Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

Published by kroosci, 2020-05-13 15:54:41

Description: หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 51 3. อวยั วะภายในลูกตาส่วนหลัง ( posterior eye segment ) ประกอบด้วย 1. น้าวุ้นตา ( vitreous ) 2. จอประสาทตา ( retina ) 3. เส้นประสาทตา ( optic nerve ) แต่อวัยวะสว่ นที่เกย่ี วข้องกบั กลไกการมองเหน็ ของคนเรา คือ จอประสาทตา ( retina ) ในช่วงเอม็ บริโอจะมีการพฒั นาใน สว่ น optic cup เปน็ จอประสาทตา มี 2 สว่ นคือ 1. ช้นั นอก คือ retinal epithelium ( RPE ) 2. ชน้ั ใน คือ sensory retina ซึง่ ประกอบดว้ ย photoreceptor cells , synaptic connections และ supporting glia

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 52 Rods and cones เซลล์ 2 ชนิดนี้ เปน็ ส่วนของ sensory retina ทีไ่ วต่อแสง rods ทางานในทีแ่ สง สลวั ( เรียกว่า scotopic vision ) สว่ น cones ทางานในที่แสงสว่างปานกลางและสว่างมาก ( เรียกว่า photopic vision ) และยัง เก่ยี วข้องกบั color vision ดว้ ย บริเวณ fovea centralis จะพบ cones จานวนมากแต่จะไมพ่ บ rods เลย สว่ น บริเวณperiphery ของจอประสาทตา จะพบ cones ประปราย สว่ น rods พบมาก

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 53 กลไกการมองเห็น ( visual mechanisms ) ผลของแสงตอ่ ลูกตา เมือ่ visual pigment ใน rods และ cones cells ดดู ซึมคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ในช่วงความยาว คลืน่ 400-770 นาโนเมตร จะเกดิ กระแสประสาท ( nerve impulse ) สง่ ผา่ นจากตาไปยงั สมอง ทาให้รับรู้เกิดการ มองเหน็ แสงท่มี ีความยาวคลื่นต่างกัน แมจ้ ะให้พลังงานออกมาเท่ากัน แต่ความรู้สึก ในการมองเห็นจะต่างกัน เช่น แสงสีเขียว .001 วตั ต์ จะดสู ว่างกว่าแสงสีน้าเงิน .001 วตั ต์

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ Dark adaptation 54 Dark adaptation คือ การเพิม่ ความไวของตาในการรับแสงในทีม่ ืด ในชว่ งเวลา นี้รมู ่านตาจะขยาย และมีการเปล่ยี นแปลงในจอประสาทตา เมือ่ เราอยู่ในที่มืดหลงั จากทีต่ ามองแสงสว่างมาระยะหนึ่ง ( ซึ่งจะมีการสลายของ Visual pigment เกดิ ขนึ้ ) ใน 5-9 นาทีแรก จะมีการสังเคราะห์ pigments ใน cone cells ขึ้นใหม่ หลังจานน้ันในชว่ ง 30-45 นาทีต่อมา จะสงั เคราะห์ rhodopsin ใน rod cells ภาวะ dark adaptation อาจนานกว่าปกติไดใ้ นกรณีทีม่ องแสงสว่างมานานๆ Light adaptation เมื่อตาที่เคยอยู่ในทีม่ ืดต้องเปลี่ยนไปอยู่ในที่สวา่ งความไวต่อแสงจะลดลงอยา่ ง มาก ในช่วงนี้จะมีการสลาย rhodopsin และรูม่านตาหดเลก็ ลง ใกล้ๆกบั จดุ บอด ( blind spot ; optic disc ) จะมี Macula lutea ซึ่งบริเวณทแ่ี สง หกั เหมาตกมากที่สดุ ทบ่ี ริเวณนจี้ ะมี rods และ cones มากทีส่ ดุ ตรงกลาง macula lutea จะมีแอ่งบุ๋มลงไปพบเฉพาะ cones เรียกแอ่งนี้ว่า fovea centralis เปน็ บริเวณที่รบั ภาพสี ได้ชดั เจนทีส่ ดุ ดังนั้นการวัดสายตา ก็คือการตรวจการทางานของตา โดยตรวจวัดการ ทางานของ cones และ rods โดย

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 55 1. ตรวจการทางานของ cones ที่ fovea centralis โดยวดั ความสามารถในการ อ่านตวั เลข หรือตัวอักษรท้ังระยะที่ใกล้ และระยะไกล และวัดการมองเหน็ สี ( color vision ) เพราะ cones ทาหน้าทีเ่ กีย่ วกบั การมองเห็นสี 2. ตรวจการทางานของ rods คือจุดที่มองเห็นข้างๆ แต่ไม่ชดั เจน ( peripheral fields )

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 57 หกู ับการได้ยนิ หูของสตั ว์เลีย้ งลกู ดว้ ยนม ซึ่งรวมถึงมนุษย์เป็นอวัยวะทีท่ าหน้าที่ 2 ประการ ซึง่ กค็ ือ 1. การไดย้ นิ หรือการรับฟงั เสียง (Phonoreceptor) โดยสามารถแยกความ แตกต่างของคลื่นเสียงได้ 2. การทาหนา้ ที่ทรงตัว รักษาสมดลุ ของร่างกาย (Statoreceptor)

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ สว่ นประกอบของหู 29 หูส่วนนอก หสู ่วนนอก (External ear) ซึ่งประกอบดว้ ย 1. ใบหู (Pinna) มีหน้าทีใ่ นการรวบรวมคลื่นเสียงที่มาจากทต่ี ่างๆ สง่ เข้าสรู่ ูหู ใบหู มีกระดกู ออ่ นอีลาสติก เปน็ แกนอยู่ภายใน ทาให้โค้งพบั งอได้ 2. ชอ่ งหู หรือ รูหู (Auditory canal) เปน็ สว่ นทีอ่ ยู่ถัดใบหูเข้ามาจนถึงเยือ่ แกว้ หู ทาหน้าทีเ่ ปน็ ทางเดนิ ของคลืน่ เสียงเข้าสู่หสู ว่ นกลาง รหู มู ขี นและต่อมสร้างข้หี ู (Cerumious gland) ทาหน้าที่สร้างข้หี ูไว้ดกั ฝุ่นละออง หรือสิง่ แปลกปลอมไม่ใหเ้ ข้าไปในรู หู 3. แก้วหู หรือ เย่อื แกว้ หู (Tympanic membrane หรือ Ear drum) มี ลักษณะเป็นเยือ่ บางๆ และเปน็ เส้นใยท่มี ีความยาวเทา่ ๆกนั จึงสั่นสะเทือน เมื่อมีเสยี งมา กระทบและแยกคลืน่ เสียงทีแ่ ตกต่างกันไดโ้ ดยมคี วามว่องไวต่อการเปล่ยี นแปลงความ ดนั แต่จะไม่ไวต่อการเปลีย่ นแปลงความเรว็ (คลื่นเสียงจะทาให้เกิดการเปลีย่ นแปล แรงดนั ในช่องห)ู

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 58 หูส่วนกลาง หสู ่วนกลาง (Middle ear) เปน็ ส่วนทีถ่ ดั จากแกว้ หเู ข้ามา ภายในหู ตอนกลางจะมีทอ่ ยูสเทเชียน (Eustachian tube) มีลักษณะเปน็ ท่อกลวงขนาดเลก็ เชื่อมติดระหวา่ งคอหอยและหชู น้ั กลาง มีหน้าที่ปรับความดนั ภายในหใู ห้ภายในหูมี ความดันเท่ากบั ความดันภายนอก ถ้าหากระดบั ความดันของทง้ั สองแหง่ ไม่เท่ากนั จะ มีผลทาให้รู้สึก หอู ื้อ และถ้าเกดิ ความแตกต่างมากจะทาใหร้ ู้สกึ ปวดหู ภายในหู สว่ นกลางนี้มกี ระดกู 3 ช้นิ คือ กระดกู คอ้ น (Malleus) กระดกู ท่งั (Incus) และ กระดูกโกลน (Stapes) เรียงตามลาดบั จากดา้ นนอกเขา้ สดู้ า้ นใน มีหน้าทีใ่ นการ ขยายการส่นั สะเทือนของคลืน่ เสียงให้มากขนึ้ และจึงสง่ ต่อการสง่ั สะเทือน เข้าสู่หูสว่ น ในเพือ่ แปลเป็นความรู้สกึ เพื่อส่งต่อไปยังสมอง

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ หูส่วนใน 59 หูสว่ นใน (Internal ear) อยู่ถัดจากหูส่วนกลางเข้ามา หสู ่วนในประกอบดว้ ยท่อขดก้น หอย หรือ คอเคลยี (Cochlea) ภายในคอเคลยี มีเยือ่ บาง ๆ 2 ชนิดกั้นทาใหภ้ ายในแยกเปน็ 3 สว่ น คือ 1. เยื่อชนดิ แรกเรียกวา่ เยื่อเบซิล่าร์ (basilar membrane) 2. เยอ่ื ไรสส์เนอร์ (rissner's membrane) การทางานของหู เริ่มจาก เสียงจะเข้าไปในรหู ูผ่านใบหู หลังจากนั้น ก็จะไปสั่นที่แกว้ หู หลงั จากน้ันแกว้ หูกจ็ ะไปส่ันกระดูกทั่ง ค้อน และ โกลน หลงั จากนั้น กระดูกโกลนและจะไป สน่ั คอเคลยี ของเหลวในคอเคลยี จะไปส่ันเซลลข์ นในคอเคลยี เซลลข์ นจะแปรความ สั่นสะเทือนเปน็ กระแสไฟฟ้าและสง่ ไปยงั เสน้ ประสาท กระแสไฟฟ้าจะเดินทางผ่าน เส้นประสาทและไปทีไ่ ปที่สมอง เพื่อใหส้ มองแปรเปน็ ข้อมูล

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 60 ลนิ้ และการรับรส ลนิ้ เป็นอวยั วะรบั สมั ผสั ทางเคมี ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีรบั รสต่างๆรสท่ีลนิ้ รบั สมั ผสั ไดม้ ี 4 รสคอื รสหวาน รสขม รสเคม็ และรสเปรยี้ ว ซง่ึ บรเิ วณทร่ี บั รส ต่างๆจะมีบรเิ วณท่ีเฉพาะดงั ภาพ

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 62 การรับรส การรบั รส ด้านบนของลนิ้ เท่าน้ันที่รับรสได้ สว่ นดา้ นลา่ งของล้นิ ไม่สามารถรับ รสได้ ท้ังนีเ้ พราะด้านบนของลิน้ เท่านั้นที่มปี ุ่มเลก็ ๆ ทีเ่ รียกว่าพาพิลลา(papilla) จานวน มาก และภายในปุ่มเหลา่ นีจ้ ะมีตมุ่ รบั รส(taste bud) หลายตุ่ม ตุ่มรับรสแต่ละตุ่มจะรบั รสได้เพียงรสเดียว ภายในตุ่มรบั รสมีเซลลร์ ับรส(gustatory cell)หลายเซลลอ์ ดั กนั แน่น อยู่เปน็ กลมุ่ ๆโดยมปี ลายเดนไดรต์ของเสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9 มาสมั ผสั อยู่เพือ่ นากระแสประสาทไปแปลผลท่ศี ูนย์การรับรสมนซีรีบรัม โดยปลาย 2/3ของลนิ้ จะรบั รส และถูกส่งไปกบั เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 7 สว่ นโคน 1/3 ของลิน้ จะรับรสและถกู ส่งไปกบั เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 9

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 29 ผิวหนงั และการสมั ผัส ผิวหนังทาหน้าท่หี ลายอย่าง ที่สาคญั อย่างหนึง่ คือ เป็นอวยั วะรบั ความรู้สกึ สมั ผัสต่างๆ เช่น ความร้อน ความเยน็ ความเจบ็ ปวด แรงกดแรงดึง หน่วยรับความรู้สกึ เหลา่ นีอ้ ยู่ท่ผี ิวหนังตื้นและลกึ แตกต่างกนั ดงั รปู

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ THE END ขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/innated-behavior/baeb-thdsxb-hlang-reiyn https://sites.google.com/site/karrabrulaekartobsnong/kar-rab-ru/receptor


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook