Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลยหนังสือเรียน วิชาภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี

เฉลยหนังสือเรียน วิชาภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี

Published by skcmth2014, 2019-06-08 22:24:13

Description: เฉลยหนังสือเรียน วิชาภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี

Search

Read the Text Version

178 ภาษเี งินไดน้ ติ บิ ุคคลกับการบัญชี กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนให้ผู้เรียนปฏิบัติทุกข้อหรือเลือกปฏิบัติเป็นบางข้อตาม ความเหมาะสม โดยผสู้ อนใหค้ ะแนนการท�ำ กจิ กรรมตามเกณฑข์ องใบสรปุ ผลการท�ำ กจิ กรรมและสามารถน�ำ ผลการ ทำ�กจิ กรรมไปเทียบกับการให้คะแนนกับตารางวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของเนอ้ื หากบั จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมได้ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ค�ำชแี้ จง กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรูป้ ระกอบด้วยกจิ กรรมหลากหลายท่ีฝึกทกั ษะทกุ ด้านตาม จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมเพื่อให้เกิดสมรรถนะในการเรยี นรู้ สามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ทงั้ ในและนอกสถานท่ตี ามความเหมาะสมของผเู้ รียนและสิ่งแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา 1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยสมาชิกของแต่ละกลุ่มไปหาข้อมูลการซื้อขายจากร้านค้า ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนแล้วนำ�ข้อมูลมาจัดทำ�รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย บันทึกรายการ ในสมุดรายวันท่ัวไป พร้อมนำ�เสนอผลงานหน้าช้ันเรียนของแต่ละกลุ่ม เพื่อการแลกเปล่ียน ความคดิ เห็นของแต่ละกลุ่ม 2. ให้ผู้เรียนจับคู่ร่วมกันจัดทำ�ผังความคิดและประโยชน์จากการเรียน เรื่อง การบันทึกบัญชีเก่ียวกับ ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สรปุ ผลการทำ� กิจกรรม ค�ำช้แี จง ให้ประเมินผลการท�ำกิจกรรม โดยเขยี นเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง ตามความเปน็ จรงิ ความรู้ (K) ทักษะ (P) คณุ ลักษณะ (A) เกณฑก์ ารประเมิน ความร้ ู ความเข้าใจ การปฏิบัติงานที่ไดร้ บั การมมี นุษยสมั พันธ์ใน ท�ำ เคร่อื งหมาย ✓ การน�ำ ไปใช้ การวเิ คราะห์ มอบหมายเสร็จตามเวลา การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ในแต่ละตอน 3 ขอ้ การสงั เคราะห์ ทกี่ �ำ หนด ความมวี นิ ัย ตรงตอ่ เวลา คอื ผา่ นการประเมิน การประเมนิ คา่ การปฏิบัตงิ านดว้ ยความ ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต การศกึ ษาค้นคว้า ละเอยี ด รอบคอบ ปลอดภยั ในการท�ำ งาน 1. ความรู้ (K) เรยี บรอ้ ย สวยงาม ประพฤติตนด้วยความ ผ่าน ไม่ผา่ น การแสวงหาแหล่งขอ้ มลู ความสมบรู ณข์ องงาน ถูกตอ้ งตามศีลธรรม 2. ทักษะ (P) และการรวบรวมข้อมลู การปฏบิ ตั งิ านทีท่ ำ�ใหเ้ กิด อนั ดีงาม ผา่ น ไม่ผ่าน การแสดงความคิดเหน็ เจตคติทีด่ ีในการปฏบิ ัติ 3. คุณลกั ษณะ (A) อย่างมเี หตผุ ล หรือแสดง สมรรถนะแก่ผ้เู รียน ขัน้ ตอนและกระบวนการ ทักษะการวางแผน การคิด กจิ กรรม ผ่าน ไมผ่ ่าน ท�ำ กจิ กรรม สรา้ งสรรค์ การออกแบบ ความพอเพียงและความ การหาประสบการณ์ การผลิต พอประมาณ ความรใู้ หม่ การตัดสินใจในการแก้ปญั หา หมายเหตุ เกณฑ์การประเมินผลการท�ำกิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินว่าผู้เรียนเกิดสมรรถนะจากการเรียนรู ้ ตามบริบทตา่ งๆ หรอื ไม่ โดยแบง่ เป็นเปน็ 3 ด้าน คอื ความรู้หรอื พทุ ธพิ สิ ยั = Knowledge (K) ทักษะหรือทกั ษะพิสยั = Practice (P) คุณลกั ษณะหรือจิตพิสยั = Attitude (A)

เฉลยอยูใ่ นภาคผนวกหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกบั ภาษมี ูลคา่ เพ่ิม 179 แบบทดสอบ ตอนท่ี 1 จงตอบค�ำ ถามต่อไปน ี้ ผู้สอนให้ผู้เรียนทำ�แบบทดสอบ จากนั้นให้ผู้เรียน 1. ใบก�ำ กับภาษีคืออะไร มีก่ชี นิด แลกกันตรวจคำ�ตอบ โดยผู้สอนเป็นผ้เู ฉลย 2. ข้อแตกต่างของผ้ปู ระกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพม่ิ ในอตั ราร้อยละ 7 กับรอ้ ยละ 0 สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)3. รายการใดบา้ งทีท่ �ำ ให้ภาษซี ้อื เพม่ิ ข้นึ 4. การบันทึกรายการปดิ บัญชีภาษมี ูลค่าเพิ่มท�ำ เพ่อื อะไร 5. ขอ้ แตกต่างระหวา่ งใบเพิ่มหนก้ี ับใบลดหนี้ ตอนท่ี 2 จงตอบค�ำ ถามต่อไปน ้ี 1. บรษิ ทั มานะชยั จ�ำ กดั เปน็ บรษิ ทั ผลติ จกั รยานไดซ้ อ้ื วสั ดเุ พอ่ื ใชใ้ นการผลติ จกั รยาน ในเดอื น มกราคม 25xx ดังนี้ โครงเหลก็ 100 โครง ๆ ละ 1,200 บาท วงลอ้ จักรยาน 200 วง ๆ ละ 800 บาท กระจกส่องทา้ ย 200 อัน ๆ ละ 50 บาท ตระกร้าหนา้ รถ 100 อนั ๆ ละ 100 บาท อัตราภาษีมูลค่าเพ่ิมของวสั ดุ อัตรารอ้ ยละ 7 ใหท้ �ำ 1. ค�ำ นวณภาษีซ้ือ 2. บนั ทกึ รายการซื้อวสั ดุทีใ่ ช้ในการประกอบรถจักรยานในสมุดรายวนั ทั่วไป 2. จากโจทย์ข้อที่ 1 บรษิ ทั มานะชยั จำ�กัด ขายจกั รยานในเดือน มกราคม 255xx ไดจ้ ำ�นวน 800,000 บาท ซ่ึงเปน็ ราคาทีไ่ ม่รวมภาษมี ลู คา่ เพิ่ม 7% ใหท้ �ำ 1. คำ�นวณภาษีขาย 2. บันทกึ รายการขายรถจกั รยานและภาษีมูลค่าเพม่ิ ในสมดุ รายวันทัว่ ไป 3. ร้านยืนยงพาณิชย์ จดทะเบยี นภาษีมลู ค่าเพิ่ม 7% มรี ายการคา้ ในเดือน มถิ ุนายน 25xx 25xx ม.ิ ย 1 ซ้ือสนิ ค้าเป็นเงนิ สด จำ�นวน 15,000 บาท 5 ซอ้ื สินค้าเปน็ เงนิ เช่อื จ�ำ นวน 20,000 บาท 7 ขายสินค้าเป็นเงนิ สด จ�ำ นวน 17,000 บาท 16 สง่ คนื สินค้าทซ่ี อ้ื มาเม่อื วนั ที่ 5 ราคาสนิ ค้า จ�ำ นวน 2,000 บาท 20 รบั คืนสินค้าที่ขายเป็นเงนิ สด จำ�นวน 750 บาท 27 ขายสนิ ค้าเปน็ เงินเชอ่ื จ�ำ นวน 5,000 บาท 30 จ่ายชำ�ระหนีท้ ซ่ี ื้อเมอ่ื วนั ที่ 5 ไดส้ ว่ นลด 2% ให้ท�ำ 1. บันทกึ รายการในสมุดรายวันทัว่ ไป 2. ค�ำ นวณภาษีมูลค่าเพมิ่ ของเดอื นมิถุนายน. 25xx 3. บนั ทึกรายการเกีย่ วกบั ภาษีมูลคา่ เพม่ิ ในวนั ที่ 30 มิถุนายน 25xx

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)180 ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คลกับการบัญชี 4. บริษัท ยูบีฟู้ด จำ�กัด เป็นบริษัทผลิตอาหารสำ�เร็จรูป ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม 7% มีรายการเกีย่ วกับการซื้อขายสินทรัพย์ในเดือน เมษายน 25xx ดังน้ี 25xx เม.ย. 1 ซอ้ื สินค้าตามเงอื่ นไข 2/10,n/30 ราคา 50,000 บาท 5 ซือ้ เคร่ืองใช้ส�ำ นกั งานเปน็ เงินเชอื่ มาใช้ในกิจการ 25,000 บาท 7 ขายสินค้าเป็นเงินเชือ่ 9,000 บาทเงอื่ นไข 2/10,n/30 10 ได้รบั เครดิตโน้ตมลู ค่าสินค้า 500 บาท จากการซ้ือสินคา้ วนั ท่ี 1 เม.ย. 18 ซอ้ื วัสดุสำ�นักงานเป็นเงินสด 1,800 บาท 20 ชำ�ระหนท้ี ีซ่ ื้อมาเม่อื วนั ท่ี 1 เม.ย. 25xx 24 ขายสินค้าเปน็ เงินเช่อื 28,000 บาท 25 รบั ชำ�ระหนค้ี ่าสนิ ค้าที่ขายไปเม่อื วนั ที่ 7 เม.ย. 25xx 28 ขายสนิ ค้าเปน็ เงินสด 40,000 บาท 30 จา่ ยคา่ เชา่ อาคาร จ�ำ นวน 50,000 บาท ให้ท�ำ 1. บันทึกรายการขา้ งตน้ ในสมดุ รายวนั ท่วั ไป 2. คำ�นวณภาษมี ูลค่าเพิ่มของเดือน เมษายน 25xx 3. บนั ทึกรายการภาษีมลู ค่าเพม่ิ ในวนั ท่ี 30 เมษายน 25xx 5. บรษิ ทั ตน้ นํา้ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การซอ้ื ขายเสอ้ื ผ้าส�ำ เรจ็ รปู ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพมิ่ รอ้ ยละ 7 มรี ายการค้าทเ่ี กิดขนึ้ ในเดอื น กันยายน 25xx ดงั นี้ 25xx ก.ย. 1 ขายสินค้าเปน็ เงินเช่ือในร้านดวงดาว จำ�นวน 50,000 บาทเงอ่ื นไข 2/10,n/30 2 ซอ้ื สินค้าเปน็ เงินเชื่อจากบรษิ ทั ดวงดี จำ�กดั จ�ำ นวน 80,000 บาท เงอ่ื นไข 2/10,n/30 4 ซื้อรถยนตใ์ หพ้ นักงานขายเป็นเงิน 640,000 บาทชำ�ระเป็นเงินสด จ�ำ นวน 300,000 บาท ที่เหลอื จะชำ�ระในเดือนถดั ไป 10 รับชำ�ระหนจี้ ากร้านดวงดาวทั้งหมด 15 ขายสนิ ค้าเป็นเงนิ สด จำ�นวน 100,000 บาท 19 จ่ายคา่ ขนส่งสนิ ค้าให้ลูกค้า จำ�นวน 1,000 บาท 20 รบั คนื สนิ ค้าทีข่ ายเมอ่ื วนั ที่ 15 กันยายน เน่อื งจากสนิ ค้าช�ำ รดุ จำ�นวน 2,000 บาท 22 จ่ายคา่ โฆษณา จ�ำ นวน 5,000 บาท 28 จา่ ยคา่ เลยี้ งรับรองลูกค้า จำ�นวน 6,000 บาท 30 ปิดบญั ชีภาษีซื้อ ภาษขี ายและบัญชภี าษีมูลค่าเพิม่ ให้ท�ำ บันทึกรายการข้างต้นในสมดุ รายวันท่วั ไป

การบันทึกบัญชีเก่ยี วกบั ภาษมี ลู ค่าเพิ่ม 181 แบบประเมนิ ตนเอง ค�ำช้ีแจง ตอนท่ี 1 ให้ผู้เรียนประเมินผลการเรยี นรู้ โดยเขยี นเคร่ืองหมาย ✓ลงในช่องระดบั คะแนน และเตมิ ข้อมลู ตามความเปน็ จรงิ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ระดับคะแนนตอนท่ี 1 5 : มากท่สี ดุ 4 : มาก 3 : ปานกลาง 2 : นอ้ ย 1 : ควรปรบั ปรงุ ตอนที่ 2 ใหผ้ เู้ รียนน�ำคะแนนจากแบบทดสอบมาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ ง และเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องสรุปผล ตอนที่ 1 (ผลการเรียนรู้) 5 4 3 2 1 ตอนท่ี 2 (แบบทดสอบ) รายการ แบบทดสอบ 1. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจในเนอ้ื หา คะแนน 2. ผเู้ รียนไดท้ �ำกิจกรรมทสี่ อดคล้องกบั เนอ้ื หาและจดุ ประสงค์ (ขอ้ ละ 2 คะแนน) การเรยี นรู้ สรปุ ผล 3. ผู้เรยี นไดเ้ รียนและท�ำกจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ กระบวนการคดิ เกดิ การค้นพบความรู้ 9-10 (ดีมาก) 7-8 (ดี) 4. ผู้เรียนสามารถประยกุ ตค์ วามรเู้ พอื่ี ใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจ�ำวนั ได้ 5-6 (พอใช้) ต่ํากว่า 5 5. ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้อะไรจากการเรียน (ควรปรับปรงุ ) 6. ผู้เรยี นตอ้ งการท�ำสิ่งใดเพ่อื พัฒนาตนเอง 7. ความสามารถท่ถี ือวา่ ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ของผเู้ รยี น คือ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) บันทึก

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6 ภาษีธุรกจิ เฉพาะ สาระสำ�คญั กิจการทจ่ี ะต้องเสียภาษธี ุรกิจเฉพาะ ได้แก่ การประกอบกจิ การดงั ต่อไปน้ีในราชอาณาจักร โดยกจิ การนัน้ ไมไ่ ด้รบั ยกเวน้ ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1. การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรอื กฎหมายเฉพาะ 2. การประกอบธรุ กจิ เงินทุน ธุรกิจหลกั ทรพั ย์ ธุรกิจเครดติ ฟองซิเอร์ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การประกอบ ธุรกจิ เงนิ ทนุ ธุรกจิ หลกั ทรพั ย์ และธุรกิจเครดติ ฟองซเิ อร ์ 3. การรบั ประกนั ชีวิต ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกันชีวิต 4. การรับจ�ำ น�ำ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรบั จ�ำ น�ำ 5. การประกอบกจิ การโดยปกตเิ ย่ียงธนาคารพาณชิ ย์ เชน่ การใหก้ ้ยู ืมเงนิ ค�้ำ ประกนั แลกเปลี่ยนเงนิ ตรา ออกซอื้ หรือขายต๋ัวเงิน หรือรบั ส่งเงินไปตา่ งประเทศดว้ ยวิธตี ่างๆ ในกรณีท่ีมีปัญหาว่า กิจการใดเป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์หรือไม่ อธิบดีกรม สรรพากรจะเสนอใหค้ ณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ภาษอี ากรพจิ ารณาก�ำ หนดขอบเขตและเงอื่ นไขของการประกอบกจิ การ ดังกล่าวน้ันก็ได้และเมื่อคณะกรรมการวินิจฉัย ภาษีอากรได้วินิจฉัยแล้ว ให้ประกาศคำ�วินิจฉัยน้ันใน ราชกจิ จานุเบกษา 6. การขายอสงั หาริมทรัพย์เปน็ ทางคา้ หรือหากำ�ไร ไม่ว่าอสังหารมิ ทรพั ย์น้ันจะได้มาโดยวิธีใดกต็ าม ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 (ใชบ้ งั คับตง้ั แต่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้น

สาระการเรียนรู้ 1. ผูม้ หี นา้ ที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ 2. กจิ การท่ตี อ้ งเสียภาษธี ุรกจิ เฉพาะ 3. กิจการที่ไดร้ ับการยกเวน้ ไมต่ ้องเสยี ภาษธี ุรกจิ เฉพาะ 4 ฐานภาษี และอตั ราภาษี 5. ผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ 6. การคำ�นวณและการบัญชีภาษธี ุรกจิ เฉพาะ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมรรถนะประจำ�หน่วย 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั ภาษีธุรกิจเฉพาะ 2. ประยกุ ต์ความรเู้ กย่ี วกบั ภาษธี รุ กจิ เฉพาะในชีวิตประจ�ำ วันและการประกอบอาชีพ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหรอื แสดงกระบวนการทศั น์เกย่ี วกบั ผูม้ หี นา้ ที่เสยี ภาษธี รุ กิจเฉพาะได้ 2. อธิบายหรือแสดงกระบวนการทัศนเ์ ก่ียวกบั กิจการท่ีต้องเสียภาษีธรุ กจิ เฉพาะได้ 3. อธบิ ายหรอื แสดงกระบวนการทศั นเ์ กยี่ วกบั กจิ การทไี่ ดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะได้ 4. อธบิ ายหรือแสดงกระบวนการทัศน์เก่ยี วกับฐานภาษี และอตั ราภาษไี ด้ 5. อธบิ ายหรอื แสดงกระบวนการทัศนเ์ ก่ยี วกบั ผูป้ ระกอบกิจการทีต่ อ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะได้ 6. คำ�นวณและทำ�บัญชีภาษีธรุ กิจเฉพาะได ้ 7. มเี จตคติทีด่ ใี นการเรยี น เร่อื ง ภาษธี รุ กิจเฉพาะ และรักษค์ ่านยิ มหลัก12 ประการของไทย ผังสาระการเรียนรู้ ผ้มู หี นา้ ทีเสียภาษีธรุ กจิ เฉพาะ กจิ การที่ต้องเสียภาษธี รุ กิจเฉพาะ ภาษีธรุ กิจ กิจการทีไ่ ดร้ ับการยกเว้นไมต่ อ้ งเสยี ภาษีธุรกิจเฉพาะ เฉพาะ ฐานภาษี และอัตราภาษี ผูป้ ระกอบกิจการทตี่ ้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ การคำ�นวณและการบัญชีภาษีธรุ กจิ เฉพาะ

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)210 ภาษีเงนิ ไดน้ ิตบิ คุ คลกบั การบญั ชี เฉลยอยใู่ นภาคผนวกหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ ค�ำชแี้ จง กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจเป็นกจิ กรรมฝึกทกั ษะเฉพาะ ด้านความร-ู้ ความจ�ำ เพื่อใชใ้ นการตรวจสอบความเข้าใจตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี 1. ผู้มีหนา้ ที่เสยี ภาษีธรุ กจิ เฉพาะไดแ้ ก่บุคคลใด (จ.1) 2. กจิ การประเภทใดมหี น้าทเี่ สยี ภาษธี รุ กิจเฉพาะ (จ.2) 3. กจิ การประเภทใดไดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ ้องเสียภาษธี ุรกิจเฉพาะ (จ.3) จ. หมายถึง ตรงตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 ข้อที่ ...

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ภาษธี รุ กิจเฉพาะ 211 4. ฐานภาษสี �ำ หรับธรุ กิจเฉพาะไดแ้ กอ่ ะไร จงอธบิ ายโดยสังเขป (จ.5) 5. การจดั เกบ็ ภาษเี ฉพาะประเภทธนาคาร จากฐานดอกเบยี้ สว่ นลด คา่ ธรรมเนยี ม เกบ็ ในอตั ราอะไรบา้ ง (จ.5) 6. จงอธบิ ายหลักการเกีย่ วกบั การค�ำ นวณและการทำ�บญั ชีธรุ กจิ เฉพาะ โดยสังเขป (จ.6)

212 ภาษเี งินได้นติ ิบคุ คลกับการบัญชี กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนให้ผู้เรียนปฏิบัติทุกข้อหรือเลือกปฏิบัติเป็นบางข้อตาม ความเหมาะสม โดยผสู้ อนใหค้ ะแนนการท�ำ กจิ กรรมตามเกณฑข์ องใบสรปุ ผลการท�ำ กจิ กรรมและสามารถน�ำ ผลการ ท�ำ กิจกรรมไปเทียบกบั การใหค้ ะแนนกบั ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของเนอ้ื หากบั จุดประสงค์รายวชิ าสมรรถนะรายวชิ า และจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมได้ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ค�ำช้แี จง กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ยกจิ กรรมหลากหลายท่ีฝึกทักษะทุกด้านตาม จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมเพื่อใหเ้ กดิ สมรรถนะในการเรียนรู้ สามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ท้ังในและนอกสถานทีต่ ามความเหมาะสมของผู้เรียนและสงิ่ แวดลอ้ มของสถานศกึ ษา 1. ใหผ้ ู้เรียนค้นหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ เชน่ ทางอินเทอร์เน็ต เรอื่ ง ธรุ กจิ ท่ตี ้องเสียภาษีธุรกจิ เฉพาะ จัดทำ�สรุป ผู้สอนสุมผู้เรียนนำ�เสนอข้อมูลสรุปหน้าช้ันเรียน 3-5 คน โดยเพ่ือนร่วมชั้นเรียน รว่ มแสดงความคิดเห็นเพ่มิ เติม 2. ให้ผู้เรยี นจัดท�ำ ผงั ความคดิ เรื่อง ภาษีธุรกจิ เฉพาะ โดยระบุประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการเรียนรู้ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สรปุ ผลการทำ� กจิ กรรม ค�ำช้แี จง ให้ประเมินผลการท�ำกิจกรรม โดยเขียนเคร่ืองหมาย ✓ลงในช่อง ตามความเป็นจรงิ ความรู้ (K) ทกั ษะ (P) คุณลักษณะ (A) เกณฑ์การประเมิน ความร้ ู ความเขา้ ใจ การปฏบิ ตั งิ านท่ไี ดร้ บั การมมี นษุ ยสัมพันธ์ใน ท�ำ เครื่องหมาย ✓ การนำ�ไปใช้ การวเิ คราะห์ มอบหมายเสร็จตามเวลา การปฏิบัตกิ จิ กรรม ในแตล่ ะตอน 3 ขอ้ การสงั เคราะห์ ท่กี �ำ หนด ความมีวนิ ัย ตรงตอ่ เวลา คอื ผา่ นการประเมิน การประเมนิ คา่ การปฏิบัตงิ านด้วยความ ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต การศกึ ษาค้นควา้ ละเอียด รอบคอบ ปลอดภยั ในการท�ำ งาน 1. ความรู้ (K) เรยี บร้อย สวยงาม ประพฤตติ นดว้ ยความ ผ่าน ไมผ่ ่าน การแสวงหาแหล่งขอ้ มูล ความสมบรู ณ์ของงาน ถูกตอ้ งตามศลี ธรรม 2. ทักษะ (P) และการรวบรวมขอ้ มูล การปฏิบัตงิ านที่ทำ�ให้เกดิ อันดีงาม ผ่าน ไมผ่ า่ น การแสดงความคดิ เห็น เจตคตทิ ี่ดีในการปฏิบตั ิ 3. คณุ ลักษณะ (A) อย่างมีเหตุผล หรือแสดง สมรรถนะแกผ่ ูเ้ รยี น ข้ันตอนและกระบวนการ ทักษะการวางแผน การคดิ กจิ กรรม ผ่าน ไมผ่ า่ น ท�ำ กจิ กรรม สรา้ งสรรค์ การออกแบบ ความพอเพยี งและความ การหาประสบการณ์ การผลติ พอประมาณ ความรู้ใหม่ การตัดสนิ ใจในการแก้ปญั หา หมายเหตุ เกณฑ์การประเมินผลการท�ำกิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินว่าผู้เรียนเกิดสมรรถนะจากการเรียนรู ้ ตามบรบิ ทตา่ งๆ หรือไม่ โดยแบ่งเปน็ เป็น 3 ด้าน คอื ความรูห้ รือพทุ ธพิ สิ ยั = Knowledge (K) ทักษะหรอื ทักษะพิสัย = Practice (P) คณุ ลักษณะหรือจติ พิสยั = Attitude (A)

ผู้สอนให้ผู้เรียนทำ�แบบทดสอบ จากน้ันให้ผู้เรียน ภาษธี ุรกิจเฉพาะ 213 แลกกันตรวจค�ำ ตอบ โดยผ้สู อนเปน็ ผูเ้ ฉลย เฉลยอยู่ในภาคผนวกหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 แบบทดสอบ 1. บรษิ ทั ธนภัทรประกนั ภัย จำ�กัด มรี ายไดจ้ ากการขายประกนั ชีวิต จำ�นวน 640,000 บาท เมื่อวนั ท่ี 1 มีนาคม 25xx ให้ท�ำ 1. คำ�นวณภาษีธุรกิจเฉพาะ 2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป 2. บรษิ ัท รุง่ เรืองฟาร์ม จำ�กัด ประกอบธุรกจิ จดั สรรที่ดนิ เพือ่ การเกษตร เมอ่ื วันท่ี 1 สงิ หาคม 25xx ไดข้ ายท่ีดินเพ่ือการเกษตรของคนรุน่ ใหม่ จำ�นวน 540,000 บาท ใหท้ �ำ 1. คำ�นวณภาษีธุรกจิ เฉพาะ 2. บนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป 3. โรงรับจ�ำ น�ำ ร่วมมิตร ได้จำ�หนา่ ยของจ�ำ น�ำ ท่ีลูกค้าไม่สามารถมาไถถ่ อนคืนได ้ เมอื่ วนั ท่ี 1 เมษายน 25xx จ�ำ นวน 820,000 บาท ใหท้ ำ� 1. คำ�นวณภาษธี รุ กิจเฉพาะ 2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวันท่วั ไป 4. บรษิ ัท ดวงดปี ระกนั ภัย จำ�กัด ประกอบธุรกจิ ประกนั ภัย โดยไดร้ บั เบย้ี ประกนั ภยั ตามรายการต่อไปน้ี 1 มนี าคม 25xx ไดร้ ับเบ้ยี ประกันอคั คภี ัย จำ�นวน 800,000 บาท 15 มนี าคม 25xx ได้รบั เบ้ยี ประกันชวี ิต จ�ำ นวน 400,000 บาท 28 มนี าคม 25xx ได้รับเบี้ยประกนั รถยนต์ จำ�นวน 200,000 บาท ใหท้ ำ� 1. ค�ำ นวณภาษีธรุ กจิ เฉพาะ 2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวันท่ัวไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)

214 ภาษเี งนิ ไดน้ ิตบิ ุคคลกบั การบญั ชี แบบประเมนิ ตนเอง ค�ำช้แี จง ตอนที่ 1 ให้ผ้เู รียนประเมินผลการเรยี นรู้ โดยเขียนเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ งระดบั คะแนน และเติมขอ้ มูลตามความเป็นจริง สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ระดบั คะแนนตอนท่ี 1 5 : มากที่สุด 4 : มาก 3 : ปานกลาง 2 : นอ้ ย 1 : ควรปรบั ปรุง ตอนท่ี 2 ใหผ้ ูเ้ รียนน�ำคะแนนจากแบบทดสอบมาเติมลงในชอ่ งว่าง และเขยี นเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องสรุปผล ตอนที่ 1 (ผลการเรียนรู)้ 5 4 3 2 1 ตอนที่ 2 (แบบทดสอบ) รายการ แบบทดสอบ 1. ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจในเน้ือหา คะแนน 2. ผูเ้ รียนได้ท�ำกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเนอ้ื หาและจุดประสงค ์ (ขอ้ ละ 2.5 คะแนน) การเรียนรู้ สรปุ ผล 3. ผ้เู รียนได้เรยี นและท�ำกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการคิด เกดิ การค้นพบความรู้ 9-10 (ดมี าก) 7-8 (ดี) 4. ผูเ้ รยี นสามารถประยุกต์ความรเู้ พ่อีื ใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจ�ำวันได้ 5-6 (พอใช)้ ต่ํากว่า 5 5. ผู้เรยี นได้เรยี นรู้อะไรจากการเรยี น (ควรปรับปรุง) 6. ผเู้ รียนต้องการท�ำส่ิงใดเพือ่ พฒั นาตนเอง 7. ความสามารถที่ถือวา่ ผ่านเกณฑป์ ระเมินของผ้เู รยี น คือ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) บันทึก

ภาคผนวกสถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ภาคผนวก 217 ภาคผนวกหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ผู้มหี นา้ ทเ่ี สยี ภาษเี งนิ ได้นติ บิ ุคคล 1) บรษิ ทั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลที่ตงั้ ขนึ้ ตามกฎหมายไทย 2) บรษิ ทั หรือห้างหุ้นส่วนนติ บิ ุคคลท่ีตง้ั ขึ้นตามกฎหมายตา่ งประเทศ 3) กิจการซง่ึ ด�ำ เนินการค้าหรอื หากำ�ไร 4) กิจการรว่ มค้า 5) มลู นิธิหรอื สมาคมทปี่ ระกอบกิจการซึ่งมรี ายได้ แต่ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมทร่ี ฐั มนตรี ประกาศกำ�หนดใหเ้ ปน็ องคก์ ารหรอื สถานสาธารณกศุ ล 6) นิติบุคคลท่ีอธิบดีกำ�หนดโดยอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษาให้เปน็ บรษิ ทั หรือห้างหนุ้ ส่วนนติ ิบุคคลตามประมวลรัษฎากร 2. นิตบิ ุคคลอน่ื ๆ ทีไ่ ม่อย่ใู นเกณฑผ์ มู้ หี น้าที่เสยี ภาษีเงินได้นิติบุคคล และ กระทรวง ทบวง กรม องคก์ าร ของรฐั บาลหรอื สหกรณ์ ไม่มีหนา้ ทีต่ อ้ งเสยี ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คล หรอื อ่ืนๆ ตามดุลยพนิ จิ ของผู้สอน 3. ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล ค�ำ นวณจากเงนิ ไดท้ ใี่ ชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการค�ำ นวณภาษคี ณู ดว้ ยอตั ราภาษที ก่ี �ำ หนด แต่เพื่อความเป็นธรรมและอุดช่องว่างในการจัดเก็บภาษีเงินได้ จึงได้มีการบัญญัติจัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบคุ คล จากเงนิ ได้หรอื ฐานภาษีท่แี ตกต่างกัน 1 ก�ำ ไรสุทธิ 2 ยอดรายไดก้ ่อนหกั รายจ่าย 3 เงินไดท้ ี่ จา่ ยจากหรอื ในประเทศไทย 4 การจำ�หนา่ ย เงนิ กำ�ไรออกไปจากประเทศไทย หรอื อน่ื ๆ ตามดุลยพินจิ ของผ้สู อน 4. ผมู้ ีหนา้ ทีเ่ สียภาษีเงนิ ไดจ้ ากกำ� ไรสุทธิ ได้แก่ 1) บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขนึ้ ตามกฎหมายไทย 2) บริษัทหรือหา้ งหุ้นสว่ นนติ ิบุคคลท่ีต้ังขน้ึ ตามกฎหมายของต่างประเทศ 3) กิจการซ่ึงดำ�เนินการเป็นทางการค้าหรือหากำ�ไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การของรัฐบาล ต่างประเทศ หรอื นิตบิ ุคคลอน่ื ท่ีตั้งข้ึนตามกฎหมายของตา่ งประเทศ 4) กิจการร่วมคา้ ตามประมวลรัษฎากรได้กำ�หนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก กำ�ไรสทุ ธิโดยคำ�นวณจากรายได้ ซ่ึงได้จากกจิ การหรือเน่ืองจากกจิ การทีก่ ระทำ�ในรอบระยะเวลาบัญชี หักดว้ ยรายจ่ายตามเงอ่ื นไขที่ระบไุ วใ้ นมาตรา 65 ทวิ และ มาตรา 65 ตรี หรืออนื่ ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของ ผู้สอน

218 ภาษีเงินไดน้ ติ บิ ุคคลกบั การบัญชี 5. กรณีกิจการขนส่ง 1) กรณรี ับขนคนโดยสาร รายไดเ้ กดิ จากค่าโดยสาร คา่ ธรรมเนียม และประโยชนอ์ น่ื ใดทเ่ี รียกเก็บ ในประเทศไทยกอ่ นหกั รายจา่ ยใดๆ เนอ่ื งในการรบั ขนคนโดยสารนน้ั ใหค้ �ำ นวณภาษอี ตั ราภาษรี อ้ ยละ 3 2) กรณรี บั ขนของ รายได้เกดิ จากค่าระวาง คา่ ธรรมเนยี ม และประโยชน์อื่นใดทเ่ี รยี กเกบ็ ไม่ว่าใน หรือนอกประเทศก่อนหกั รายจ่ายใด ๆ เนอื่ งในการรับขนของออกจากประเทศไทยนนั้ ให้คำ�นวณภาษี อตั รารอ้ ยละ 3 กรณีมลู นธิ ิหรือสมาคม 1) เงนิ ไดป้ ระเภทท่ี 8 เงนิ ไดจ้ ากการธรุ กจิ การพาณชิ ย์ การเกษตร การอตุ สาหกรรม การขนสง่ หรอื การอน่ื ๆ เสยี ร้อยละ 2 ของรายได้กอ่ นหกั รายจ่าย 2) เงินได้อื่นๆ นอกจาก (ข้อ 1) เสียรอ้ ยละ 10 ของรายได้ก่อนหกั รายจ่ายการคำ�นวณภาษเี งนิ ได้ ของมลู นิธิ หรอื สมาคมจะต้องคำ�นวณตามรอบระยะเวลาบญั ชีด้วยหรอื อ่ืนๆ ตามดลุ ยพินิจของผู้สอน 6. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทม่ี ไิ ดป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย และได้รบั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย การเสียภาษีกรณีนี้กฎหมายให้เสียโดยวิธีหักภาษี คือ ผู้จ่ายเงินได้ ดงั กล่าวจะต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมนิ ท่ีจ่ายตามวธิ กี าร คอื 1) เงินได้พงึ ประเมนิ มาตรา 40 (2) (3) (4) (5) และ (6) ยกเวน้ มาตรา 40 (4) (ข) ให้คำ�นวณหักภาษี ในอัตราร้อยละ 15 2) เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) (ข) ให้คำ�นวณหักภาษีในอัตราร้อยละ 10 หรืออ่ืนๆ ตามดลุ ยพนิ ิจของผสู้ อน 7. ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยน่ื ณ สำ�นักงานสรรพากรพืน้ ที่สาขาในท้องที่ทีส่ ำ�นกั งานใหญ่ตั้งอยู่ในเขต จังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ ที่ว่าการอำ�เภอหรือก่ิงอำ�เภอท้องท่ีท่ีสำ�นักงานใหญ่ต้ังอยู่ ในกรณีสำ�นักงาน สรรพากรอำ�เภอมิได้ต้ังอยู่ ณ ที่ว่าการอำ�เภอให้ย่ืน ณ สำ�นักงานสรรพากรอำ�เภอ หรืออื่นๆ ตามดุลยพินจิ ของผู้สอน สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)

ภาคผนวก 219 ภาคผนวกหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ก�ำ ไรสทุ ธติ ง้ั แต่ 0 - 300,000 บาท จดั เกบ็ ในอตั รารอ้ ยละ 0 ก�ำ ไรสทุ ธติ ง้ั แต่ 300,001 - 1,000,000 บาท จดั เกบ็ ในอตั รารอ้ ยละ 15 ก�ำ ไรสทุ ธติ ง้ั แต่ 1,000.001 บาทขน้ึ ไป จดั เกบ็ ในอตั รารอ้ ยละ 20 บรษิ ทั จดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ย์ จดั เกบ็ จากก�ำ ไรสทุ ธิ ในอตั รารอ้ ยละ 20 หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. การคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำ�ไรสุทธิ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีมีหน้าท่ีเสียภาษี เงินได้นิติบุคคลจากกำ�ไรสุทธิและต้องคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคล และย่ืนแบบแสดงรายการและ ช�ำ ระภาษปี ลี ะ 2 ครง้ั หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. เม่อื ส้นิ รอบระยะเวลาบัญชี การคำ�นวณกำ�ไรสุทธิของบริษัทหรือห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคลให้คำ�นวณกำ�ไร สทุ ธโิ ดยนำ�กำ�ไรสุทธิดังกลา่ วคูณด้วยอัตราภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล จะไดภ้ าษเี งินไดน้ ิตบิ คุ คลทต่ี ้องช�ำ ระ ถา้ คำ�นวณก�ำ ไรสทุ ธิออกมาแลว้ ปรากฏว่าไมม่ กี �ำ ไรสทุ ธิ หรอื ขาดทุนสุทธิ บรษิ ทั ไม่ตอ้ งเสยี ภาษเี งนิ ได้ นติ บิ คุ คล หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 4. มี 2 กรณคี อื 1. แบบ ภ.ง.ด. 51 เปน็ แบบการเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลครง่ึ รอบระยะเวลาบญั ชี 2. แบบ ภ.ง.ด.50 เปน็ แบบการเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลสน้ิ รอบระยะเวลาบญั ชหี รอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 5. การเสยี ภาษเี ปน็ เรอ่ื งทค่ี วรรแู้ ละหนา้ ทท่ี พ่ี งึ ตอ้ งปฏบิ ตั ิผเู้ รยี นสามารถน�ำ ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชพี และปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได ้ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)

220 ภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ ุคคลกับการบญั ชี เฉลยแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 2 ขอ้ ท่ี 1 1. การค�ำ นวณการช�ำ ระภาษเี งนิ ไดง้ วดแรก ก�ำ ไรสทุ ธโิ ดยประมาณ = 1,600,000 บาท จ�ำ นวนภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลของปี 25xx = 1,600,000 Ö 30 %  ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลงวดแรก = 240,000 / 2 = 120,000 บาท 2. สมดุ รายวันทั่วไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ส.ค. 31 ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจา่ ยลว่ งหนา้ 120,000 - 120,000 - เงินสด จา่ ยภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ ุคคลครง่ึ รอบ ระยะเวลาบัญชี หมายเหตุ ช�ำ ระภายใน 2 เดอื นนบั จากวนั สดุ ทา้ ยของทกุ 6 เดอื นแรกของรอบระยะเวลาของปี ขอ้ ท่ี 2 1. การค�ำ นวณการช�ำ ระภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล = 1,800,000 Ö 15 % = 270,000 บาท  ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลทต่ี อ้ งช�ำ ระเพม่ิ เตมิ = 270,000 - 120,000 = 150,000 บาท สมดุ รายวันทว่ั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 270,000 - 120,000 - ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลจา่ ยลว่ งหนา้ 150,000 - ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลคา้ งจา่ ย บนั ทกึ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลสน้ิ งวดบญั ชี ม.ี ค. 5 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลคา้ งจา่ ย 150,000 - เงนิ สด 150,000 - น�ำ สง่ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลใหก้ รมสรรพากร

ภาคผนวก 221 ขอ้ ท่ี 3 1. การค�ำ นวณก�ำ ไรสทุ ธเิ พอ่ื การเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล ประจ�ำ ป ี 25x5 ก�ำ ไรสทุ ธปิ ระจ�ำ ป ี 2555 450,000 บวก คา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี มถ่ อื เปน็ รายจา่ ย (รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม) 90,000 สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 540,000 เงนิ บรจิ าค 50,000 170,000 จ�ำ นวนทจ่ี า่ ยใหท้ ายาทของพนกั งาน 40,000 470,000 รวม 9,215 460,785 หกั บนั ทกึ การขายอาคารสงู ไป 100,000 เงนิ ปนั ผลทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ จากบรษิ ทั ไมจ่ ดทะเบยี น 30,000 จากบรษิ ทั จดทะเบยี น 40,000 ก�ำ ไรสทุ ธกิ อ่ นหกั เงนิ บรจิ าค หกั เงนิ บรจิ าค (470,000 Ö 2 / 102 ) ก�ำ ไรสทุ ธเิ พอ่ื เสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล  ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล = 460,785 Ö 15 % = 69,117.75 บาท สมุดรายวนั ทว่ั ไป พ.ศ. 25x5 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วันที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 69,117 75 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลคา้ งจา่ ย บนั ทกึ ปรบั ปรงุ บญั ชภี าษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 69,117 75 ปลายปี พ.ศ. 25x5 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 5 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 69,117 75 เงนิ สด 69,117 75 น�ำ สง่ ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลใหก้ รมสรรพากร

222 ภาษเี งนิ ได้นติ บิ คุ คลกับการบัญชี ขอ้ ท่ี 4 1. การค�ำ นวณเงนิ ไดส้ �ำ หรบั แสดงรายการใน ภ.ง.ด.51 ยอดขายกอ่ นหกั รายจา่ ย 27,800,000 หกั รายจา่ ยตลอดปภี าษ ี 17,950,000  คงเหลอื ก�ำ ไรสทุ ธ ิ 9,850,000 หกั ผลขาดทนุ ยอ้ นหลงั 5 ป ี 2,050,000  ก�ำ ไรสทุ ธ ิ 7,800,000 ก�ำ ไรสทุ ธคิ รง่ึ หนง่ึ ทน่ี �ำ มาค�ำ นวณภาษี (2.4) = 3,900,000 2,700,000 Ö 15 % = 405,000 4,800,000 Ö 20 % = 960,000  ภาษที ต่ี อ้ งช�ำ ระทง้ั สน้ิ 1,365,000 หกั ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 600,000  ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลทช่ี �ำ ระเพม่ิ เตมิ 765,000 2. ขอ้ ท่ี 5 สมดุ รายวนั ทว่ั ไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ี ค. 31 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 765,000 - 765,000 - เงนิ สด จา่ ยภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลครง่ึ รอบระยะเวลาบญั ชี 1. ค�ำ นวณก�ำ ไรสทุ ธเิ พอ่ื เสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 2,670,000 85,000 ก�ำ ไรสทุ ธติ ามบญั ช ี 15,000 2,585,000 บวก คา่ ซอ่ มแซมบนั ทกึ เกนิ ไป คา่ เชา่ รถยนตบ์ นั ทกึ เกนิ ไป 20,000 1,970,000 คา่ การกศุ ลเพอ่ื การศกึ ษา 50,000 รวม หกั เงนิ ปนั ผล (ครง่ึ หนง่ึ ) ขาดทนุ สะสมยอ้ นหลงั 3 ป ี 240,000 ก�ำ ไรสทุ ธกิ อ่ นหกั เงนิ บรจิ าค 1,730,000 615,000

ภาคผนวก 223 หกั เงนิ บรจิ าค 12,058  ก�ำ ไรสทุ ธเิ พอ่ื เสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 602,942 2. ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลของปี 25x5 = 602,942 Ö 15 % = 90,441.30 บาท 3. สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมุดรายวันท่วั ไป พ.ศ. 25x5 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. มี.ค. 31 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล 90,441 30 180,882 60 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลคา้ งจา่ ย จา่ ยภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลรอบระยะเวลาบญั ชี

224 ภาษเี งนิ ไดน้ ิตบิ ุคคลกบั การบญั ชี ภาคผนวกหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ผมู้ ภี าษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย เปน็ ผจู้ า่ ยเงนิ ไดใ้ นฐานะบคุ คลธรรมดา หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั หรอื คณะบคุ คลท่ี มใิ ชน่ ติ บิ คุ คล บรษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล กจิ การรว่ มคา้ มลู นธิ หิ รอื สมาคม หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. ฐานภาษีหมายถงึ สง่ิ ทเ่ี ปน็ มลู เหตขุ น้ั ตน้ ทท่ี �ำ ใหบ้ คุ คลตอ้ งเสยี ภาษอี ากร หรอื สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ฐานในการประเมนิ ภาษอี ากร อตั ราภาษอี ากร คอื อตั ราทก่ี ฎหมายภาษอี ากรฉบบั นน้ั ๆ ก�ำ หนดใหเ้ สยี ภาษอี ากรตามอตั ราท่ี ระบไุ วใ้ นกฎหมายภาษอี ากรนน้ั หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. ผทู้ ม่ี หี นา้ ทห่ี กั ภาษเี งนิ ได้ ณ ทจ่ี า่ ย ตามประมวลรษั ฎากร ตอ้ งจดั ท�ำ เอกสาร ดงั น้ี 1. จดั ท�ำ บญั ชพี เิ ศษแสดงรายการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ย และน�ำ สง่ ตามทอ่ี ธบิ ดกี �ำ หนด 2. หนงั สอื รบั รองการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยหรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 4. ผทู้ ม่ี หี นา้ ทห่ี กั ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย ตอ้ งน�ำ สง่ ตามแบบทอ่ี ธบิ ดกี �ำ หนด ณ ส�ำ นกั งานสรรพากรพน้ื ทส่ี าขา ในเขตทอ้ งท่นี ้นั ภายใน 7 วนั นบั แตว่ ันส้นิ เดือนของเดอื นทห่ี กั ภาษีเงินได้หัก ณ ท่จี ่ายหรืออน่ื ๆ ตาม ดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 5. การค�ำ นวณภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลหกั ณ ทจ่ี า่ ย ตามหลกั เกณฑแ์ ละอตั ราภาษที ก่ี ฎหมายก�ำ หนดแบง่ ออกได้ เปน็ สองกรณี ดงั น้ี1. กรณที ม่ี ภี าษมี ลู คา่ เพม่ิ 2. กรณไี มต่ อ้ งเสยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของ ผสู้ อน สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)

ภาคผนวก 225 เฉลยแบบทดสอบหน่วยท่ี 3 ขอ้ ท่ี 1 บนั ทกึ รายการลงในบญั ชพี เิ ศษแสดงการหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยและการน�ำ สง่ ภาษี วนั รวมจ�ำ นวนเงนิ ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย ประจ�ำ วนั การน�ำ สง่ ภาษี หมายเหตหุ รอื บนั ทกึ การตรวจ เดอื นปี หกั จากบคุ คลธรรมดา แบบ เลขท่ี จ�ำ นวนเงนิ ของเจา้ พนกั งาน ทใ่ี ชย้ น่ื ใบเสรจ็ รายการ รบั เงนิ ประเมนิ สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)หกั จากบรษิ ทั หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล มาตรา 3 อน่ื ๆ มาตรา อน่ื ๆ เตรส 3 เตรส ม.ี ค. 5 3,000 12 250 15 100 27 800 31 100 รวม 250 200 3,800 เม.ย. 7 ภ.ง.ด. 1 03/115 200 ภ.ง.ด. 53 03/116 4,050 4,250 ขอ้ ท่ี 2 300,000 บาท 1. ค�ำ นวณภาษเี งนิ ได้ หกั ณ ทจ่ี า่ ย 21,000 บาท ตดิ ตง้ั แผงโฟโตโวลเทอกิ 321,000 บาท บวก ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 9,000 บาท รวม 312,000 บาท หกั ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย  จะไดร้ บั เงนิ ไดส้ ทุ ธ ิ

226 ภาษเี งินได้นติ ิบุคคลกบั การบญั ชี 2. การบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไปของ บรษิ ทั ฟา้ ใส จ�ำ กดั สมุดรายวนั ทัว่ ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. 300,000 - 312,000 - 21,000 - 9,000 - สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)ก.ย. 1 คา่ จา้ ง ภาษซี อ้ื เงนิ สด ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย บนั ทกึ การจา่ ยคา่ จา้ งพรอ้ มการหกั ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ต.ค. 7 ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 9,000 - 9,000 - เงนิ สด นำ�ภาษเี งนิ ได้หกั ณ ทจี่ า่ ยส่งกรมสรรพากร 3. การบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไปของ บรษิ ทั แมร่ กั ลกู จ�ำ กดั พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. ก.ย. 1 เงนิ สด 312,000 - 300,000 - ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลจา่ ยลว่ งหนา้ 9,000 - 21,000 - รายไดค้ า่ จา้ ง ภาษขี าย บนั ทกึ การรบั คา่ จา้ งพรอ้ มการหกั ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย ขอ้ ท่ี 3 สมุดรายวันท่ัวไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 30 เงนิ สด 19,800 - 20,000 - ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลจา่ ยลว่ งหนา้ 200 - ดอกเบย้ี รบั บนั ทกึ การไดร้ บั ดอกเบย้ี จากธนาคาร

ภาคผนวก 227 ขอ้ ท่ี 4 1. ค�ำ นวณภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล หกั ณ ทจ่ี า่ ย ทด่ี นิ ราคาตลาด 24,000,000 หกั ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย 1 % 240,000  เงนิ ไดส้ ทุ ธ ิ 23,760,000 2. การบนั ทกึ ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 1 ทด่ี นิ 24,000,000 - เงนิ สด 23,760,000 - ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 240,000 - บนั ทกึ การขายทด่ี นิ และหกั ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย ก.ค. 7 ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 240,000 - 240,000 - เงนิ สด น�ำ ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ยสง่ กรมสรรพากร ขอ้ ท่ี 5 10,000,000 1. การค�ำ นวณภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 1,500,000 เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ 40 (2) 8,500,000 หกั อตั ราภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย  เงนิ ไดส้ ทุ ธ ิ 2. การบนั ทกึ ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมุดรายวันทั่วไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. 8,500,000 - ก.ค. 1 คา่ นายหนา้ 10,000,000 1,500,000 - เงนิ สด ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 1,500,000 - บนั ทกึ การจา่ ยคา่ นายหนา้ พรอ้ มการหกั ภาษี หกั ณ ทจ่ี า่ ย ส.ค. 7 ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ย 1,500,000 - เงนิ สด น�ำ ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ยสง่ กรมสรรพากร

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)228 ภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คลกบั การบญั ชี ภาคผนวกหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ภาษีมูลค่าเพ่มิ (Value Added Tax) หรือเรียกย่อๆ ว่า “VAT” เป็นภาษีทางอ้อมท่จี ัดเก็บจากฐาน การบรโิ ภค คอื เกบ็ จากมลู คา่ ของสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ส�ำ หรบั สว่ นทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ในแตล่ ะขน้ั ตอนของการผลติ และ จ�ำ หนา่ ยสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารชนดิ ตา่ งๆ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มี 3 ประเภท คอื 1) ผปู้ ระกอบการ 2) ผนู้ �ำ เขา้ 3) ผทู้ ก่ี ฎหมายก�ำ หนด ใหม้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เปน็ กรณพี เิ ศษ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. ผปู้ ระกอบการทไ่ี มต่ อ้ งจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ไดแ้ ก่ 1) ผปู้ ระกอบการทม่ี รี ายรบั จากการขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารไมเ่ กนิ 1.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี 2) ผปู้ ระกอบการทข่ี ายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารทไ่ี ดร้ บั ยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ตามกฎหมาย 3) ผปู้ ระกอบการทใ่ี หบ้ รกิ ารจากตา่ งประเทศ และไดม้ กี ารใชบ้ รกิ ารนน้ั ในราชอาณาจกั ร 4) ผู้ประกอบการท่ีอยู่นอกราชอาณาจักรและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ ในราชอาณาจกั รเปน็ ครง้ั คราว 5) ผ้ปู ระกอบการอ่นื ตามท่อี ธิบดีจะประกาศกำ�หนดเม่อื มีเหตุอันสมควรหรืออ่นื ๆ ตามดุลยพินิจของ ผสู้ อน 4. การประกอบกจิ การทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 1) ผปู้ ระกอบกจิ การ ขายพชื ผลทางการเกษตร สตั ว ์ ไมว่ า่ มชี วี ติ หรอื ไมม่ ชี วี ติ ปยุ๋ ปลาปน่ อาหารสตั ว์ ยา หรอื เคมภี ณั ฑท์ ใ่ี ชส้ �ำ หรบั พชื หรอื สตั ว ์ หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร หรอื ต�ำ ราเรยี น ฯลฯ 2) ผปู้ ระกอบกจิ การขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ าร ซง่ึ ไมไ่ ดร้ บั ยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ตามกฎหมาย และมรี ายรบั ไมเ่ กนิ 1.8 ลา้ นบาท ตอ่ ปี 3) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ในราชอาณาจกั ร โดยอากาศยาน 4) การสง่ ออกของผปู้ ระกอบการในเขตอตุ สาหกรรมสง่ ออก ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การนคิ มอตุ สาหกรรม แหง่ ประเทศไทย 5) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ นา้ํ มนั เชอ้ื เพลงิ ทางทอ่ ในราชอาณาจกั รหรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 5. ภาษซี อ้ื (Input Tax) คอื ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ทผ่ี ปู้ ระกอบการไดจ้ า่ ยใหก้ บั ผขู้ ายสนิ คา้ หรอื ผใู้ หบ้ รกิ ารทเ่ี ปน็ ผจู้ ดทะเบยี น ภาษขี าย (Output Tax) คอื ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ทผ่ี ปู้ ระกอบการไดเ้ รยี กเกบ็ กบั ผซู้ อ้ื สนิ คา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ ผจู้ ดทะเบยี น หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 6. ฐานภาษแี บง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื 1) ฐานเงนิ ได้ 2) ฐานทรพั ยส์ นิ 3) ฐานการใชจ้ า่ ยหรอื การบรโิ ภค อตั ราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มี 2 อตั รา คอื

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ภาคผนวก 229 1) อตั ราภาษี รอ้ ยละ 0 ใชส้ �ำ หรบั การประกอบกจิ การประเภทตา่ งๆ คอื (1) การสง่ ออกสนิ คา้ ทม่ี ใิ ชก่ ารสง่ ออกสนิ คา้ ซง่ึ ไดร้ บั การยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (2) การให้บริการท่ีกระทำ�ในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการน้ันในต่างประเทศให้รวมถึง การให้บริการท่ีกระทำ�ราชอาณาจักรเพ่ือใช้ผลิตสินค้าในเขตปลอดอากรเพ่ือส่งออก และ การใหบ้ รกิ ารทก่ี ระท�ำ ในเขตดงั กลา่ วเพอ่ื ใชผ้ ลติ สนิ คา้ เพอ่ื สง่ ออกดว้ ย (3) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ระหวา่ งประเทศ โดยอากาศยานหรอื เรอื เดนิ ทะเลทก่ี ระท�ำ โดยผปู้ ระกอบการ ทเ่ี ปน็ นติ บิ คุ คลทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายไทย (4) การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารแกก่ ระทรวง ทบวง กรม สว่ นราชการ สว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื รฐั วสิ าหกจิ ตามโครงการเงนิ กู้ หรอื เงนิ ชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ (5) การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารกบั องคก์ ารสหประชาชาติทบวงการช�ำ นญั พเิ ศษของสหประชาชาต ิ สถานเอกอคั รราชทตู สถานทตู สถานกงสลุ ใหญ ่ สถานกงสลุ (6) การขายสนิ คา้ หรอื ากรใหบ้ รกิ ารระหวา่ งคลงั สนิ คา้ ทณั ฑบ์ นกบั คลงั สนิ คา้ ทณั ฑบ์ น หรอื ระหวา่ ง คลังสินค้าทัณฑ์บนกับผ้ปู ระกอบกิจการอย่ใู นเขตอุตสาหกรรมส่งออกหรือผ้ปู ระกอบการกับ ผปู้ ระกอบการในเขตอตุ สาหกรรมสง่ ออก ไมว่ า่ จะอยใู่ นเขตอตุ สาหกรรมเดยี วกนั หรอื ไม่ 2) อตั ราภาษี รอ้ ยละ 10 ใชใ้ นการค�ำ นวณภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ส�ำ หรบั การประกอบกจิ การขายสนิ คา้ การใหบ้ รกิ าร และการน�ำ เขา้ อตั ราภาษนี ใ้ี หล้ ดลงโดยตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า ซง่ึ ในปจั จบุ นั ไดพ้ ระราชกฤษฎกี าลด อตั ราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เหลอื รอ้ ยละ 6.3 และเมอ่ื รวมกบั ภาษที อ้ งถน่ิ อกี รอ้ ยละ 0.7 จะเทา่ กบั รอ้ ยละ 7 หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน เฉลยกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 1. ภาษีมูลค่าเพ่มิ (Value Added Tax) หรือเรียกย่อๆ ว่า “VAT” เป็นภาษีทางอ้อมท่จี ัดเก็บจากฐาน การบรโิ ภค คอื เกบ็ จากมลู คา่ ของสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ส�ำ หรบั สว่ นทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ในแตล่ ะขน้ั ตอนของการผลติ และจ�ำ หนา่ ยสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารชนดิ ตา่ งๆ ในประเทศไทยนน้ั ไดน้ �ำ ระบบภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มาใชแ้ ทน ภาษกี ารคา้ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2535 ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาวการณท์ างดา้ นเศรษฐกจิ ของไทย ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงไป และแกป้ ญั หาตา่ งๆ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ ในระบบภาษกี ารคา้ ดงั น ้ี คอื 1) ขจดั ภาระการเกบ็ ภาษซี า้ํ ซอ้ น 2) ลดความสลบั ซบั ซอ้ น และความยงุ่ ยากในการปฏบิ ตั ขิ องผเู้ สยี ภาษ ี 3) แกป้ ญั หาความ ไมเ่ สมอภาคจากการมอี ตั ราภาษหี ลายอตั รา ซง่ึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเปน็ กลางทางเศรษฐกจิ 4) ลดการหลกี เลย่ี ง การเสยี ภาษ ี 5) เออ้ื อ�ำ นวยตอ่ การลงทนุ และการสง่ สนิ คา้ ออก 2. ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มี 3 ประเภท คอื 1) ผปู้ ระกอบการ 2) ผนู้ �ำ เขา้ 3) ผทู้ ก่ี ฎหมายก�ำ หนด ใหม้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เปน็ กรณพี เิ ศษ 3. การประกอบกจิ การทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 1) ผปู้ ระกอบกจิ การ ขายพชื ผลทางการเกษตร สตั ว ์ ไมว่ า่ มชี วี ติ หรอื ไมม่ ชี วี ติ ปยุ๋ ปลาปน่ อาหารสตั ว์ ยา หรอื เคมภี ณั ฑท์ ใ่ี ชส้ �ำ หรบั พชื หรอื สตั ว ์ หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร หรอื ต�ำ ราเรยี น ฯลฯ

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)230 ภาษเี งนิ ไดน้ ิติบคุ คลกับการบญั ชี 2) ผปู้ ระกอบกจิ การขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ าร ซง่ึ ไมไ่ ดร้ บั ยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ตามกฎหมาย และมรี ายรบั ไมเ่ กนิ 1.8 ลา้ นบาท ตอ่ ปี 3) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ในราชอาณาจกั ร โดยอากาศยาน 4) การสง่ ออกของผปู้ ระกอบการในเขตอตุ สาหกรรมสง่ ออก ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การนคิ มอตุ สาหกรรม แหง่ ประเทศไทย 5) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ น�ำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ทางทอ่ ในราชอาณาจกั ร 4. ฐานภาษีท่ีจะนำ�มาคำ�นวณภาษีมูลค่าเพ่ิมสำ�หรับการขายสินค้าโดยท่ัวไป ได้แก่ มูลค่าท้ังหมดท่ี ผปู้ ระกอบการไดร้ บั หรอื พงึ ไดร้ บั จากการขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ าร รวมทง้ั ภาษสี รรพสามติ ตามทก่ี �ำ หนด ในมาตรา 77/1 (19) ถา้ มมี ลู คา่ ของฐานภาษี ใหร้ วมถงึ เงนิ สง่ิ ของ คา่ ตอบแทน คา่ บรกิ าร หรอื ประโยชน์ ใดๆ ซง่ึ อาจค�ำ นวณไดเ้ ปน็ ตวั เงนิ ยกเวน้ 1) ส่วนลดหรือค่าลดหย่อน ท่ีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ลดให้ในขณะขายสินค้าหรือให้บริการ โดยให้แสดงให้เห็นไว้ชดั แจง้ วา่ ไดม้ ีการหกั ส่วนลดหรอื ค่าลดหยอ่ นไว้ในใบก�ำ กับภาษี ในแต่ละครง้ั ท่ ี ออกใบก�ำ กบั ภาษแี ลว้ 2) คา่ ชดเชย หรอื เงนิ อดุ หนนุ ตามทอ่ี ธบิ ดกี �ำ หนดโดยอนมุ ตั ริ ฐั มนตรี 3) ภาษขี าย 4) คา่ ตอบแทนทม่ี ลี กั ษณะและเงอ่ื นไข ตามทอ่ี ธบิ ดกี �ำ หนดโดนอนมุ ตั ริ ฐั มนตรี 5. อตั ราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มี 2 อตั รา คอื 1) อตั ราภาษี รอ้ ยละ 0 ใชส้ �ำ หรบั การประกอบกจิ การประเภทตา่ งๆ คอื (1) การสง่ ออกสนิ คา้ ทม่ี ใิ ชก่ ารสง่ ออกสนิ คา้ ซง่ึ ไดร้ บั การยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (2) การใหบ้ รกิ ารทก่ี ระท�ำ ในราชอาณาจกั รและไดม้ กี ารใชบ้ รกิ ารนน้ั ในตา่ งประเทศใหร้ วมถงึ การให ้ บรกิ ารทก่ี ระท�ำ ราชอาณาจกั รเพอ่ื ใชผ้ ลติ สนิ คา้ ในเขตปลอดอากรเพอ่ื สง่ ออก และการใหบ้ รกิ ารท่ ี กระท�ำ ในเขตดงั กลา่ วเพอ่ื ใชผ้ ลติ สนิ คา้ เพอ่ื สง่ ออกดว้ ย (3) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ระหวา่ งประเทศ โดยอากาศยานหรอื เรอื เดนิ ทะเลทก่ี ระท�ำ โดยผปู้ ระกอบการ ทเ่ี ปน็ นติ บิ คุ คลทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายไทย (4) การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารแกก่ ระทรวงทบวง กรม สว่ นราชการ สว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื รฐั วสิ าหกจิ ตามโครงการเงนิ กู้ หรอื เงนิ ชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ (5) การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารกบั องคก์ ารสหประชาชาติทบวงการช�ำ นญั พเิ ศษของสหประชาชาต ิ สถานเอกอคั รราชทตู สถานทตู สถานกงสลุ ใหญ ่ สถานกงสลุ (6) การขายสนิ คา้ หรอื ากรใหบ้ รกิ ารระหวา่ งคลงั สนิ คา้ ทณั ฑบ์ นกบั คลงั สนิ คา้ ทณั ฑบ์ น หรอื ระหวา่ ง คลังสินค้าทัณฑ์บนกับผู้ประกอบกิจการอยู่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออกหรือผู้ประกอบการ กบั ผปู้ ระกอบการในเขตอตุ สาหกรรมสง่ ออก ไมว่ า่ จะอยใู่ นเขตอตุ สาหกรรมเดยี วกนั หรอื ไม่

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ภาคผนวก 231 2) อตั ราภาษี รอ้ ยละ 10 ใชใ้ นการค�ำ นวณภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ส�ำ หรบั การประกอบกจิ การขายสนิ คา้ การให้ บรกิ ารและการน�ำ เขา้ อตั ราภาษนี ใ้ี หล้ ดลงโดยตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า ซง่ึ ในปจั จบุ นั ไดพ้ ระราชกฤษฎกี า ลดอตั ราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เหลอื รอ้ ยละ 6.3 และเมอ่ื รวมกบั ภาษที อ้ งถน่ิ อกี รอ้ ยละ 0.7 กจ็ ะเทา่ กบั รอ้ ยละ 7 เฉลยแบบทดสอบ 1. 3: ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการทข่ี ายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารในทางธรุ กจิ หรอื วชิ าชพี เปน็ ปกตธิ รุ ะ ไมว่ า่ จะเปน็ ผนู้ �ำ เขา้ และผทู้ ก่ี ฏหมายก�ำ หนดใหม้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เปน็ กรณพี เิ ศษ 2. 3: เนอ่ื งจากขอ้ อน่ื เปน็ ผปู้ ระกอบการทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ตามกฎหมาย 3. 2: ตามมาตรา 105 ผ้ขู าย ผ้ใู ห้เช่าซ้อื ผ้รู ับเงิน หรือผ้รู ับชำ�ระราคาต้องออกใบรับให้แก่ผ้ซู ้อื ผ้เู ช่าซ้อื ผู้จ่ายเงินหรือผู้ชำ�ระราคา ในทันทีทุกคราวท่ีรับเงินหรือรับชำ�ระราคาไม่ว่าจะมีการเรียกร้อง ใหอ้ อกใบรบั หรอื ไมก่ ต็ าม 4. 1: แบบ ภ.พ.36 ใชส้ �ำ หรบั ผมู้ หี นา้ ทน่ี �ำ สง่ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ กรณดี งั ตอ่ ไปน้ี ผจู้ า่ ยเงนิ ทจ่ี า่ ยคา่ ซอ้ื สนิ คา้ หรอื คา่ บรกิ ารใหแ้ ก่ 1) ผ้ปู ระกอบการท่อี ย่นู อกราชอาณาจักร ซ่งึ ได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการใน ราชอาณาจกั รเปน็ การชว่ั คราว และไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เปน็ การชว่ั คราว หรอื 2) ผปู้ ระกอบการทไ่ี ดใ้ หบ้ รกิ ารในตา่ งประเทศและไดม้ กี ารใชบ้ รกิ ารนน้ั ในราชอาณาจกั ร 5. 4: กรณผี ปู้ ระกอบการซง่ึ ไดใ้ หบ้ รกิ ารทก่ี ระท�ำ ในตา่ งประเทศและ มไิ ดม้ กี ารใชบ้ รกิ ารนน้ั ในราชอาณาจกั ร ไม่ถือว่าการให้บริการน้ันเป็นการให้บริการในราชอาณาจักร ผู้ประกอบการดังกล่าวไม่มีหน้าท่ีต้อง เสยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ บรษิ ทั รงุ่ ทพิ ย์ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การขายสนิ คา้ ท�ำ สญั ญาวา่ จา้ งบรษิ ทั ในตา่ งประเทศ ใหเ้ ปน็ นายหนา้ ตดิ ตอ่ หาลกู คา้ ในตา่ งประเทศ ถอื เปน็ การใหบ้ รกิ ารทก่ี ระท�ำ ในตา่ งประเทศและมไิ ดม้ กี าร ใชบ้ รกิ ารนน้ั ในราชอาณาจกั ร จงึ ไมม่ หี นา้ ทต่ี อ้ งยน่ื แบบน�ำ สง่ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (ภ.พ.36) 6. 3: ผปู้ ระกอบกจิ การทใ่ี ชอ้ ตั ราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 0 % คอื การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ สนิ คา้ ท่ี มรี ปู รา่ งหรอื การใหบ้ รกิ ารทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ สนิ คา้ ทม่ี รี ปู รา่ ง 7. 4: ผปู้ ระกอบการทม่ี รี ายรบั ไมเ่ กนิ 1.8 ลา้ นบาท ไมต่ อ้ งจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 8. 1: การค�ำ นวณภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ใหน้ �ำ ผลรวมภาษขี าย หกั ดว้ ยผลรวมภาษซี อ้ื 9. 3: ฐานภาษสี �ำ หรบั การน�ำ เขา้ ไดแ้ ก่ มลู คา่ ของสนิ คา้ น�ำ เขา้ โดยใหใ้ ชร้ าคา C.I.F. ของสนิ คา้ บวกดว้ ยอากร ขาเขา้ ภาษสี รรพสามติ ตามทก่ี �ำ หนด คา่ ธรรมเนยี มพเิ ศษตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ การลงทนุ และ ภาษหี รอื คา่ ธรรมเนยี มอน่ื ทก่ี ฎหมายจะก�ำ หนด 10. 2: ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (Value Added Tax) หรอื เรยี กยอ่ วา่ VAT

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)232 ภาษีเงินไดน้ ติ ิบุคคลกบั การบญั ชี ภาคผนวกหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ใบก�ำ กบั ภาษี เปน็ เอกสารส�ำ คญั ซง่ึ ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นในระบบภาษมี ลู คา่ เพม่ิ จะตอ้ งออกใหแ้ ก่ ผซู้ อ้ื ทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ าร มี 6 ชนดิ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. ผู้ประกอบการท่ีจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม มีหน้าท่ีจะต้องคำ�นวณภาษีมูลค่าเพ่ิม เพ่ือชำ�ระภาษี ตอ่ กรมสรรพากรเปน็ รายเดอื น ซง่ึ ตอ้ งยน่ื ช�ำ ระภายในวนั ท่ี 15 ของเดอื นถดั ไปใชแ้ บบ ภ.พ. 30 หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. ผปู้ ระกอบการทจ่ี ดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รอ้ ยละ7 หรอื รอ้ ยละ 0 ผปู้ ระกอบการทง้ั 2 ประเภทอยใู่ นระบบ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ แบบเตม็ รปู ซง่ึ มหี นา้ ทเ่ี รยี กเกบ็ ภาษขี าย จากลกู คา้ และสามารถน�ำ ภาษซี อ้ื มาหกั จากภาษี ขายเมอ่ื สน้ิ เดอื น เพอ่ื การค�ำ นวณภาษมี ลู คา่ เพม่ิ อาจจะตอ้ งช�ำ ระเงนิ หรอื เรยี กเงนิ คนื จากกรมสรรพากรได้ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 4. รายงานภาษซี อ้ื เปน็ รายงานทก่ี รมสรรพากรก�ำ หนดใหจ้ ดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการบนั ทกึ จ�ำ นวนยอดซอ้ื และจำ�นวนภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีผู้ประกอบการได้จ่ายไปในการซ้ือสินค้าหรือรับบริการมาเพ่ือใช้ในการ ประกอบกจิ การ รายงานภาษขี าย เปน็ รายงานทก่ี รมสรรพากรก�ำ หนดใหจ้ ดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการบนั ทกึ จ�ำ นวนยอด ขายสนิ คา้ หรอื บรกิ าร และจ�ำ นวนภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ทผ่ี ปู้ ระกอบการไดเ้ รยี กเกบ็ จากผซู้ อ้ื สนิ คา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ าร ในแตล่ ะวนั หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 5. รายงานสนิ คา้ และวตั ถดุ บิ เปน็ รายงานทก่ี รมสรรพากรก�ำ หนดใหจ้ ดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการบนั ทกึ จ�ำ นวน วัตถุดิบท่ซี ้อื มาใช้ในการผลิต จำ�นวนผลผลิตท่ผี ลิตได้และท่ขี ายออกไปตามความเป็นจริง หรืออ่นื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน เฉลยแบบทดสอบ ตอนที่ 1 1. ใบก�ำ กบั ภาษี เปน็ เอกสารส�ำ คญั ซง่ึ ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นในระบบภาษมี ลู คา่ เพม่ิ จะตอ้ งออกใหแ้ ก่ ผซู้ อ้ื ทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ าร มี 6 ชนดิ คอื 1) ใบก�ำ กบั ภาษแี บบเตม็ รปู 2) ใบก�ำ กบั ภาษแี บบยอ่ 3) ใบก�ำ กบั ภาษที อ่ี อกโดยเครอ่ื งบนั ทกึ การเกบ็ เงนิ 4) ใบเพม่ิ หน้ี 5) ใบลดหน้ ี 6) ใบแทนใบก�ำ กบั ภาษี ใบแทนใบเพม่ิ หน/้ี ใบลดหน้ี 2. ภาษีมูลค่าเพ่มิ ในอัตราร้อยละ 7 เป็นการขายสินค้าหรือการให้บริการท่มี ีมูลค่าของฐานภาษี (รายรับ) เกนิ กวา่ 1.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี สว่ นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ในอตั รารอ้ ยละ 0 ใชส้ �ำ หรบั การประกอบการสง่ ออกสนิ คา้ การให้บริการเพ่อื การส่งออก การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ โดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล

ภาคผนวก 233 การขายสินค้าหรือให้บริการกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการเงินกู้จากต่างประเทศ การขายสนิ คา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารระหวา่ งคลงั สนิ คา้ ทณั ฑบ์ น 3 รายการทท่ี �ำ ใหภ้ าษซี อ้ื เพม่ิ ขน้ึ ไดแ้ ก่ 3.1 มกี ารเพม่ิ ราคาสนิ คา้ ทข่ี าย เนอ่ื งจากสนิ คา้ เกนิ กวา่ จ�ำ นวนทต่ี กลงซอ้ื ขายกนั หรอื ค�ำ นวณราคาสนิ คา้ ผดิ พลาดตา่ํ กวา่ ทเ่ี ปน็ จรงิ 3.2 มกี ารเพม่ิ ราคาคา่ บรกิ าร เนอ่ื งจากใหบ้ รกิ ารเกนิ กวา่ ขอ้ ตกลง หรอื ค�ำ นวณราคาคา่ บรกิ ารผดิ พลาด ตา่ํ กวา่ ทเ่ี ปน็ จรงิ 4. การปดิ บญั ชภี าษมี ลู คา่ เพม่ิ ถา้ มยี อดอยทู่ างดา้ นเดบติ แสดงวา่ กจิ การจะไดค้ นื ภาษีกรมสรรพากรถอื เสมอื น เป็นลูกหน้ีถ้ามียอดอยู่ทางด้านเครดิต แสดงว่ากิจการจะต้องชำ�ระเพ่ิม แสดงว่ากิจการ ตอ้ งช�ำ ระเพม่ิ กรมสรรพากร 5. ใบเพม่ิ หน้ีถอื เปน็ ใบก�ำ กบั ภาษอี ยา่ งหนง่ึ ซง่ึ ผปู้ ระกอบการตอ้ งออกใหก้ บั ผซู้ อ้ื สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ ารกรณพี บ วา่ มกี ารเพม่ิ ราคาสนิ คา้ ทข่ี ายหรอื คา่ บรกิ ารเนอ่ื งจาก สนิ คา้ เกดิ กวา่ จ�ำ นวนทต่ี กลงซอ้ื ขายกนั หรอื ค�ำ นวณ ราคาสนิ คา้ ผดิ พลาดตา่ํ กวา่ ทเ่ี ปน็ จรงิ สว่ นใบลดหน้ีถอื เปน็ ใบก�ำ กบั ภาษอี ยา่ งหนง่ึ ทผ่ี ปู้ ระกอบการตอ้ งออก ใหก้ บั ผซู้ อ้ื สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ าร กรณตี รวจพบมลู คา่ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารมจี �ำ นวนลดลงไมว่ า่ ทง้ั หมดหรอื บาง สว่ น เหตจุ ากมกี ารลดราคาสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ไดร้ บั สนิ คา้ ทข่ี ายกลบั คนื มา เนอ่ื งจากสนิ คา้ ช�ำ รดุ บกพรอ่ ง ไมต่ รงตามตวั อยา่ ง เปน็ ตน้ หรอื มกี ารบอกเลกิ สญั ญาบรกิ าร เนอ่ื งจากใหบ้ รกิ ารบกพรอ่ ง หรอื ใหบ้ รกิ าร ผดิ ขอ้ ก�ำ หนดทต่ี กลงกนั สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)

234 ภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คลกับการบัญชี ตอนท่ี 2 1. ค�ำ รวณภาษซี อ้ื = 300,000 Ö 7% = 21,000 2. บนั ทกึ รายการซอ้ื วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการประกอบรถจกั รยานในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป ขอ้ ท่ี 2 สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมุดรายวันทัว่ ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 ซอ้ื วตั ถดุ บิ 300,000 - 321,000 - ภาษซี อ้ื 21,000 - เงนิ สด ซอ้ื วตั ถดุ บิ เปน็ เงนิ สด 1. ค�ำ นวณภาษขี าย = 800,000 Ö 7% = 56,000 = 56,000 - 21,000 = 35,000 2. บนั ทกึ รายการขายรถจกั รยานและภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป ขอ้ ท่ี 3 สมดุ รายวันทัว่ ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 800,000 - ม.ค. 1 เงนิ สด 856,000 - 56,000 - ขายสนิ คา้ ภาษขี าย 21,000 - บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ สด 35,000 - 31 ภาษขี าย 56,000 - ภาษซี อ้ื ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ปดิ บญั ชซี อ้ื และภาษขี ายเขา้ บญั ชภี าษมี ลู คา่ เพม่ิ

ภาคผนวก 235 สมุดรายวนั ทัว่ ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. 15,000 - 16,050 - ม.ิ ย. 1 ซอ้ื สนิ คา้ ภาษซี อ้ื 1,050 - 21,400 - เงนิ สด 20,000 - 17,000 - บนั ทกึ การซอ้ื สนิ คา้ เปน็ เงนิ สด 1,400 - 1,190 - สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 18,190 - 2,000 - 5 ซอ้ื สนิ คา้ ภาษซี อ้ื 2,140 - 140 - เจา้ หน้ี 700 - 802 50 บนั ทกึ การซอ้ื สนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 52 50 5,000 - 350 - 7 เงนิ สด 5,350 - 400 - ขายสนิ คา้ 19,600 - ภาษขี าย 20,000 - บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ สด 2,310 - 1,487 50 16 เจา้ หน้ี 822 50 สง่ คนื สนิ คา้ ภาษซี อ้ื 20 รบั คนื สนิ คา้ ภาษขี าย เงนิ สด บนั ทกึ การรบั คนื สนิ คา้ ทข่ี ายเปน็ เงนิ สด 27 ลกู หน้ี ขายสนิ คา้ ภาษขี าย บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 30 เจา้ หน้ี สว่ นลดรยั เงนิ สด จา่ ยช�ำ ระหนภ้ี ายในเงอ่ื นไขไดร้ บั สว่ นลด 30 ภาษขี าย ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ภาษซี อ้ื ปดิ บญั ชภี าษขี ายและภาษซี อ้ื

236 ภาษีเงนิ ได้นติ บิ ุคคลกับการบญั ชี ขอ้ ท่ี 4 สมดุ รายวันท่ัวไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วันที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. 50,000 - 53,500 - เม.ย. 1 ซอ้ื สนิ คา้ ภาษซี อ้ื 3,500 - 26,750 - เจา้ หน้ี 25,000 - 9,000 - บนั ทกึ การซอ้ื สนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 1,750 - สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 9,630 - 630 - 5 อปุ กรณส์ �ำ นกั งาน 500 - ภาษซี อ้ื 535 - 35 - เจา้ หน้ี บนั ทกึ การซอ้ื อปุ กรณส์ �ำ นกั งานเปน็ เงนิ เชอ่ื 1,800 - 1,926 - 126 - 54,035 - 7 ลกู หน้ี 28,000 - ขายสนิ คา้ 54,035 - 1,960 - ภาษขี าย 29,960 - บนั ทกี การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 10 เจา้ หน้ี สง่ คนื สนิ คา้ ภาษซี อ้ื บนั ทกึ การสง่ คนื สนิ คา้ ทซ่ี อ้ื เปน็ เงนิ เชอ่ื 18 วสั ดสุ �ำ นกั งาน ภาษซี อ้ื เงนิ สด บนั ทกึ การซอ้ื วสั ดสุ �ำ นกั งาน 20 เจา้ หน้ี เงนิ สด บนั ทกึ การจา่ ยช�ำ ระหนใ้ี หเ้ จา้ หน้ี 24 ลกู หน้ี ขายสนิ คา้ ภาษขี าย บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื

ภาคผนวก 237 สมุดรายวันท่ัวไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 25 เงนิ สด 9,630 - 9,630 ลกู หน้ี 42,800 - - บนั ทกึ การรบั ช�ำ ระหนจ้ี ากลกู หน้ี สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 50,000 - 40,000 - 28 เงนิ สด 5,390 - 2,800 - ขายสนิ คา้ ภาษขี าย 21 - 50,000 - บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ สด 21 - 30 คา่ เชา่ อาคาร 5,411 - เงนิ สด บนั ทกึ การจา่ ยคา่ เชา่ อาคาร 21 - 30 ภาษขี าย ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ภาษซี อ้ื ปดิ บญั ชภี าษซี อ้ื และภาษขี าย 30 ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เจา้ หน้ี – กรมสรรพากร ปดิ บญั ชภี าษมี ลู คา่ เพม่ิ

238 ภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคลกับการบัญชี ขอ้ ท่ี 5 สมุดรายวนั ทั่วไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 53,500 - 50,000 - ก.ย. 1 ลกู หน้ี ขายสนิ คา้ 80,000 - 3,500 - ภาษขี าย 5,600 - บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 640,000 - 85,600 - 44,800 - 2 ซอ้ื สนิ คา้ 300,000 - ภาษซี อ้ื 52,500 - 384,000 - เจา้ หน้ี 1,000 บนั ทกึ การซอ้ื สนิ คา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื 107,000 - 53,500 - 100,000 - 4 รถยนต์ - ภาษซี อ้ื 1,000 - 7,000 - เงนิ สด 2,000 - 1,000 - เจา้ หน้ี บนั ทกึ ารซอ้ื รถยนตช์ �ำ ระเปน็ เงนิ สดสว่ นหนง่ึ 140 - 2,140 - 5,000 - 5,000 - 10 เงนิ สด สว่ นลดจา่ ย ลกู หน้ี บนั ทกึ การข�ำ ระหนใ้ี หส้ ว่ นลด 15 เงนิ สด ขายสนิ คา้ ภาษขี าย บนั ทกึ การขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ สด 19 คา่ ขนสง่ ออก เงนิ สด บนั ทกึ การจา่ ยคา่ ขนสง่ ใหล้ กู คา้ 20 รบั คนื สนิ คา้ ภาษขี าย เงนิ สด บนั ทกึ การรบั คนื สนิ คา้ ทข่ี ายเปน็ เงนิ สด 22 คา่ โฆษณา เงนิ สด บนั ทกึ การจา่ ยคา่ โฆษณา

ภาคผนวก 239 พ.ศ. 25xx รายการ สมุดรายวันทว่ั ไป เดบติ เครดิต เดือน วันท่ี เลขที่ บาท สต. บาท สต. บัญชี สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) 6,000 - 6,000 - ก.ย. 28 คา่ รบั รอง เงนิ สด 10,360 - 50,400 - บนั ทกึ การจา่ ยคา่ รบั รอง 40,040 - 40,040 - 30 ภาษขี าย 40,040 - ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ภาษซี อ้ื ปดิ บญั ชภี าษซี อ้ื และภาษขี าย 30 ลกู หน้ี – กรมสรรพากร ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ปดิ บญั ชภี าษมี ลู คา่ เพม่ิ

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)240 ภาษีเงินไดน้ ติ บิ ุคคลกบั การบัญชี ภาคผนวกหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษี ธรุ กจิ เฉพาะ ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบกจิ การทต่ี อ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ไมว่ า่ ผปู้ ระกอบกจิ การ ดงั กลา่ วจะประกอบกจิ การในรปู ของ 1. บคุ คลธรรมดา 2. คณะบคุ คลทม่ี ใิ ชน่ ติ บิ คุ คล 3. กองมรดก 4. หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั 5. กองทนุ 6. หนว่ ยงานหรอื กจิ การของเอกชนทก่ี ระท�ำ โดยบคุ คลธรรมดาตง้ั แตส่ องคนขน้ึ ไปอนั มใิ ชน่ ติ บิ คุ คล 7. องคก์ ารของรฐั บาล สหกรณ์ และองคก์ รอน่ื ทก่ี ฎหมายก�ำ หนดใหเ้ ปน็ นติ บิ คุ คลหรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. กจิ การทจ่ี ะตอ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะไดแ้ ก่ การประกอบกจิ การดงั ตอ่ ไปนใ้ี นราชอาณาจกั ร โดยกจิ การนน้ั ไมไ่ ดร้ บั ยกเวน้ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 1. การธนาคาร ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการธนาคารพาณชิ ย์ หรอื กฎหมายเฉพาะ 2. การประกอบธรุ กจิ เงนิ ทนุ ธรุ กจิ หลกั ทรพั ย์ ธรุ กจิ เครดติ ฟองซเิ อร์ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การประกอบ ธรุ กจิ เงนิ ทนุ ธรุ กจิ หลกั ทรพั ย์ และธรุ กจิ เครดติ ฟองซเิ อร์ 3. การรบั ประกนั ชวี ติ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั ชวี ติ 4. การรบั จ�ำ น�ำ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงรบั จ�ำ น�ำ 5. การประกอบกิจการโดยปกติเย่ียงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ําประกัน แลกเปล่ียน เงนิ ตราออก ซอ้ื หรอื ขายตว๋ั เงนิ หรอื รบั สง่ เงนิ ไปตา่ งประเทศดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ 6. การขายอสงั หารมิ ทรพั ยเ์ ปน็ ทางคา้ หรอื หาก�ำ ไร ไมว่ า่ อสงั หารมิ ทรพั ยน์ น้ั จะไดม้ าโดยวธิ ใี ดกต็ าม ทง้ั น ้ี ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขตามพระราชกฤษฎกี าฯ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. การประกอบกจิ การทไ่ี ดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ มหี ลายประเภท ยกตวั อยา่ งเชน่ 1. กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคาร เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 2. กจิ การของบรรษทั เงนิ ทนุ อตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 3. กจิ การของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ เฉพาะการใหก้ ยู้ มื แกส่ มาชกิ หรอื แกส่ หกรณอ์ อมทรพั ยอ์ น่ื 4. กจิ การของกองทนุ ส�ำ รองเลย้ี งชพี ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทนุ ส�ำ รองเลย้ี งชพี 5. กิจการของการเคหะแห่งชาติ เฉพาะการขายหรือให้เช่าซ้ืออสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น หรืออ่ืนๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน

ภาคผนวก 241 4. ฐานภาษีสำ�หรับการประกอบกิจการท่ีต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทผ่ี ้ปู ระกอบกิจการได้รบั หรอื พึงได้รบั เน่อื งจากการประกอบกจิ การโดยค�ำ นวณจากฐานภาษี ซ่งึ ได้แก่ รายรบั ตามฐานภาษี ของแตล่ ะประเภทกจิ การ คณู ดว้ ยอตั ราภาษที ก่ี �ำ หนดไว้ และจะตอ้ งเสยี ภาษที อ้ งถน่ิ อกี รอ้ ยละ 10 ของจ�ำ นวนภาษธี รุ กจิ เฉพาะดงั กลา่ ว 5. ภาษเี ฉพาะประเภทธนาคาร ดอกเบย้ี สว่ นลด คา่ ธรรมเนยี ม คา่ บรกิ าร หรอื ก�ำ ไรกอ่ นหกั รายจา่ ยใดๆ จากการซอ้ื หรอื ขายตว๋ั เงนิ หรอื ตราสารแสดงสทิ ธใิ นหนใ้ี ดๆ จดั เกบ็ ในอตั รารอ้ ยละ 3.0 6. ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ค�ำ นวณจากยอดรายรบั กอ่ นหกั คา่ ใชจ้ า่ ยในแตล่ ะเดอื น คอื ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ = รายรบั กอ่ นหกั คา่ ใชจ้ า่ ย Ö อตั ราภาษี สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) เฉลยแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 6 ขอ้ ท่ี 1 ค�ำ นวณภาษธี รุ กจิ เฉพาะ อตั ราภาษขี องธรุ กจิ การประกนั ชวี ติ = 2.5 % รายรบั คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ = 640,000 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ = 640,000 Ö 2.5 % = 16,000 การบนั ทกึ บญั ชใี นสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมดุ รายวนั ทว่ั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. 16,000 - ม.ี ค. 1 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 16,000 - ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 16,000 - บนั ทกึ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 16,000 - เม.ย. 15 ภาษธี ุรกจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ น�ำ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะสง่ กรมสรรพากร

242 ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลกบั การบัญชี ขอ้ ท่ี 2 1. ค�ำ นวณภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 3% = 540,000 Ö 3/100 = 16,200 บาท ภาษที อ้ งถน่ิ 10% = 16,200 Ö 10/100 = 1,620 บาท  ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ = 17,820 บาท 2. บนั ทกึ ราบการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมดุ รายวนั ทว่ั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดือน วันที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. 17,820 - ส.ค. 1 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 17,820 - ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 17,820 - บนั ทกึ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 17,820 - ก.ย. 15 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ น�ำ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะสง่ กรมสรรพากร ขอ้ ท่ี 3 1. ค�ำ นวณภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 2.5% = 820,000 Ö 2.5/100 = 20,500 บาท 2. บนั ทกึ ราบการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมดุ รายวนั ทว่ั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วันที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. เม.ย. 1 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 20,500 - 20,500 - ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย บนั ทกึ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย พ.ค. 15 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 20,500 - 20,500 - ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ น�ำ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะสง่ กรมสรรพากร

ภาคผนวก 243 ขอ้ ท่ี 4 1. ค�ำ นวณภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 2.5% = 800,000 Ö 2.5/100 = 20,000 บาท ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 2.5% = 400,000 Ö 2.5/100 = 10,000 บาท ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 2.5% = 200,000 Ö 2.5/100 = 5,000 บาท รวม = 35,000 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมุดรายวันทว่ั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 35,000 - ม.ี ค. 31 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ 35,000 - ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 35,000 - บนั ทกึ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย 35,000 - เม.ย. 15 ภาษธี รุ กจิ เฉพาะคา้ งจา่ ย ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ น�ำ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะสง่ กรมสรรพากร

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.)244 ภาษีเงนิ ได้นติ ิบคุ คลกบั การบญั ชี ภาคผนวกหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 7 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตราสาร ตามประมวลรษั ฎากร หมายถงึ เอกสารทต่ี อ้ งเสยี อากรแสตมป์ ตามทก่ี �ำ หนดไวใ้ นบญั ชอี ตั ราอากร แสตมป์ ซง่ึ ปจั จบุ นั มที ง้ั หมด 28 ลกั ษณะ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 2. ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี อากรแสตมป์ มดี งั น้ี 1) บคุ คลตามทร่ี ะบไุ วใ้ นชอ่ งท่ี 3 ของบญั ชอี ตั ราอากรแสตมป์ เชน่ ผใู้ หเ้ ชา่ ผโู้ อน ผใู้ หก้ ู้ ผรู้ บั ประกนั ภยั ฯลฯ 2) ถา้ ตราสารท�ำ ขน้ึ นอกประเทศ ใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องผทู้ รงตราสารคนแรกในประเทศเปน็ ผเู้ สยี อากรภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั ตราสารนน้ั 3) ตว๋ั เงนิ ทย่ี น่ื ใหช้ �ำ ระเงนิ มไิ ดป้ ดิ แสตมปบ์ รบิ รู ณ์ ผรู้ บั ตว๋ั จะเสยี อากรและใชส้ ทิ ธไิ ลเ่ บย้ี จากผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี อากร หรอื หกั คา่ อากรจากเงนิ ทจ่ี ะช�ำ ระกไ็ ด้ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 3. 1) ในกรณีแสตมป์ปิดทับ เป็นการได้เสียอากรโดยปิดแสตมป์ทับกระดาษก่อนกระทำ�หรือในทันที ทท่ี �ำ ตราสารเปน็ ราคาไมน่ อ้ ยกวา่ อากรทต่ี อ้ งเสยี และไดข้ ดี ฆา่ แสตมปน์ น้ั แลว้ หรอื 2) ในกรณีแสตมป์ดุน เป็นการได้เสียอากรโดยใช้กระดาษมีแสตมป์ดุนเป็นราคาไม่น้อยกว่าอากร ทต่ี อ้ งเสยี และขดี ฆา่ แลว้ หรอื โดยยน่ื ตราสารใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทป่ี ระทบั แสตมปด์ นุ และช�ำ ระเงนิ เปน็ จ�ำ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ อากรทต่ี อ้ งเสยี และขดี ฆา่ แลว้ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 4. การยกเวน้ ตามพระราชกฤษฏกี า ยกเวน้ อากร ใหแ้ ก่ 1) ธนาคารแหง่ ประเทศไทย 2) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 3) ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 4) ผปู้ ระกอบการขนสง่ เฉพาะการรบั เงนิ ทเ่ี ปน็ คา่ รบั ขนสง่ คนโดยสาร 5) บรรษทั เงนิ ทนุ อตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย ฯลฯ การลดอากร ตามประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ (ฉบบั ท่ี155) ลงวนั ท่ี4 มถิ นุ ายน 2515 ลดคา่ อากรแสตมป์ ส�ำ หรบั ตราสาร กรมธรรมป์ ระกนั ชวี ติ โดยถา้ คา่ อากรมจี �ำ นวนสงู กวา่ 20 บาท ใหล้ ดเหลอื 20 บาทหรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 5. ความรบั ผดิ ทางแพง่ 1) ถ้าตราสารท่มี ิได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์น้นั เป็นตราสารท่กี ระทำ�ข้นึ ในประเทศไทย เม่อื ผ้ขู อเสียอากร ไดย้ น่ื ตราสารนน้ั ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื เสยี อากรภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ทต่ี อ้ ง ปดิ แสตมปบ์ รบิ รู ณ์ กใ็ หอ้ นมุ ตั ใิ หเ้ สยี เพยี งอากรตามอตั ราในบญั ชที า้ ยหมวดอากรแสตมป์

สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) ภาคผนวก 245 2) กรณปี รากฏตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี ปน็ อยา่ งอน่ื กใ็ หอ้ นมุ ตั ใิ หเ้ สยี อากรและใหเ้ รยี กเกบ็ เงนิ เพม่ิ อากร 3) กรณพี นกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื นายตรวจท�ำ การตรวจพบวา่ มไิ ดม้ กี ารออกใบรบั ในกรณที ต่ี อ้ งออกใบรบั ตามขอ้ 2 ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทม่ี อี �ำ นาจเรยี กเกบ็ เงนิ อากรจนครบ และเงนิ เพม่ิ อากรอกี เปน็ จำ�นวน 6 เทา่ ของเงนิ อากรหรอื เปน็ เงนิ 25 บาท แลว้ แตอ่ ยา่ งใดจะมากกวา่ ความรบั ผดิ ทางอาญา 1) ผู้ใดมีหน้าท่ีเสียอากร หรือขีดฆ่าแสตมป์ เพิกเฉยหรือปฏิเสธไม่เสียอากรหรือไม่ขีดฆ่า แสตมป์ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ รอ้ ยบาท 2) ผใู้ ดออกใบรบั ไมถ่ งึ 10 บาท ส�ำ หรบั มลู คา่ ตง้ั แต่ 10 บาทขน้ึ ไป หรอื แบง่ แยกมลู คา่ ทไ่ี ดร้ บั ช�ำ ระนน้ั เพอ่ื หลกี เลย่ี งการเสยี อากรกด็ ี จงใจกระท�ำ หรอื ท�ำ ตราสารใหผ้ ดิ ความจรงิ เพอ่ื หลกี เลย่ี งไมป่ ฏบิ ตั ติ าม บทบญั ญตั แิ หง่ หมวดนก้ี ด็ ี มคี วามผดิ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองรอ้ ยบาท 3) ผใู้ ดไมท่ �ำ หรอื ไมเ่ กบ็ บนั ทกึ ตามมาตรา 105 ตรี หรอื ไมอ่ อกใบรบั ใหท้ นั ทที ถ่ี กู เรยี กรอ้ ง หรอื ออกใบรบั ซง่ึ ไมป่ ดิ แสตมปต์ ามจ�ำ นวนอากรทต่ี อ้ งเสยี ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ รอ้ ยบาท 4) ผ้ใู ดโดยตนเองหรือสมคบกับผ้อู ่นื ท�ำ ให้ไม่มีการออกใบรับหรือไม่ออกใบรับให้ ทันทีท่รี ับเงิน หรือ ออกใบรบั เปน็ จ�ำ นวนเงนิ นอ้ ยกวา่ ทร่ี บั เงนิ หรอื รบั ช�ำ ระราคาจรงิ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ รอ้ ยบาท หรอื จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ เดอื นหรอื ทง้ั ปรบั ทง้ั จ�ำ 5) ผใู้ ดโดยรอู้ ยแู่ ลว้ ไมอ่ ำ�นวยความสะดวกแกพ่ นกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื นายตรวจในการปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ท่ี หรอื โดยรอู้ ยแู่ ลว้ หรอื จงใจไมป่ ฏบิ ตั ิ มคี วามผดิ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ รอ้ ยบาท 6) ผู้ใดโดยเจตนาทุจริตมีแสตมป์ซ่ึงรู้อยู่ว่าเป็นแสตมป์ปลอมก็ดี หรือค้าแสตมป์ท่ีใช้แล้วหรือท่ีมี กฎกระทรวง ประกาศใหเ้ ลกิ ใชเ้ สยี แลว้ กด็ ี ผนู้ น้ั มคี วามผดิ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พนั บาทหรอื จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ สามปหี รอื ทง้ั ปรบั ทง้ั จ�ำ หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 6. ตราสารใดไมป่ ดิ แสตมปบ์ รบิ รู ณ์ จะใชต้ น้ ฉบบั คฉู่ บบั คฉู่ กี หรอื ส�ำ เนาตราสารนน้ั เปน็ พยานหลกั ฐาน ในคดแี พง่ ไมไ่ ด้ นอกจากนน้ั กฎหมายยงั หา้ มเจา้ พนกั งานรฐั บาลลงนามรบั รู้ ยอมใหท้ �ำ หรอื บนั ทกึ สง่ิ ใดๆ ในตราสารดงั กลา่ ว จนกวา่ จะไดม้ กี ารเสยี อากรใหค้ รบถว้ นเสยี กอ่ น หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน 7. ผใู้ ดเสยี คา่ อากรหรอื คา่ เพม่ิ อากรเกนิ ไปไมน่ อ้ ยกวา่ 2 บาท ส�ำ หรบั ตราสารลกั ษณะเดยี วหรอื เรอ่ื งเดยี ว ผนู้ น้ั ชอบทจ่ี ะท�ำ ค�ำ รอ้ งเปน็ หนงั สอื ยน่ื ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี เมอ่ื อธบิ ดเี หน็ วา่ เกนิ ไปจรงิ กใ็ หค้ นื คา่ อากร หรอื คา่ เพม่ิ อากรทเ่ี กนิ ไปนน้ั ใหแ้ กผ่ เู้ สยี อากรได้ แตค่ �ำ รอ้ งทก่ี ลา่ วนน้ั ตอ้ งยน่ื ภายใน 6 เดอื น หรอื อน่ื ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ ของผสู้ อน

246 ภาษีเงนิ ได้นติ บิ ุคคลกับการบัญชี ขอ้ ท่ี 1 1. ค�ำ นวณคา่ อากรแสตมปท์ ต่ี อ้ งช�ำ ระจ�ำ นวนเทา่ ใด คา่ อากรแสดมป ์ 5,000,000 Ö 1 % = 50,000 บาท แตช่ �ำ ระคา่ อากร = 10,000 บาท 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมดุ รายวันทัว่ ไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 1 เงนิ สด 4,990,000 - 5,000,000 - คา่ อากรแสตมป์ 10,000 - เงนิ ก-ู้ ธนาคาร บนั ทกึ การกเู้ งนิ จากธนาคารพรอ้ มช�ำ ระคา่ อากร ขอ้ ท่ี 2 1. ค�ำ นวณคา่ อากรแสตมปท์ ต่ี อ้ งช�ำ ระจ�ำ นวนเทา่ ใด คา่ เชา่ อาคารพาณชิ ย ์ 20,000 Ö 20 = 400,000 บาท คา่ อากรแสตมป ์ = 400,000 Ö 1/100 = 4,000 บาท 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมุดรายวันท่วั ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. ต.ค. 1 เงนิ สด 396,000 - 400,000 - คา่ อากรแสตมป์ 4,000 - รายไดค้ า่ เชา่ อาคารพาณชิ ย์ บนั ทกึ การรายไดค้ า่ เชา่ และจา่ ยคา่ อากรแสตมป์

ภาคผนวก 247 ขอ้ ท่ี 3 1. ค�ำ นวณคา่ อากรแสตมปท์ ต่ี อ้ งช�ำ ระจ�ำ นวนเทา่ ใด คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ = 30,000 บาท คา่ อากรแสตมป ์ = 30,000/2,000 Ö 1 = 15 บาท 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป สมุดรายวนั ทั่วไป สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ต.ค. 1 เงนิ สด 29,985 - 30,000 - คา่ อากรแสตมป์ 15 - รายไดค้ า่ ประกนั ชวี ติ บนั ทกึ การรายรบั คา่ ประกนั และจา่ ยคา่ อากรแสตมป์ ขอ้ ท่ี 4 การค�ำ นวณคา่ อากรแสตมปท์ จ่ี ะตอ้ งช�ำ ระ คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 2,000 บาท จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1 บาท คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 10,000 บาท จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1/2,000 Ö 10,000 ดงั นน้ั จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 5 บาท คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 2,000 บาทจะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1 บาท คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 12,000 บาท จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1/2,000 Ö 12,000 ดงั นน้ั จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 6 บาท สมุดรายวนั ทวั่ ไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 1 คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 21,989 - 22,000 - คา่ อากรแสตมป์ 11 - เงนิ สด บนั ทกึ การรายรบั คา่ ประกนั และจา่ ยคา่ อากรแสตมป์

248 ภาษเี งนิ ได้นิติบคุ คลกับการบัญชี ขอ้ ท่ี 5 การค�ำ นวณคา่ อากรแสตมปท์ จ่ี ะตอ้ งช�ำ ระ คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 2,000 บาท จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1 บาท คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 18,000 บาท จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 1/2,000 Ö 18,000 ดงั นน้ั จะตอ้ งช�ำ ระคา่ อากรแสตมป ์ = 9 บาท สถา ับน ัพฒนา ุคณภาพวิชาการ (พว.) สมดุ รายวนั ทั่วไป พ.ศ. 25xx รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ิ ย. 1 คา่ เบย้ี ประกนั ชวี ติ 17,991 - 18,000 - คา่ อากรแสตมป์ 9- เงนิ สด บนั ทกึ การรายรบั คา่ ประกนั และจา่ ยคา่ อากรแสตมป์