Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-2-เรื่อง-การสังเคราะห์ด้วยแสง

หน่วยที่-2-เรื่อง-การสังเคราะห์ด้วยแสง

Published by kroosci, 2020-05-12 03:16:53

Description: หน่วยที่-2-เรื่อง-การสังเคราะห์ด้วยแสง

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช วิชาชวี วิทยาเพิม่ เตมิ 3 ว32243 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โดย นางอรทยั ศรสี ุทโธ โรงเรยี นหินดาดวทิ ยา อ.หว้ ยแถลง จ. นครราชสีมา สงั กัดองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดนครราชสีมา

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 2 เรยี นอะไรบา้ งน๊า @ การค้นคว้าที่เกีย่ วข้องกับการสงั เคราะหด์ ้วยแสง @ สารสีในปฏิกิรยิ าแสง @ กระบวนการถา่ ยทอดอิเล็คตรอน @ ปัจจัยในกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง @ การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3, C4และ CAM

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 3 @การค้นคว้าที่เกีย่ วขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง การคน้ คว้าทีเ่ กี่ยวข้องกบั การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 1. ฌอง แบบตสิ ท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Babtiste Van Helmomt) ดกู าร เจรญิ เติบโตของตน้ หลวิ ระยะเวลา 5 ปี ในกระถางท่ีมีฝาปิด สรุปผลวา่ นา้ หนกั ของตน้ หลวิ ท่ีเพ่มิ ขนึ้ จากนา้ เท่านนั้ 2. โจเซฟ พริสตล์ ยี ์ (Joseph Priestley) ทดสอบการมีชีวิตรอดของหนแู ละการติดไฟ ของเทียนในพืน้ ท่ีจากดั และตน้ ไมช้ ่วยใหเ้ ทียนท่ีดบั ไปแลว้ จดุ ไฟตดิ อีกครงั้ และหนู สามารถมีชีวิตรอดไดร้ ะยะเวลาหน่งึ สรุปผลการทดลองวา่ การลกุ ไหม้ เป็นการทาให้ อากาศดี กลายเป็นอากาศเสยี เชน่ เดียวกบั การหายใจของสตั ว์ และพืชสีเขียวสามารถ เปล่ยี นอากาศเสียนีก้ ลบั มาเป็นอากาศดีได้ อากาศเสีย ----พืชสเี ขียว----> อากาศดี

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช 4 @การค้นคว้าทีเ่ กี่ยวข้องกับกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 3. แจน อินเก็น ฮซู (Jan Ingen Housz) อากาศเสีย----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->อากาศดี ความรู้ทางเคมีที่พัฒนา ทาให้ทราบว่า อากาศเสียซึ่งเป็นแกส๊ ท่เี กิดจากการลกุ ไหม้และ การหายใจของสัตว์เป็นแกส๊ ชนิดเดียวกนั คือ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และพบวา่ อากาศดีคือ แกส๊ ออกซเิ จน (O2) ซึ่งเปน็ แกส๊ ทช่ี ว่ ยในการลุกไหม้ และใชใ้ นการหายใจ ของสตั ว์ CO2----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->O2 ต่อมา อนิ เกน็ ฮูซ ค้นพบเพิม่ เติมว่า พืชเกบ็ คารบ์ อนไว้ในรูปของสารอนิ ทรีย์ ดว้ ย CO2----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->O2+ สารอนิ ทรีย์

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 5 @การค้นควา้ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 4. นิโคลาส ธี โอดอร์ เดอโซซรู ์ (Nicolas Theodore de Saussure) ค้นพบว่า CO2+ H2O----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->O2+ สารอนิ ทรีย์ จากการวเิ คราะห์ทางเคมีพบว่า สารอนิ ทรีย์คือ สารประเภทคารโ์ บไฮเดรต พวกนาตาลเฮก โซส (Hexose-C6H12O6) ที่สาคัญไดแ้ ก่ กลูโคส และฟรกั โตส 6CO2+ 6H2O----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->C6H12O6+ 6O2 5. ซาชส์ (Sachs) พบว่า การสังเคราะห์ด้วยแสงเกดิ แป้ง 6. ซี.บี.แวน นีล (C.B. Van Niel) พบว่าแบคทีเรียบางชนิดสามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ CO2+ 2H2S----พืชสเี ขียว+แสงสวา่ ง---->CH2O + 2S + H2O

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 6 @การค้นควา้ ที่เกีย่ วขอ้ งกับกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง 7. ซามวล รเู บน (Samuel Ruben) และมารต์ ิน คารเ์ มน (Martin Kamen) ใชส้ าหรา่ ย Chlorella และออกซิเจน16O และ18O ทาการทดลองโดย ขวด ก 6 C16O2+ H218O----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->C6H12O6+ 618O2 ขวด ข 6 C18O2+ H216O----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->C6H12O6+ 616O2 * ต่อมามีการค้นพบว่าการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเกดิ นาขึนด้วย 6 CO2+ 12H2O----พืชสเี ขียว+แสงสว่าง---->C6H12O6+ 12H2O + 6O2 8. เองเกลมัน (T.W. Engelmann) ศึกษาชว่ งความยาวคลื่นที่พืชสังเคราะห์ด้วยแสงมากทีส่ ดุ โดยแยกแสงเปน็ สเปกตรัมสีต่างๆ สอ่ งไปในนาทีเ่ ลยี งสาหรา่ ยสไปโรไจรา และแบคทีเรยี โดยช่วงแสงที่ พืชสังเคราะหด์ ว้ ยแสงมากที่สดุ คือแสงสแี ดงและสีนาเงนิ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 7 @การค้นควา้ ที่เกี่ยวข้องกบั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง 9. โรบิน ฮลิ ล์ (Robin Hill) ทาการทดลองโดย การทดลองที่ 1 Chloroplast + H2O + Fe3+----แสงสว่าง---->Fe2++ O2 การทดลองที่ 2 Chloroplast + H2O----แสงสว่าง---->ไมเ่ กิด O2 Fe3+ทาหน้าที่เปน็ ตวั ออกซิไดส์ โดยรับอิเลก็ ตรอนซึง่ เกดิ จากการแตกตัวของ H2O ซึง่ ให้ O2ด้วย โดย Hill สรปุ วา่ ใน Chloroplast เองน่าจะมีตัวออกซิไดสอ์ ยู่ตามธรรมชาติ ทา หน้าทีแ่ บบเดยี วกบั ตัวออกซไิ ดสท์ ี่เติมลงไปในปฏิกริ ิยา ซึ่งต่อมาได้พบวา่ ในพืชมี สารประกอบชนิดหนึ่งทีท่ าหน้าที่เปน็ ตวั ออกซิไดส์ คื Nicotinamind Adenine Dinucleotide Phosphate (NADP+) เมือ่ ได้รับอิเลก็ ตรอนจะอยู่ในรูป NADPH + H+ ดงั นันจากการทดลองของ Hill สรปุ ได้ว่า ถ้ามีสารรบั อเิ ล็กตรอน นากจ็ ะแตกตัวให้ ออกซิเจนโดยไม่จาเปน็ ต้องมคี าร์บอนไดออกไซด์ ปฏิกริ ิยานจี ะเกิดขึนได้โดยคลอโรพ ลาสตไ์ ด้รับพลงั งานแสง และมกี ารแตกตวั ของนาโดยใช้พลงั งานแสงเปน็ ตวั ชว่ ย ปฏิกริ ิยานจี ึงชือ่ ว่า ปฏิกริ ิยาของฮิลล์ (Hill Reaction)

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 8 @การคน้ คว้าทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 10. แดเนียล อารน์ อน (Daniel Arnon) ทดลองตามแนวความคิดดังนี ADP + Pi + NADP++ H2O + Chloroplast----แสงสว่าง---->ATP + NADPH + H++ O2 ADP + Pi + H2O + Chloroplast----แสงสว่าง---->ATP จากการทดลองโดยการควบคุมปัจจยั บางอย่างของอารน์ อน แสดงใหเ้ หน็ วา่ ในขณะทม่ี ี แสง Chloroplast สามารถสร้าง ATP, NADPH + H+และ O2หรือสรา้ ง ATP เพียงอยา่ ง เดยี ว ขึนอยู่กบั วา่ จะใหป้ ัจจยั อะไรบ้างแก่ Chloroplast จึงกลา่ วไดว้ ่าปฏิกริ ิยาทังสองนี เปน็ ปฏิกริ ิยาที่ต้องใชแ้ สง (Light reaction) ATP + NADPH + H++ CO2+ H2O + Chloroplast-------->นาตาล + Pi + ADP + NADP+การสร้างนาตาลของ Chloroplast ไมจ่ าเป็นต้องใช้แสง แต่ต้องมี CO2, NADPH+H+และ ATP ปฏิกริ ิยานีเป็นปฏิกริ ิยาทีไ่ ม่ต้องใชแ้ สง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 9 @การคน้ ควา้ ที่เกีย่ วข้องกับกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง ผลการทดลองทังหมดของอารน์ อนสรุปได้วา่ บทบาทของปฏกิ ิริยาทีต่ ้องใช้ แสง คือ การสร้าง ATP และ NADPH + H+ที่จะนาไปใชใ้ นการรดี ิวซ์ CO2ให้เปน็ คาร์โบไฮเดรตโดยไม่ต้องใชแ้ สงสว่าง โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ (Chloroplast)

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 10 @สารสีในปฏิกิรยิ าแสง คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เปน็ พลาสติด ที่มสี ีเขียว พบเฉพาะในเซลล์พืช และ สาหรา่ ย เกือบทุกชนิด พลาสติคมีเยือ่ หุ้มสองชนั ภายในจะมีเมด็ สี หรือรงควัตถุบรรจอุ ยู่ ถ้ามีเม็ดสคี ลอโรฟิลล์ (Chlorophyll)เรียกวา่ คลอโรพลาสต์ ถ้ามีเมด็ สชี นิดอืน่ ๆ เชน่ แคโร ทนี อยด์ เรียกวา่ โครโมพลาส (Chlomoplast)ถ้าพลาสติคนันไม่มีเมด็ สี เรียกวา่ ลวิ โคพ ลาสต์ (Leucoplast)์ประกอบด้วย สว่ นทีเ่ ปน็ ของเหลว เรียกวา่ สโตรมา (stroma)มีDNA RNAและไรโบโซม และเอนไซม์ ในของเหลวเปน็ เยือ่ ลกั ษณะคล้ายเหรียญ ที่เรยี งซ้อนกัน อยู่ เรียกวา่ กรานุม(Granum)หน้าที่สาคญั ของคลอโรพลาส คือ การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)โดยแสงสแี ดง และแสงสนี าเงนิ เหมาะสม ต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง มากท่สี ดุ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 11 @สารสีในปฏิกิรยิ าแสง สารสีในปฏิกิริยาแสงแบง่ เปน็ 2 กลุ่ม 1. คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) ----->พบมากท่สี ดุ มีบทบาทในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงมาก ที่สดุ เป็นรงควตั ถทุ ี่มีสีเขียว ทีพ่ บในแบคทีเรีย เรียกวา่ Bacteriochlorophyll 2. Accessory Pigment - Carotenoid พบในส่งิ มชี วี ิตทกุ ชนิดทีส่ งั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ Carotene สแี ดงส้ม Xanthrophyll สเี หลือง หรือ เหลืองแกมนาตาล - Phycobilin ไมพ่ บในพืชชนั สูง พบเฉพาะในสาหร่ายสีแสง และสาหรา่ ยสีเขียวแกมนาเงนิ Phycoerythrin สแี ดง Phycocyanin สนี าเงนิ Chlorophyll ดดู กลืนแสงไดด้ ที ี่ความยาวคลื่น 400-500 nm และ 600-700 nm ชว่ งความ ยาวคลืน่ อื่นดดู กลืนโดย Accessory pigment

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 12 @สารสีในปฏิกิรยิ าแสง ปฏิกิริยาแสง (Light Reaction) Light Reaction เกิดขึนที่ เยือ่ หุ้มไทลาคอยด์ โดยในแต่ละหน่วยการสังเคราะห์ ดว้ ยแสงมีสารสี ประมาณ 200-400 โมเลกุล โดยมี Chlorophyll a เปน็ ศูนยก์ ลาง ปฏิกริ ิยา แบ่งเป็นศูนยก์ ลางปฏิกิรยิ าในระบบแสง I (PS I) รบั พลังงานแสงไดด้ ที ี่ 700 nm และระบบแสง II (PS II) รับพลงั งานแสงได้ดีที่ 680 nm มีสารสีที่รบั พลงั งานแสง และส่งให้ศูนยก์ ลางปฏิกิรยิ า เรียกวา่ Antenna สารสีรบั พลงั งานแสง อิเล็กตรอน เปล่ยี นจาก Ground State เป็น Exited State และสง่ พลงั งานต่อให้ Chlorophyll a ท่ีเป็นศนู ยก์ ลางปฏิกิรยิ า จน อเิ ลก็ ตรอนท่ี ศนู ยก์ ลางปฏกิ ิรยิ า หลดุ และเกิดการถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 13 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเ่ ปน็ วฏั จักร @กระบวนการถ่ายทอดอิเล็คตรอน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช 14 การถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนแบบเปน็ วัฏจักร @กระบวนการถา่ ยทอดอิเลค็ ตรอน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 15 @กระบวนการถา่ ยทอดอิเล็คตรอน -Light Reaction เป็นปฏิกริ ิยาที่จาเปน็ ต้องใช้แสง และไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ คือ แกส๊ ออกซิเจน ATP และ NADPH -พลงั งานแสงทีพ่ ืชใชใ้ นการแตกตวั ของนาทาให้เกดิ O2, H+และอิเลก็ ตรอน เรียกวา่ Photolysis หรือ Hill Reaction -ปฏิกิริยาการสรา้ ง ATP ที่อาศยั พลังงานแสงว่า Photophosphorelation

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช 16 @ปจั จัยในกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ปจั จัยภายใน 1. โครงสร้างของใบ เชน่ ความหนาของ Cuticle ขนทีป่ กคลุมใบ การจดั เรยี งตวั ของ Mesophyll ตาแหน่งของคลอโรพลาสต์ เป็นต้น 2. สภาพของโพรโทพลาสซึม ถา้ ขาดนาอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง 3. อายขุ องใบ โดยใบอ่อนหรือแกเ่ กินไปอัตราการสงั เคราะหแ์ สงจะลดลง 4. ปริมาณของคลอโรฟิลลแ์ ละรงควัตถทุ ี่ช่วยในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 17 @ปัจจัยในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง ปัจจยั ภายนอก 1. แสงและความเข้มแสง - แสงชนิดท่ที าให้เกดิ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงมากทีส่ ุด คือ แสงสแี ดง นาเงนิ และม่วง ตามลาดับ - พืชที่อาศยั อยใู่ ต้ทะเล สามารถรับแสงสีนาเงนิ เขียวได้เพราะเป็นแสงทีส่ ามารถส่องผ่าน ใต้ทะเลได้ - จุดอิม่ แสง (Light saturation point) ความเข้มแสงทีท่ าให้อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสง คงที่ ถ้าเพิม่ ความเข้มแสงอัตราการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงก็ไม่เพม่ิ ขึน (พืช ตา่ กว่า C4) C3จดุ อ่มิ แสง - Light compensation point ความเข้มแสงที่ทาให้อัตราการตรึง CO2สทุ ธิเท่ากับศูนย์

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 18 @ปจั จัยในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 2.CO2 - จุดอิม่ ตัวของ CO2(CO2saturation point) ความเข้มข้นของ CO2ทีท่ าให้อัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงคงที่ - CO2compensation point ความเข้มข้นของ CO2ที่ทาให้อตั ราการตรึง CO2สุทธเิ ท่ากับ 3.อุณหภมู ิ ระดบั ทีเ่ หมาะสมมคี วามสาคญั ต่อปฏิกริ ิยาที่ไม่ต้องใชแ้ สง เพราะอณุ หภมู ทิ ี่ เหมาะสมจะทาให้เอนไซม์ทเ่ี ป็นตัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีทางานได้ดีขึน ถา้ อณุ หภูมสิ งู หรือต่า เกินไปจะทาใหเ้ อนไซม์ซง่ึ เปน็ สารพวกโปรตีนเสยี สภาพ (Denature) 4.น้า มีบทบาทสาคญั ในการใหอ้ เิ ล็กตรอนแก่คลอโรฟิลลใ์ นระบบแสง II, นาเปน็ สว่ นประกอบสาคัญของเซลล์พืช , ปริมาณนามผี ลต่อการปิดเปิดของปากใบ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช 19 @ปัจจยั ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 5.แรธ่ าตตุ ่างๆ เชน่ N และ Mg เป็นส่วนประกอบในคลอโรฟิลล์ ถา้ ขาดทาใหเ้ ปน็ สี เหลืองซีด เชน่ เดียวกับธาตุเหลก็ กม็ ีความสาคัญกับการสร้างคลอโรฟิลล์ สว่ น Mn และ Cl จาเป็นต่อการสลายโมเลกุลของนา ปฏิกริ ิยาที่ไม่ต้องใชแ้ สง หรือ ปฏิกริ ิยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2Fixation) CO2Fixation เกิดขึนที่ Stroma เกิดขึนได้โดยไมต่ ้องใช้แสง เกิดขึนหลงั จาก Light Reaction โดยใช้พลงั งานจาก ATP และ NADPH เกิดเป็นวัฏจักร ผู้ค้นพบคือ คัลวิน และเบนสนั เรียกวา่ วฏั จักรเคลวินและเบนสนั (Calvin & Benson Cycle) หรือ Calvin Cycle โดยแบ่งปฏกิ ิริยาเปน็ 3 ช่วง คือ CO2Fixation, Reduction, Regeneration

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 20 @ปัจจยั ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ผลติ ภัณฑส์ ดุ ท้ายของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คาร์โบไฮเดรต (นาตาล) นา

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 21 @การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ของพืช C3, C4และ CAM การตรึงคารบ์ อนไดออกไซดข์ องพืช C3, C4และ CAM

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 22 @การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดข์ องพืช C3, C4และ CAM

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช 233 @การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3, C4และ CAM ตวั อยา่ งพชื C3 เชน่ ข้าวจ้าว ข้าวสาลี ถ่ัว และพืชท่ัวไปเกือบทุกชนิด สว่ นใหญ่ไม่มี คลอโรพลาสต์ใน Bundle sheath การตรึง CO2เกิดใน Mesophyll สารตัวแรกท่เี กิดขึน หลงั การตรึง CO2คือ PGA (มี C 3 อะตอม) ตวั อยา่ งพชื C4 เชน่ ข้าวโพด ออ้ ย ข้าวฟา่ ง พืชตระกลู หญ้าในเขตร้อน ชนั Bundle sheath มีคลอโรพลาสต์ ตรึง CO2ได้ดีกวา่ C3ประมาณ 3 เท่า เกดิ การตรึง CO2ในชนั Mesophyll และ Bundle sheath สารตวั แรกทเ่ี กิดขึนหลังการตรึง CO2คือ OAA (มี C 4 อะตอม) ตัวอยา่ งพชื CAM เชน่ กระบองเพชร สัปปะรด ป่าน ว่านหางจระเข้ เกิดการตรึง CO22 ครัง ครังแรก (เกดิ กลางคืน) PEP ตรึง CO2จากอากาศ ได้ OAA เปลย่ี นเป็น Malic acid เก็บใน Vacuole ครังท่สี อง (เกิดกลางวนั ) Malic acid ปล่อย CO2ให้ RuBP เกิด Calvin Benson Cycle

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช 234 @การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3, C4และ CAM

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช 235 @การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3, C4และ CAM

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช พบกนั ใหม่ในบทเรยี นหนว่ ยต่อไปนะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook