Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

Published by kroosci, 2020-05-13 15:54:41

Description: หน่วยที่-5-เรื่องพฤติกรรมของสัตว์

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ วิชาชวี วิทยาเพิ่มเตมิ 5 ว33245 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โดย นางอรทยั ศรสี ทุ โธ โรงเรยี นหินดาดวทิ ยา อ.ห้วยแถลง จ. นครราชสีมา สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั นครราชสีมา

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ เรียนอะไรบา้ งน๊า ?? @ การศึกษาพฤติกรรมของสตั ว์ @ กลไกการเกดิ พฤติกรรม @ ประเภทพฤติกรรมของสตั ว์ @ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมและ วิวฒั นาการของระบบประสาท @ อวยั วะรับความรสู้ กึ

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 3 1. การศกึ ษาพฤตกิ รรมของสัตว์ การศึกษาพฤติกรรมของสตั ว์ พฤติกรรมที่เกดิ ข้นึ ในสตั ว์ต่างๆเกดิ จากการประสานกันระหว่างระบบ ประสาท (nervous system) ระบบกระดูก (skeletal system ) ตลอดจนระบบต่อมมี ท่อ (exocrine system ) และต่อมไร้ทอ่ (endocrine system) แต่ละระบบต่างๆ ของ สัตวแ์ ต่ละชนิดแตกต่างกนั จึงมผี ลพฤติกรรมของสตั วเ์ หล่าน้ันแตกต่างกัน การศึกษา พฤติกรรมของสตั ว์หรือวิชาพฤติกรรมศาสตร์ (ethology) มีความสัมพนั ธ์กบั วิทยาศาสตร์ 2 สาขา คือ 1. การศกึ ษาทางสรีรวทิ ยา (physiological approach) มี จุดมงุ่ หมายเพือ่ อธิบายพฤติกรรมในรปู แบบของกลไกการทางานของระบบ ต่างๆ ภายในร่างกาย 2.การศึกษาทางจิตวิทยา (psychological approach) เปน็ การศึกษาถึงผลปัจจยั ต่างๆ ทีอ่ ยู่รอบตวั และภายในร่างกายทีม่ ีผลต่อการพัฒนา และการแสดงออกทางพฤตกิ รรมที่มองเห็นได้ชัดเจน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 4 นกั พฤตกิ รรม (ethologist) ศึกษาพฤติกรรมเพื่อตอบคาถามว่า พฤติกรรมนั้นมีสาเหตุจาก อะไร เพื่ออะไร มีพัฒนาการและวิวฒั นาการมาอยา่ งไร และถา่ ยทอดทางพันธกุ รรมไดห้ รือไม่ โดยใช้ วิธกี ารดงั ต่อไปนี้ 1.การสารวจในธรรมชาติ อาจทาไดโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ สาหรับบันทึก การเคลื่อนไหวของสตั ว์โดยไม่ใหส้ ตั วร์ ู้ตวั ซึง่ สามารถบนั ทึกพฤติกรรมไดต้ ่อเนื่องและนามาวิเคราะห์ ได้อยา่ งละเอยี ด หรืออาจใช้เครื่องทรานซิสเตอร์ติดเข้ากบั ตัวสตั ว์เพือ่ บนั ทึกอุณหภูมิร่างกายหรือ อัตราการเต้นของหัวใจ เป็นต้น นอกจากนีอ้ าจใชว้ ิธจี ับสตั ว์มาทาเครื่องหมายแลว้ ปลอ่ ยเข้าสู่ ธรรมชาติ เชน่ การใช้ห่วงวงแหวนเป็นสตี ิดทข่ี านก 2.การศกึ ษาในหอ้ งทดลอง ส่วนใหญเ่ ป็นการทดลองเพื่อการศึกษาพื้นฐานของระบบ ประสาทในการแสดงพฤติกรรมแบบต่างๆ เชน่ การใช้กระแสไฟฟา้ กระตุ้นสมองส่วนต่างๆ เพื่อศึกษา ว่าสมองส่วนใด ควบคุมพฤติกรรมอะไร หรืออาจใช้หุ่นจาลองเพือ่ กาวา่ อะไรเป็นส่งิ เรา้ หลกั ทีท่ าให้ สัตวแ์ สดงพฤติกรรม

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 2.กลไกการเกิดพฤติกรรมของสตั ว์ 5 การตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ขนึ้ ในสภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกร่างกาย สง่ิ มชี วี ิตนั้น อาจเกดิ ขนึ้ ทันทีทันใดหรืออาจเกิดขึ้นชา้ ๆ ทาใหช้ วี ิตแสดงพฤติกรรม (behavior) ซึ่งเปน็ กลไกอยา่ งหนึ่งในการรกั ษาดุลยภาพของร่างกาย การศกึ ษาพฤติกรรม เป็นการศกึ ษาหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมและส่งิ แวดลอ้ ม ตลอดจนพืน้ ฐานทางสรรี วทิ ยาท่มี ผี ลตอ่ การแสดงพฤติกรรมสตั ว์ การศกึ ษาพฤติกรรมของส่งิ มชี ีวิต ทาได้ 2 วิธี คอื 1. วธิ ีการทางสรรี วิทยา (physiological approach) มีจดุ มงุ่ หมายเพ่ืออธิบาย พฤตกิ รรมในรูปของกลไกการทางานของระบบประสาท 2. วธิ ีการทางจิตวิทยา (psychological approach) เป็นการศกึ ษาถงึ ผลของ ปัจจยั ตา่ ง ๆ รอบตวั และปัจจยั ภายในรา่ งกายท่มี ตี อ่ การพฒั นาและการแสดงออกของพฤติกรรมท่ี มองเหน็ ไดช้ ดั เจน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 3.ประเภทพฤติกรรมของสตั ว์ 7 พฤติกรรมทีเ่ ปน็ มาแต่กาเนิด ลกั ษณะสาคัญของพฤติกรรมทีม่ ีมาแต่กาเนิด 1. เปน็ พฤติกรรมที่สง่ิ มชี วี ิตแสดงออกมาได้โดยไมต่ ้องผ่านการเรียนรู้หรือฝึกฝนมาก่อน 2. เปน็ พฤติกรรมที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ ถูกกาหนดดว้ ยหน่วยพันธกุ รรมหรือ ยีน (gene) ให้มแี บบแผนของการตอบสนองท่คี งทีแ่ น่นอน (stereotyped) ในส่งิ มีชีวติ แต่ละ ชนิด 3. อาจถูกปรบั ปรงุ หรือพฒั นาให้เหมาะสมมากขึน้ ได้ด้วยการเรียนรู้ภายหลัง 4. มแี บบแผนทีแ่ น่นอน ในสิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกันทกุ ตัวจะแสดงพฤติกรรมเหมือนกนั หมด

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 8 ชนดิ ของพฤติกรรมทม่ี มี าแตก่ าเนิด พฤติกรรมการเคลอ่ื นทห่ี รอื โอเรยี นเตชนั (orientation) เป็นพฤติกรรมทีต่ อบสนองต่อ ปัจจยั ทางกายภาพทาใหเ้ กดิ การวางตัวทีส่ อดคล้องกับ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกับการดารงชีวติ เช่น ปลาวา่ ยน้าในลกั ษณะที่หลังต้ังฉากกบั แสงอาทติ ย์ ทาให้ศตั รทู ีอ่ ยใู่ นระดบั ตา่ กว่ามองไม่เห็นเปน็ การหลีกเล่ยี งศัตรูได้ นอกจากนี้ พฤติกรรมแบบโอเรียนเตชันยงั ทาใหเ้ กิดการรวมกลุ่มของสตั ว์ในบริเวณที่เหมาะสมกบั การ ดาเนินชีวติ ของสตั ว์ชนิดนั้นๆ อีกด้วย ทาให้สามารถพบสัตว์ต่างชนิดในต่าง บริเวณ พฤติกรรมแบบโอเรยี นเตชันแบ่งได้ 2 รปู แบบ ได้แก่ 1.ไคนซี ิส (kinesis) 2 แทกซิส (taxis)

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 9 ไคนีซสิ (kinesis) เปน็ พฤติกรรมทีแ่ สดงออกด้วยการเคลื่อนที่ทุกสว่ นของ ร่างกายเพื่อตอบสนองต่อสิง่ เร้าจากภายนอกของสง่ิ มชี วี ิตพวก โพรทิสต์ (protist) สง่ิ มชี วี ิตเซลลเ์ ดียว หรือสัตว์ไมม่ ีกระดกู สันหลงั ชนั้ ต่าบางชนิดที่ ยงั ไม่มรี ะบบประสาท หรือมีระบบประสาทแล้วแต่ยังไม่เจริญดพี อ เปน็ การเคลือ่ นที่ ซึ่งไมม่ ที ศิ ทางไม่แน่นอน ไมม่ ีความสมั พันธ์และไม่ถูกควบคุมดว้ ยทิศทางของส่งิ เร้า เนือ่ งจากส่งิ มชี วี ิตพวกนี้ยงั ไมม่ ีหรือมีหน่วยรบั ความรู้สกึ ทีย่ ังไมม่ ีประสทิ ธิภาพสูง พอสาหรบั รบั การกระตุ้นจากส่งิ เร้าทีอ่ ยไู่ กลออกไป การตอบสนองจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ มีสิ่งเร้าอยใู่ กล้ตวั มากพอเท่านั้น

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 10 ตวั อย่างของพฤติกรรมแบบไคซิส เช่น - การเคลื่อนทีข่ องแมลงสาบ เมื่ออยู่ตามทีแ่ คบที่มีผิวสัมผัสใกล้ กับตวั มันมาก เช่น ตามซอกบ้านมนั จะอยู่นิง่ กบั ทีแ่ ต่เมือ่ อยู่ในที่โล่งมนั จะ เคลื่อนทีร่ วดเร็วและไม่มที ิศทางแน่นอน เพราะตัวมนั ไมส่ ามารถรับ ความรู้สกึ จากผิวสมั ผัสท่ี หา่ งไกล - การเคลือ่ นทีอ่ อกจากบริเวณทม่ี ีมอี ณุ หภูมิสูงของพารามีเซียม โดยถอยหลงั กลับ อาจขยับส่วนท้ายไปจากตาแหน่งเดมิ เลก็ น้อย แล้ว เคลื่อนทีไ่ ปข้างหน้าในทิศทางทเ่ี ปลีย่ นไป โดยมันจะทาเช่นนี้ซ้าๆ จนกว่า จะพบตาแหน่งท่อี ณุ หภูมิเหมาะสม - การเคลื่อนทีห่ นีฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซดข์ องพารามีเซียม โดยเบี่ยงดา้ นท้ายของลาตวั ไปนิดหนึ่ง แล้วเคลื่อนทีต่ ่อไปข้างหน้าอีก ถ้ายัง พบฟองแก๊ส อีกกจ็ ะถอยหนีในลกั ษณะเดิมอกี เป็นเชน่ นีเ้ รื่อยไปจนกว่า จะพ้นฟองแก๊ส

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 11

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 12 2 แทกซสิ (taxis) เป็นพฤติกรรมที่พบในโพรทิสต์ และสัตว์ไมม่ ีกระดกู สันหลงั บาง ชนิด แสดงออกดว้ ยการเคลือ่ นทีท่ ุกส่วนของร่างกายเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทีม่ ากระตุ้น โดยมีทศิ ทางการเคลื่อนทีท่ แ่ี น่นอนหรือสัมพันธ์กับทศิ ทางของสิ่ง เร้าซึ่งอาจเปน็ ไดท้ ้ังเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีออกเนื่องจากมีหน่วยรบั ความรู้สกึ เจรญิ ดีทาให้รบั รู้สิง่ เร้าทอ่ี ยู่ใกล้ไดแ้ ละยงั ทาให้สิ่งมีชวี ิตเหล่านี้รวมกลมุ่ ได้อยา่ ง มีประสทิ ธิภาพ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 13 ตัวอย่างของพฤติกรรมแบบแทกซิส เช่น - การเคลือ่ นที่เข้าหาแสงสว่างของพลานาเรีย โดยพยายามเคลือ่ นทีไ่ ปทิศทางท่อี วัยวะรบั แสง คือ อายสปอต (eye spot) 2 ข้าง ได้รับการกระตุ้นเทา่ ๆ กัน ถ้าแหล่งกาเนิดแสง น้ันอยู่นิง่ ทิศทางการเคลื่อนที่กจ็ ะอยู่ในแนวตรงข้นึ เรือ่ ยๆ เข้าสู่แสงสวา่ ง - การบินตรงเข้าหาดวงอาทิตย์ขณะหนีศัตรขู องผีเสื้อชนิดหนึ่ง โดยผีเสื้อชนิดนเี้ มือ่ พบศตั รู มันจะบินเข้าหาดวงอาทิตย์เพือ่ ใหต้ าของศัตรพู ร่า การที่มันหนั ไปอยใู่ นทิศตรงเขา้ หาดวง อาทิตย์ได้ เพราะตาของมนั ถูกกระตุ้นโดยแสงอาทติ ย์เท่ากันทั้ง 2 ข้าง - การเคลื่อนที่เข้าหาและหนีจากแรงดงึ ดูดขู องโลก (geotaxis) ของสัตว์ เช่น ตวั อ่อน ผีเสื้อ เมื่อมีการเจริญไปเปน็ ดกั แด้จะมีการเคลือ่ นตัวลงจากต้นไม้ (positive geotaxis) แต่ เมือ่ เจริญเต็มวัย จะเคลือ่ นตัวขึ้นบนสวนกับแรงดงึ ดูดของโลก (negative geotaxis) เพือ่ ตากปีกให้แหง้ - การบินเข้าหาผลไมส้ ุกของแมลงหวี่ - การเคลือ่ นที่ของค้างคาวเข้าหาแหล่งอาหารตามเสยี งสะท้อน

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 14 พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ (reflex หรือ simple reflex action) เป็นพฤติกรรมพื้นฐานซึง่ พบในสัตว์ท่มี ีระบบประสาททุกชนิด แสดงออกดว้ ยการทีส่ ่วน ใดสว่ นหนึ่งของร่างกายตอบสนองต่อสิง่ เร้าจากภายนอกที่มากระตุ้นอย่างทนั ทีทนั ใด โดยมี แบบแผนการตอบสนองท่แี น่นอนคงที่ ไมซ่ ับซ้อน และเกิดขึ้นเฉพาะในเวลาสน้ั ๆ ซึง่ จะมี ประโยชน์ในการดารงชวี ิตของสัตว์ทีช่ ่วยให้สามารถหลีกเลย่ี งจากสิ่งเร้าทเ่ี ป็นอันตรายได้ อย่างรวดเรว็ การตอบสนองต่อสิง่ เร้าจงึ เกิดได้เองโดยอัตโนวัติและไมต่ ้องใช้เวลาในการ รับสง่ กระแสประสาทมาก เช่น ในคนเรามีปฏิกริ ิยารีเฟลก็ ซ์ทีค่ วบคมุ ดว้ ยสัน หลงั (spinal cord) และสมองออกดว้ ยการเคลื่อนไหวของแขนขา มี 2 ประเภท หลกั ๆ คือ 1 รีเฟล็กซใ์ นการงอแขนขา (flexion หรือ withdrawal reflex) 2 รีเฟล็กซใ์ นการเหยียดแขนขา (stretch reflex)

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 15 1. รีเฟล็กซใ์ นการงอแขนขา (flexion หรือ withdrawal reflex) เปน็ การ ตอบสนองเพือ่ ป้องกันตวั จากสง่ิ เร้าที่เป็นอนั ตราย เช่น ถ้าเอามือไปจบั สง่ิ ของทีร่ ้อน จดั จะกระตุกงอแขนหนีออกจากสิง่ ของนั้นทนั ที 2. รีเฟล็กซ์ในการเหยยี ดแขนขา (stretch reflex) เป็นการการตอบสนองเพื่อช่วย ในการทรงตัว เช่น เมื่อลืน่ หกลม้ เราจะเหยยี ดแขนออกไปยงั พื้นเมื่อเทา้ ข้างหนึง่ สะดดุ กับวตั ถุกับวัตถุที่อยตู่ ามพื้นขาอีกข้างหนึ่งจะเหยียดตรงเพื่อยนั พื้นเอาไวไ้ มใ่ ห้หกลม้ นอกจากนีย้ งั มตี ัวอย่างอื่นๆ ของพฤติกรรมแบบรีเฟลก็ ซท์ ีพ่ บในคนอีก เช่น การไอหรือจามเมื่อมีสง่ิ ระคายเคืองทางเดินหายใจ การหรีข่ องช่องมาน ตา (pupil) เมือ่ มีแสงมาก การกระพริบตาเมื่อมีผงเข้าตา

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ พฤติกรรมรีเฟล็กซ์แบบตอ่ เนื่อง (chain of reflex) 16 นกั ชีววิทยาบางคนเรียกพฤติกรรมแบบนี้วา่ สัญชาตญาณ (instinct) หรือ ปฏิกริ ิยา รีเฟล็กซ์แบบซับซ้อน (complex reflex action) ซึง่ มีลกั ษณะสาคัญดังนี้ 1. มมี าแต่กาเนิด ซึง่ สตั ว์สามารถแสดงออกมาไดโ้ ดยไมต่ ้องผ่านการเรียนรู้ หรือมี ประสบการณม์ าก่อนเหมือนกับพฤติกรรมแบบรีเฟลก็ ซ์ แต่ต่างกนั ตรงทม่ี ีความซับซ้อน มากกว่า 2. มแี บบแผนของการแสดงออกที่แน่นอน และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละ ชนิด (species) ซึง่ เรียกว่า fixed action patterns (FAP) แต่อาจเปลย่ี นแปลงไดบ้ ้างตาม สภาพทางสรีรวิทยาของสตั ว์และสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในสัตว์ท่มี ีระบบประสาทที่ เจรญิ ดี อาจจะถูกดดั แปลงบางสว่ นไดดว้ ยประสบการณ์จากการ เรียนรู้ 3. เป็นการตอบสนองดว้ ยพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์หลายพฤติกรรมเกิดตอ่ เนือ่ งกัน เป็นลกู โซ่ โดยพฤติกรรมที่เกดิ ขนึ้ อันดับแรกจะไปกระตุ้นให้มพี ฤติกรรมแบบรีเฟลก็ ซ์อื่นๆ ตามมา

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 17 ตวั อย่างพฤติกรรมรีเฟล็กซต์ ัวอย่างพฤติกรรมรีเฟล็กซ์ แบบต่อเนื่อง เช่น - พฤติกรรมการเลีย้ งดตู วั อ่อนของหมาร่าเพศเมีย (digger wasp) โดยก่อน วางไขจ่ ะขุดรูหลายรแู ลว้ ใสห่ นอนผีเสื้อหรือตั๊กแตนทีถ่ ูกต่อยจนเปน็ อมั พาตไว้ในแต่ ละรู แล้วจึงวางไข่ในรดู ังกลา่ ว และใส่อาหารเพิ่มเติมจนเพียงพอแลว้ ก็จะปิดรแู ล้ว บินจากไปโดยไมย่ ้อนกลับมาดูอกี ตัวอ่อนที่อยใู่ นรจู ะได้อาหารและจะเจริญเติบโต เปน็ ตัวเต็มวยั แล้วเจาะรูบินออกสู่ภายนอกและเมือ่ มีการผสมพนั ธ์ุหมาร่าเพศเมยี ก็ จะแสดงพฤติกรรมเล้ียงดูตวั อ่อนแบบเดียวกนั ได้ ท้ังทีไ่ ม่เคยเหน็ แม่ของมนั แสดงมา ก่อน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 18 - พฤติกรรมการกล้ิงไข่เข้ารัชของห่านเกรย์แลค (graylag goose) โดยมันจะ พยายามนาไข่กลบั เข้ารงั โดยใช้จะงอยปากลา่ งแตะกบั ไข่และการยืดคอเพื่อ พยายามกล้งิ ไขเ่ ข้าสู่รัง พฤติกรรมนีเ้ มื่อเริ่มต้นแล้วห่านจะแสดงพฤติกรรมเชน่ นี้ ต่อเนื่องกันจนนาไข่เข้ารังเรยี บร้อย แมว้ ่าระหว่างกาลงั กล้ิงไข่กลบั มานั้นหากนาไข่ ออกเสียกอ่ นห่านยังคงแสดงพฤติกรรมเชน่ นตี้ ่อไปจนจบ - การสร้างรงั ของนกประกอบดว้ ยพฤติกรรมย่อยๆ หลายพฤติกรรม เช่น การ หาวัสดทุ ่นี ามาสร้างรัง การหาท่ที ีเ่ หมาะทีจ่ ะสรา้ งรงั และแบบของรงั ท่จี ะ สร้าง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะในนกแต่ละชนิด

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 19 - การชักใยของแมงมมุ พบว่าแมงมุมแต่ละชนิดมแี บบแผนการชักใยเปน็ ของตัวเองโด เฉพาะพฤติกรรม รีเฟลก็ ซ์แบบต่อเนือ่ งนี้มีประโยชน์โดยตรงต่อสัตว์ในแง่การช่วย ดารงเผ่าพันธ์ุของสัตว์ให้คงอยตู่ ่อไป เพราะการแสดง ออกส่วนมากจะเกี่ยวกับการหา อาหาร การสร้างท่อี ยู่ ตลอดจนการสืบพนั ธ์ุและการเลยี้ งดูลูกออ่ นของสตั ว์

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ 20 พฤติกรรมการเรียนรู้ เปน็ พฤติกรรมของสัตว์ที่อาศัยประสบการณ์หรือการเรียนรู้เกีย่ วข้องกบั ระบบ ประสาท สตั ว์จะต้องมคี วามสามารถในการจา สัตว์ที่มวี ิวฒั นาการของระบบประสาทสูงจะ มีความสามารถในการจามากขึ้น ทาให้มกี ารเรียนรู้ได้มาก ขึ้น การเรียนรู้ (learning) คือ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ซึง่ เกดิ โดยอาศัย ประสบการณ์ในอดตี แต่ไม่ใชเ่ นือ่ งมาจากการมีอายมุ ากขนึ้ สัตว์แต่ละชนิดจะมี ความสามารถในการเรียนรู้ไดไ้ มเ่ ทา่ กันขึ้นอยู่กบั การเจริญและพฒั นาของระบบ ประสาท

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 21 ประเภทของพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ได้แก่ 1.การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชันหรือความเคย ชิน (habituation) 2.การเรียนรู้แบบฝังใจ (imprinting) 3.การเรียนรู้แบบมีเงือ่ นไข (conditioning หรือ conditioned response หรือ 4.การเรียนรู้แบบลองผิดลองถกู (trial and error learning ) 5.การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning หรือ insight learning)

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ การเรียนรูแ้ บบแฮบบิชเู อชนั 22 การเรียนรู้แบบแฮบชูเอชันเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้แบบที่ง่ายทีส่ ุด คือ การ ตอบสนองของสตั ว์ต่อส่งิ เร้าใดๆ ที่ไม่มผี ลอะไรสาหรับมันทีเ่ กดิ ซ้าซาก โดยการค่อยๆ ลด การตอบสนองลง จนในที่สุดจะหยุดการตอบสนองท้ังๆ ทีก่ ารกระตุ้นจากสิ่งเร้ายงั คงมี อยู่ เปน็ การเรียนรู้ทีต่ ้องอาศัยความจาเปน็ พื้นฐาน คือ จาส่งิ เร้าทีม่ ากระตุ้นได้ จงึ เกิด การเรียนรู้ว่าสิง่ ใดมีประโยชน์มโี ทษอย่างไร การแสดงพฤติกรรมแบบนี้สมั พันธ์กับสมอง สว่ นเซรีบรัมมากทีส่ ุด ตวั อย่างการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชนั เช่น - ในลกู นก เมื่อมีเสยี งดงั มากหรือมีส่งิ ผ่ามาเหนือหวั มันจะหมอบลงหรือบิน หนี แต่ถา้ เกดิ ซา้ หลายๆ ครั้ง โดยไมม่ ีอันตรายต่อมนั มนั จะนิ่งอยู่เฉยๆ ไมต่ อบสนองต่อ ส่งิ เร้าทีม่ ากระตุ้นนีเ้ ลย - ในหนุ่ ไล่กา ตอนทีท่ าใหม่ๆ นกในบริเวณนั้นไม่เคยเห็นมาก่อน จงึ บนิ หนี ต่อมาพบว่าไม่มผี ลเสยี ต่อตวั มนั จงึ ไม่บนิ หนีอกี และอาจบนิ ไปเกาะหุ่นไล่กาเลย - ถ้ายา้ ยบ้านจากบริเวณเงยี บๆ มาอยู่ขา้ งทางรถไฟ ตอนแรกๆ จะรู้สึก ตกใจและราคาญ ทาให้นอนไมห่ ลบั ต่อมาเมือ่ ไม่มผี ลต่อตัวเอง กจ็ ะคุ้นกบั เสียงรถไฟ ถึงแมจ้ ะนอนหลบั อยู่อาจจะไม่รวู้ ่ามีรถไฟแลน่ ผ่านก็ได้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 23 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชนั ในคนอาจมีประโยชน์ในแง่ท่วี ่าเมื่อเกิดการเรียนรู้ แบบนีแ้ ล้ว การตื่นเต้นตกใจจากเหตกุ ารณ์ทีม่ ากระตุ้นจะลดน้อยลง ทาให้หัวใจและระบบ การทางานของร่างกาย ซึง่ ทางานมากในขณะทีต่ กใจกลบั เปน็ ปกติ แต่อาจมโี ทษในแงท่ ี่ เมื่อละเลยไมต่ อบสนองต่อสง่ิ กระตุ้น เช่น การเตือนภยั เมื่อเกิดภยั ขนึ้ จริงๆ กอ็ าจเป็น อันตรายได้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 24 การเรียนร้แู บบฝังใจ การเรียนรู้แบบฝงั ใจเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ทีม่ ลี กั ษณะสาคญั ดงั นี้ 1.เป็นพฤติกรรม ทีม่ กี ารทางานร่วมกันระหว่างพนั ธุกรรมและการเรียนรู้ โดยชว่ งเวลาการเรียนรู้จะถูก ควบคมุ โดยพันธุกรรม ทาให้สตั ว์แต่ละชนิดชว่ งเวลาในการเรียนรู้แบบฝังใจต่างกนั แต่จะ เหมือนกันในสัตว์ชนิดเดียวกนั ซึง่ เรียกช่วงระยะเวลานีว้ ่า ระยะวิกฤติ (critical period หรอื sensitive period) 2.อาจแสดงในระยะแรกเกิด หรือภายหลงั เมื่อเจริญเติบโตแลว้ ขึ้นแล้ว จะไมแ่ สดงออก หรือถูกปิดบงั ไปโดยพฤติกรรมการเรียนรู้แบบอื่นๆ 3.ความฝงั ใจทเ่ี กดิ ขนึ้ อาจจาไปตลอดชวี ิต หรืออาจฝงั ใจเพยี งระยะ หนึง่

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 25 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝงั ใจ แบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. การเรียนรู้แบบฝงั ใจทเ่ี กดิ ในระยะแรกเกิดของ สตั ว์ (parental imprinting) 2. การเรียนรู้แบบฝังใจทเ่ี กดิ ในระยะหลังเมื่อเจริญเติบโตขนึ้ (sexual imprinting)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 28 1. การเรียนรู้แบบฝงั ใจทเ่ี กดิ ในระยะแรกเกิดของสัตว์ (parental imprinting) สว่ นใหญ่เป็น พฤติกรรมทีม่ ีการติดตามพ่อแม่ เช่น การเดินตามแมห่ า่ นของลกู หา่ นเมือ่ แรกเกิด พฤติกรรม แบบนีจ้ ะทาให้เกิดความผูกพันระหว่างลูกกับแม่ การอยู่ใกลช้ ดิ กนั จะชว่ ยใหพ้ ่อแม่สามารถ ป้องอนั ตรายใหแ้ กล่ กู และลูกจะได้มโี อกาสเรียนรู้จากแม่ ทาให้รู้จกั เพื่อนร่วมสปชี ีส์ จะ สง่ ผลใหม้ ีพฤติกรรมทางสังคมที่ถกู ต้องเมือ่ เติบโตขึน้ 2. การเรียนรู้แบบฝังใจท่เี กดิ ในระยะหลงั เมื่อเจริญเติบโตขึ้น (sexual imprinting) เปน็ พฤติกรรมที่ต่อเนื่องมาจาก parental imprinting ที่ทาให้สตั ว์แต่ละชนิด จดจาพวกเดียวกนั ได้ เมือ่ ถึงระยะสืบพนั ธ์ุ จงึ มีการเลือกสตั ว์เพศตรงข้ามท่ีเป็นสปชี สี ์เดียวกันได้อยา่ งถกู ต้อง การผสมพนั ธุ์ต่างสปีชีส์จงึ เกิดขึ้นได้ยาก แมว้ ่าสัตว์เหลา่ นั้นจะมีรปู ร่างลักษณะตลอดจน โครงสรา้ งคลา้ ยคลงึ กนั แต่มกี ารผสมพนั ธ์ุน้อยมาก เช่น นกนางนวลแต่ละสปีชีส์จะแตกต่าง กนั ที่สีตาและสีทว่ี งรอบดวงตา เมื่อทดลองสับเปลย่ี นไข่ระหว่างต่างสปชี ีส์กนั ละระบายสีรอบ ดวงตาของแม่นกทีฟ่ กั ไข่ เมื่อลูกนกทีฟ่ กั ออกจากไขโ่ ตขึน้ ถึงระยะสืบพนั ธ์ุไดจ้ ะเลือกคู่ผสม พนั ธ์ุกับนกทีม่ ีสีรอบดวงตาเหมือนกบั ที่มันเหน็ ในระยะแรกเกดิ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 27 ตวั อย่างการเรียนรู้แบบฝงั ใจ - การทดลองของ ดร.คอนราด ซี ลอเรนซ์ (Dr. Conrad Z Lorenz) ใน พ.ศ. 2478 โดยทดลองฟักไข่ห่านจาบกตู้ฟกั ไข่ เมือ่ ลกู หา่ นฟักออกจากไข่ สง่ิ แรกท่าลกู ห่าน เห็น คือ ดร.ลอเรนซ์ ได้ทดลองฟกั ไข่ห่านอีกหลายครั้ง จนในที่สดุ สรุปได้ว่า ลกู ห่าน ที่เพิ่งฟักออกมาจากไขจ่ ะเดินตามวตั ถทุ ีเ่ คลือ่ นทีแ่ ละส่งเสียงได้ทีเ่ ห็นเป็นคร้ังแรก หลงั จากทีฟ่ กั ออกจากไข่ นอกจากนี้ ดร.ลอเรนซ์ ยังพบว่าลกู หา่ นจะเริ่มเกิดการ เรียนรู้แบบฝ่ังใจในช่วงประมาณ 36 ชั่วโมงแรกหลังจากทีฟ่ กั ออกมาจากไข่ ถ้าพ้น ระยะนี้ไปแลว้ จะไมเ่ กดิ การเรียนรู้แบบฝังใจเลย แมส้ ง่ิ เร้าน้ันจะเปน็ แมม่ ันเองกต็ าม

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 28 - ปลาแซลมอนจะฝังใจต่อกลน่ิ ที่ไดส้ ัมผสั เมือ่ ออกจากไข่ และเมื่อโตขึ้นถึงชว่ ง วางไข่ก็จะว่ายทวนน้ากลบั ไปวางไขย่ งั บริเวณแหล่งน้าจืดทีเ่ คยฟกั ออกจากไข่ ข้อสงั เกต พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝงั ใจนี้ บางพฤติกรรมอาจเกดิ ขนึ้ ภายหลัง แม้จะมี การเรียนรู้ในระยะแรกกต็ ามการพิจารณาว่าพฤติกรรมนั้นๆ ของสตั ว์เปน็ การเรียนรู้แบบ ฝงั ใจหรือไม่น้ัน จงึ ต้องอาศัยการทดลอง เพราะพฤติกรรมแบบนีอ้ าจแสดงในภายหลัง จากการเรยี นรู้ผ่านไปแลว้ เปน็ เวลานานๆ กไ็ ด้ เช่น การร้องเพลงของนก - พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝังใจมี ผลต่อการดารงพันธุ์ของสิ่งมีชีวติ ทาให้สัตว์ มีโอกาสอยู่รอดได้มากขึ้นเพราะไดรับการดูแลจากพ่อแม่ และการทีเ่ ลือกคู่ผสมพันธ์ุกับ สัตว์ในสปชี ีส์เดียวกันได้ จงึ ทาใหไ้ มม่ ีการผสมพันธุ์ต่างสปีชีส์แต่ละสปชี ีสจ์ ึงดารงพันธุ์อยู่ ได้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 29 การเรียนรแู้ บบมี เง่อื นไข การเรียนรู้แบบมเี งอ่ื นไข เปน้ พฤติกรรมของสตั วืที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อ ส่งิ เร้า 2 ชนิดที่มากระตุ้นตามลาดบั ดงั นี้ 1. เมื่อมีส่งิ เร้าชนิดแรกซึง่ เรียกว่า สง่ิ เรา้ แท้จริงหรือส่งิ เร้าท่ไี มม่ ี เงอ่ื นไข (unconditioning stimulus) มากระตุ้นสตั ว์จะแสดงการตอบสนองท่มี ีแบบแผนปกติ ต่อสง่ิ เร้ารั้น 2. ขณะที่คงมกี ารกระตุ้นจากสง่ิ เร้าชนิดแรก เมือ่ นาส่งิ เร้าชนิดที่ 2 ซึง่ เรียกว่า สิ่งเรา้ ไม่ แทจ้ ริงหรือส่งิ เร้าท่มี เี ง่อื นไข (conditioning stimulus) มา กระตุ้นพร้อมกบั สิ่งเร้าชนิดแรกและใหม้ ีการกระตุ้นจากสง่ิ เร้าชนิดที่ 2 เพียงอย่างเดียว สตั ว์จะ มีการตอบสนองท่มี ีการตอบสนองทม่ี ีแบบแผนเหมือนกับที่กระตุ้นดว้ ยสิ่งเร้าชนิดแรก ทั้งๆ ทีโ่ ดย ปกติแลว้ สง่ิ เร้าชนิดที่ 2 ไมท่ าให้เกิดการตอบสนองเลย

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 30 ตวั อย่างการเรียนรู้แบบมเี งื่อนไข เช่น - การทดลองของอิวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) นกั จิตวิทยาชาวรัสเซีย ซึ่งทดลองกบั สุนขั พบว่า ตามปกติเมือ่ ใหอ้ าหารสุนขั สนุ ขั จะแสดงพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ คือ มีน้าลายไหล ออกมาทันทีท่กี ินอาหาร เนือ่ งจากมีการนากระแสประสาทจากตุ่มรบั รสที่ลนิ้ (tasle bud) ผ่านไปท่สี มอง แล้วส่งมาตามเซลล์ประสาทนาคาสัง่ ไปทต่ี ่อมน้าลาย (salivary gland) กระตุ้นให้น้าลายไหล ในการทดลองตอนแรกพาฟลอฟสน่ั กระดิ่งพบว่า สนุ ขั ไม่สดงพฤติกรรม น้าลายไหล ต่อมาจงึ สน่ั กระดง่ิ พร้อมกับใหอ้ าหารและทาเชน่ นตี้ ิดต่อกันหลายๆวนั ในทีส่ ดุ เมื่อ สน่ั กระด่งิ เพียงอย่างเดียว สุนขั กน็ ้าลายไหลได้ทงั้ ๆ ที่ไม่มอี าหารซึ่งพาฟลอฟอธิบาย ว่า พฤติกรรมของสุนัขเชน่ นี้ มีการตอบสนองต่อส่งิ เร้า 2 ชนิด คือ อาหาร ซึง่ เปน็ ส่งิ เร้าทไ่ี มม่ ี เงื่อนไข เพราะเป็นตัวกระตุ้นให้สนุ ขั น้าลายไหลไดต้ ามธรรมชาติกบั เสยี งกระดง่ิ ซึง่ เปน็ สิ่งเร้าท่ี มีเงื่อนไข เพราะสนุ ัขเกิดการเรียนรู้ว่าเมื่อไดย้ ินเสยี งกระด่งิ กจ็ ะไดก้ ินอาหารด้วย ต่อมาแม้จะ ส่นั กระดง่ิ เพียงคร้ังเดียวกย็ ังคงกระตุ้นให้แสดงพฤติกรรมเหมือนกบั เมื่อกระตุ้นสิ่งเร้าทงั้ 2 อย่าง คือ น้าลายไหล ซึ่งเป็นปฏิกิริยารีเฟลก็ ซ์ นั่นคือ ส่งิ เร้า 2 ชนิด เกดิ ความสมั พันธ์ กัน โดยสง่ิ เร้าชนิดที่ 2 (เสียงกระดิ่ง) ไปแทนทีส่ ิ่งเร้าชนิดแรก (อาหาร) และชกั นาใหเ้ กดิ พฤติกรรมเดยี วกนั ได้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 31 การทดลองของพาฟลอฟสรุปเปน็ แผนภาพได้ ดังนี้ รูปแสดงการเกิดพฤติกรรมแบบการมีเง่ือนไขในสนุ ขั

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 32 พฤติกรรมการมีเงือ่ นไขในพลานาเรีย พบว่า เมือ่ ฉายแสงไปยังพลานาเรีย มันจะ ตอบสนองแสงสว่างดว้ ยการยืดตัวยาวออก เมื่อกระตุ้นดว้ ยกระแสไฟฟ้าออ่ นๆ มนั จะ ตอบสนองดว้ ยการหดตวั ส้ันเข้า ถ้าให้แสงแล้วตามด้วยการปล่อยกระแสไฟฟ้าโดยทา แบบนีซ้ ้ากัน 100 คร้ัง จะพบว่าในที่สดุ เมือ่ นาพลานาเรียอยู่ในที่มีแสง แมจ้ ะไม่ กระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า ก็จะหดตัวได้ พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงือ่ นไขมีประโยชน์ คือ ใช้เปน็ หลกั ในการฝึกหัดสัตว์ชนิด ต่างๆ สาหรับในสัตว์ที่ระบบประสาทเจริญดี เช่น สัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยน้านมอาจใชก้ ารมี เงื่อนไขฝึกให้แสดงพฤติกรรมที่ยุ่งยากหรือการแสดงที่แปลกซึ่งไมได้มมี าแต่ กาเนิด เช่น การฝึกสุนัข ม้า ลงิ สงิ โต ให้สามารถแสดงละครสตั ว์ต่างๆได้

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 33 การเรียนรู้แบบลองผดิ ลองถูก การเรียนร้แู บบลองผิดลองถูก เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกดว้ ยการ ที่สตั ว์มโี อกาสทดลองการตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยท่ยี งั ไมร่ บั รู้ว่าเมื่อตอบสนอง ไปแลว้ จะเกิดผลดหี รือผลเสยี หรือไม่ ผลของการของการตอบสนองจะทาให้ สัตว์เกิดการเรียนรู้ทเ่ี ลือกตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่มี ีผลดตี ่อตวั เอง และหลีกเลย่ี ง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ที าให้เกิดผลเสยี พฤติกรรมการเรียนรู้แบบนี้ในสัตว์ ต่างชนิดกันจะใชเ้ วลาไม่เท่ากัน สัตว์ที่มรี ะบบประสาทเจรญิ ดีจะสามารถ เรียนรู้จากการลองผิดลองถกู ไดร้ วดเรว็ และสามารถเรียนรู้จากสถานการณ์ท่ี ซับซ้อนได้มากกวา่ สตั ว์ทม่ี ีระบบประสาทเจริญดอ้ ยกว่า เนื่องจากมกี ารพฒั นา ของสมองท่ที าหน้าทีเ่ กี่ยวกบั การจาดีกวา่ การพิจารณาว่า สัตว์มีพฤติกรรม เรียนรู้แบบลองผิดลองถูกไดด้ หี รือไม่น้ัน ดไู ดจ้ ากจานวนครั้งทีผ่ ิดน้อยลง และ สามารถเรียนรู้จากสถานการณ์ท่ซี ับซ้อนได้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 34 ตวั อย่างการเรียนรู้แบบลองผิดลองถกู เช่น - การทีค่ างคกเห็นผึง้ จะใช้ล้นิ ตวตั จบั ผึ้งกินเป็นอาหารแลว้ ถูกต่อย ต่อมาเมื่อคางคกเหน็ ผึ้งอีกคร้ัง จงึ ไม่กนิ ผึง้ อกี - การเลือกทางเดนิ ของไสเ้ ดือนดนิ ทีอ่ ยู่ในกลอ่ งรปู ตวั T โดยมีด้านหนึง่ ท่มี ืดและชื้นกับอีก ดา้ นหนึ่งที่มกี ระแสไฟฟ้าอ่อนๆ พบว่า ในการทดลองซา้ ๆ กนั ไม่ตา่ กว่า 200 ครั้ง ไส้เดือนดนิ ที่ผ่านฝึกมาแล้วจะเลือกทางไดถ้ กู คือ เคลือ่ นทีไ่ ปทางทม่ี ืด และชื้น ประมาณร้อยละ 90 แต่ในระยะก่อนฝึกโอกาสที่ไสเ้ ดือนดนิ จะเลือกทางถูกหรือ ผิดมรี ้อยละ 50 เทา่ นั้น

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 35 การเรียนรแู้ บบใช้เหตผุ ล การเรียนร้แู บบใชเ้ หตุผล เปน็ พฤติกรรมการเรียนรู้ข้ันสูงสุดที่ แสดงออกด้วยการแก้ไขปญั หาทีพ่ บเห็นได้อยา่ งถกู ต้องโดยไมจ่ าเป็นต้องอาศยั การทดลองทาถึงแมว้ ่าปัญหานั้นจะเป็นสิ่งที่เคยพบเห็นมาก่อนหรือไม่กต็ ามสัตว์ท่ี จะแสดงพฤติกรรมแบนี้ไดแ้ กส่ ตั ว์เลยี้ งลูกดว้ ยนมเพราะมีสมองส่วนเซรีบรับเจริญ ดกี ว่าสตั ว์ชนิดอืน่ ๆมคี วาม สามารถในการรับรู้ (perception) ว่าปัญหาหรือสิ่งเร้า น้ันคืออะไรแลว้ ยงั มีความสามารถในการสรา้ งแนวคิดเหน็ (concept) สาแก้ปัญหา ตลอดจนมีการใชค้ วามจา (memory) ในสิ่งทีเ่ คยเรียนรู้มาก่อนจากประสบการณ์ แกป้ ญั หาให้ลุลว่ งไปได้อยา่ งเหมาะสม

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 36 ตัวอย่างการเรียนรู้แบบใช้เหตุผล การแก้ปัญหาของลิงชมิ แปนซี (chimpanzee) ในการหยบิ ของท่อี ยู่ท่สี งู หรือไกล เมือ่ นากล้วยไปหอ้ ยไว้บนเพดานซึ่งลิงชมิ แปนซีเอื้อมถึง ลงิ ชิมแพนซีสามารถ แกไ้ ขปัญญาไดโ้ ดยนาลงั ไมม้ าซ้อนกันจนสูงพอแลว้ ปีนขนึ้ ไปหยบิ กลว้ ย

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 38 4. ความสัมพันธ์ระหวา่ งพฤตกิ รรมกับพฒั นาการของระบบประสาท พฤติกรรมแต่ละแบบของสง่ิ มชี วี ิตที่แสดงออกมาจะมีความสมั พันธ์กับระบบประสาทของ ส่งิ มชี วี ิตชนิดนั้น ส่งิ มชี วี ิตระดบั แรกๆ เช่น พวกโพรทิสต์ จะมีพฤติกรรมเปน็ แบบไคนิซิส และแทกซิสเทา่ นั้น สว่ นในสตั ว์ชนั้ สูง เช่นสัตว์เล้ยี งลกู ด้วยนม จะมีพฤติกรรมทีซ่ ับซ้อนกว่า มี ท้ังพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง และพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเปน็ พฤติกรรมชั้นสงู ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และระบบประสาท

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 29

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 39

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 40 การสอื่ สารระหว่างสัตว์ การสือ่ สาร เป็นพฤติกรรมทางสังคมของสตั ว์ เพราะมีการส่งสัญญาณทาให้สตั ว์ซึ่ง ได้รบั สัญญาณ มีพฤติกรรมเปล่ยี นแปลงไป สัตว์ทุกชนิดต้องมีการสื่อสารอย่างน้อย ในช่วงใดชว่ งหนึง่ ของชวี ิตโดยเฉพาะช่วงที่มกี ารสืบพนั ธุ์ การศึกษาวิจยั ที่เก่ยี วกบั การ สื่อสารจึงมักจะกระทากับสตั ว์ทีม่ พี ฤติกรรมทางสงั คมซบั ซ้อน เช่น ผึ้ง ปลวก มดและ สตั ว์เลีย้ งลูกดว้ ยนม ท้ังนี้เพราะ เมื่อสตั ว์เหลา่ นมี้ าอยู่รวมกันมากจะมีการแบง่ หน้าที่ กนั ทางาน จงึ ต้องมีการสื่อสารกันตลอดเวลา 1. การสือ่ สารด้วยเสียง ( Sound Communication) 2. การสื่อสารดว้ ยท่าทาง ( Visual Communication 3. การสื่อสารด้วยสารเคมี ( Chemical Communication) 4. การสื่อสารด้วยการสมั ผัส (Tactile Communication)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 41 1. การสื่อสารดว้ ยเสยี ง ( Sound Communication) เสยี งของสัตว์ทีเ่ ปลง่ ออกมา ในแต่ละคร้ังจะแสดงถึงการตอบสนองสิ่งเร้าต่างๆ และสื่อความหมายที่แตกต่างกนั เช่น - เสียงที่ทาให้เกิดการรวมกลุ่ม เช่น เสียงของนกร้อง ไก่ แกะ และกระรอก - เสียงเรียกคู่เพื่อผสมพันธ์ เช่น เสียงร้องของกบและคางคก เสียงขยบั ปีกของยงุ ตวั เมยี เพือ่ เรียกยงุ ตวั ผู้ - เสียงเตือนภัย เช่น เสียงร้องของเป็ด นก และเสยี งเหา่ ของสุนขั - เสียงแสดงความโกรธ เช่น เสียงร้องของแมว สนุ ขั และชา้ ง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 42 2. การสื่อสารด้วยทา่ ทาง ( Visual Communication ) เปน็ ท่าทางท่สี ัตว์แสดง ออกมาอาจจะเปน็ แบบง่ายๆ หรืออาจมีหลายขั้นตอนที่สัมพนั ธ์กัน เช่น - การแยกเขีย้ วของแมว - การเปลี่ยนสขี องปลากดั ขณะต่อสกู้ ัน - สุนขั หางตกเมือ่ ต่อสู้แพ้และวิ่งหนี - นกยูงตัวผู้ราแพนหางขณะเกยี้ วพาราสี นกยูงตวั เมีย - การเต้นระบาของผึง้ เพือ่ บอกแหล่งและปริมาณของอาหาร ถ้าแหล่งอาหารอยู่ ใกล้ จะเต้นเปน็ รปู วงกล,แต่ถา้ แหลง่ อาหารอยู่ไกล จะเต้นคลา้ ยรูปเลขแปด และมี การสา่ ยก้นไปมาด้วย โดยถ้าส่ายกน้ เร็ว แสดงว่าปริมาณอาหารมีมาก

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 3. การสอ่ื สารด้วยสารเคมี ( Chemical Communication) 43 สตั ว์หลายชนิดใชส้ ารเคมีทีเ่ รียกว่า ฟโี รโมน ( Pheromone ) ซึง่ เป็นสารเคมีทีส่ ัตว์สร้างขึน้ เมื่อหลง่ั ออกมาภายนอกร่างกายจะมีผล ต่อสตั ว์อื่นทีเ่ ป็นชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดพฤติกรรมต่างๆได้ เช่น - ดงึ ดูดเพศตรงข้าม เช่น การทีผ่ ีเสื้อกลางคืนตวั เมยี หลัง่ สารเคมีออกมา เพื่อใหด้ งึ ดูด ผีเสื้อกลางคืนตวั ผู้ที่อยหู่ า่ งหลายกิโลเมตรให้บนิ มาหาได้ หรือการที่ชะมดหล่งั สารเคมี ทีด่ ึงดดู เพศตรงข้ามได้ - บอกอาณาเขต เช่น กวางบางชนิดจะแตะสารเคมีกบั ต้นไม้เพือ่ บอกอาณาเขต และ การที่เสือดาวหรือสุนัขถ่ายปัสสาวะไว้ในทีต่ ่างๆ เพือ่ บอกอาณาเขต - นาทาง เชน่ การหาอาหารของมด มดจะใชป้ ลายท้องแตะทีพ่ ื้นแล้วปล่อยสารเคมี ออกมาเป็นระยะๆทาให้มดตวั อื่นๆ ติดตามไปยงั แหล่งอาหารได้ถูก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 44 - นาทาง เชน่ การหาอาหารของมด มดจะใชป้ ลายท้องแตะที่พื้นแล้วปล่อยสารเคมี ออกมาเป็นระยะๆทาให้มดตัวอืน่ ๆ ติดตามไปยงั แหลง่ อาหารไดถ้ กู

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 45 4. การสอ่ื สารด้วยการสัมผสั (Tactile Communication) เปน็ การสื่อสารโดยใช้อวัยวะสว่ นใดสว่ นหนึ่งสัมผสั กบั สตั ว์พวกเดยี วกันหรือต่างพวก กัน เพือ่ นกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมโต้ตอบกนั การสัมผัสเปน็ การสือ่ สารทีส่ าคัญอย่างหนึง่ ของสตั ว์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสัตว์เล้ยี งลกู ด้วยนม การสมั ผสั จะเปน็ การถ่ายทอดความรัก และมีส่วนสาคญั ต่อการพฒั นาของลกู อ่อน ทาให้ลกเกดิ ความรู้สึกอบอุ่นและปลอดภยั ตัวอย่างสัตว์ทีม่ กี ารสือ่ สารด้วยวิธนี ี้ ได้แก่

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 46 - สนุ ขั เข้าไปเลียปากสุนขั ตัวที่เหนือกว่า เพื่อบ่งบอกถงึ ความเป็นมิตรหรืออ่อนน้อม ดว้ ย - ลงิ ชิมแพนซียื่นมือใหล้ งิ ตวั ที่มอี านาจเหนือกว่าจับในลกั ษณะหงายมือให้จับ - ลูกนกนางนวลบางชนิดใช้จะงอยปากจกิ ทีจ่ ะงอยปากของแม่นกเพื่อขออาหาร

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 47 5.อวัยวะรบั ความรสู้ ึก อวยั วะรบั ความรู้สกึ หมายถึง อวยั วะที่รบั รู้การเปลีย่ นแปลงพลังงานในรปู ต่างๆ ให้เป็น กระแสประสาทและนากระแสประสาทดังกล่าวไปยังสมองเพื่อแปลเปน็ ความรู้สกึ และการ รับรู้ต่างๆอวยั วะสมั ผัส แบง่ ตามชนิดของพลังงานทีม่ ากระตุ้นได้เปน็ 2 ประเภทคือ 1. อวยั วะรบั ความรสู้ ึกพิเศษ (special sense organ) ได้แก่ อวยั วะรับ ความรู้สกึ จากสารเคมี แสง หรือ เสยี ง คือ จมูก-ล้นิ รบั ภาพ คือ ตา รับเสียง คือ หู 2. อวยั วะรบั ความรู้สึกทั่วๆไป (general sense organs) คือ ผิวหนงั

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 48 นยั นต์ าและการมองเหน็ ตาเปน็ อวัยวะทีส่ าคญั ที่สุดในการรบั รู้สิง่ ต่างๆ ที่อยรู่ อบตัวมนษุ ย์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 49 1. อวยั วะภายนอกลูกตา ( external eye segment ) ประกอบด้วย 1. คิ้ว ( eyebrows ) 2. ขนตา ( eyelashes or cillia ) 3. เปลือกตาหรือหนังตา ( eyelid ) 4. เบา้ ตา ( orbit ) 5. เยื่อบุตา ( conjunctiva ) 6. ระบบท่อระบายน้าตา ( lacrimal system )

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมของสัตว์ 50 2. อวยั วะภายในลูกตาส่วนหนา้ ( anterior eye segment ) ประกอบด้วย กระจกตา ( cornea ) ตาขาว ( sclera ) น้าเอเควียส ( aqueous humor ) ชอ่ งหน้าม่านตา ( anterior chamber ) และมุมของชอ่ งหน้าม่านตา ( anterior chamber angle ) ชอ่ งหลังม่านตา ( posterior chamber ) สว่ นของ ยูเวีย ( uveal tract ) แบง่ เป็น 3 สว่ น คือ 1. ม่านตา ( iris ) 2. ซีเลียรี บอดี ( cilliary body ) 3. คอรอยด์ ( choroid ) สว่ นนี้จัดอยู่ในอวัยวะภายในลกู ตาส่วนหลัง 4. แกว้ ตา ( lens )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook