำจะเจอซอยดำ้ นขวำมือให้เล้ียว เขำ้ ซอย ขบั ตรงมำจะเจอที่พกั ) บงุ่ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ติดต่อ 045 - 511 - 222

เรือนคำ [รำคำเริ่มตน้ 400 บำท] เท่ียวอำนำจเจริญให้สนุกสุดเหวีย่ งแลว้ ค่อยกลบั มำท้ิง ตวั ลงนอนบนเตียงนุ่ม ๆ ปรับเขำ้ โหมดพกั ผอ่ นนอนเก็บแรงกบั ที่พกั อำนำจเจริญสุด สบำยยำ่ นใจกลำงเมือง พร้อมสดช่ืนไปกบั สวนสวยและมุมนั่งเล่น รวมถึงฟิ ตเนสให้ ไดอ้ อกกำลงั กำยเรียกเหง่ือกนั อีกดว้ ย ต้งั อยทู่ ี่ 202 หมู่2 ตำบลบงุ่ อำเภอเมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศ ไทย บุง่ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ติดต่อ 082 - 348 - 8345 , 045 - 511 - 261

Route 202 hotel [รำคำเริ่มตน้ 550 บำท] นอนพกั เก็บแรงให้เตม็ อ่ิมก่อนออกเดินทำงเท่ียวต่อกบั ท่ีพกั อำนำจเจริญ ภำยในแต่ละห้องสะดวกสบำยน่ำนอนไม่แพโ้ รงแรมติดดำวเลยล่ะ ถึงแมจ้ ะตกแต่งแบบเรียบง่ำยแต่ก็ให้ควำมรู้สึกว่ำกำลงั พอดี ไม่มำกหรือน้อยเกินไป เพียงแคน่ ้ีกส็ ร้ำงควำมประทบั ใจใหก้ ำรมำเที่ยวอำนำจเจริญไดไ้ ม่ยำก ต้งั อยู่ที่ 226 หมู่15 ตำบลบุ่ง อำเภอเมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศไทย บ่งุ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ตดิ ต่อ 083 - 743 - 3355

โรงแรมคุ้ม 9 รีสอร์ท [รำคำเร่ิมตน้ 350 บำท] อีกหน่ึงโรงแรมอำนำจเจริญท่ีแนะนำรับรองไม่ผิดหวงั แน่นอน เหมำะสำหรับคนที่รักและอยำกใกลช้ ิดธรรมชำติกบั ห้องพกั กวำ้ งขวำงนอน สบำย อีกท้งั รอบ ๆ โรงแรมยงั รำยล้อมไปดว้ ยต้นไมแ้ ละดอกไม้ท่ีคอยสร้ำงควำม สวยงำมสบำยตำตลอดกำรเขำ้ พกั ต้งั อยู่ที่ 9 หมู่14 บุ่ง เมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศไทย บุ่ง , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ตดิ ต่อ 090 - 929 – 0809

สวนนำ้ นันทรัตน์ รีสอร์ท [รำคำเร่ิมตน้ 350 บำท] เจอท่ีพกั อำนำจเจริญน่ำนอนแบบน้ี บำงทีอำจต้อง เปลี่ยนใจอยู่ต่ออีกสักคืนสองคืน เพรำะบำ้ นพกั หลงั ขนำดกะทดั รัดมัดใจให้ใคร ๆ อยำกมำพกั ผอ่ น แถมรอบรีสอร์ตยงั ร่มร่ืนไปด้วยตน้ ไม้ใหญ่บวกกบั ควำมเงียบสงบ เพียงแค่น้ีกท็ ำให้กำรเท่ียวอำนำจเจริญเป็นทริปที่คุม้ ค่ำสุด ๆ ต้งั อยทู่ ี่ 127 หมู่ 8 ถนนชยำงกูร ตำบลบุ่ง อำเภอเมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศไทย บ่งุ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ติดต่อ 045 - 453 - 003

โรงแรมนครินทร์ [รำคำเริ่มตน้ 400 บำท] ท่ีพกั อำนำจเจริญเหมำะสำหรับนกั ท่องเท่ียวท่ีอยำกได้ ห้องพกั แบบเรียบง่ำย เดินทำงสะดวกอยไู่ ม่ไกลจำกตวั เมือง โดยภำยในห้องพกั ทำง โรงแรมจะใส่ใจเรื่องควำมสะอำด เพือ่ ใหล้ ูกคำ้ ไดพ้ กั ผอ่ นอยำ่ งเตม็ ท่ี พร้อมมีพนกั งำน คอยดูแลและบริกำรแบบเป็นกนั เอง ต้ังอยู่ท่ี 86/1 หมู่10 ตำบลบุ่ง อำเภอเมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศไทย บุ่ง , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ตดิ ต่อ 045 - 511 - 226

The Prince [รำคำเร่ิมต้น 350 บำท] ใครกำลังหำท่ีพกั อำนำจเจริญในบรรยำกำศร่มร่ืน ใกลช้ ิดธรรมชำติ ไม่ตอ้ งลงั เล เล้ียวรถมำแวะนอนที่น่ีไดเ้ ลยกบั ห้องพกั ท่ีรำยลอ้ มไป ดว้ ยสวนชวนสบำยตำพร้อมมุมโต๊ะเล็ก ๆ ให้ไดน้ ัง่ พกั ส่วนภำยในห้องก็กวำ้ งขวำง พร้อมแอร์เยน็ ฉ่ำและเตยี งนุ่ม ๆ ใหพ้ ุุ่ งตวั ลงนอน ต้งั อยทู่ ่ี 625 หมู่9 บุ่ง อำเภอเมืองอำนำจเจริญ อำนำจเจริญ 37000 ประเทศไทย บ่งุ , เมืองอำนำจเจริญ , อำนำจเจริญ เบอร์ติดต่อ 045 - 984 - 899


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook