Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

Published by rbanditaektrakul, 2022-01-28 13:33:59

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศกั ราช 2564 98 รายการวดั คะแนน * ระหวา่ งภาค 80 มีการวดั และประเมินผล ดงั น้ี 1. คะแนนระหวา่ งปี การศึกษา 10 20 1.1 วดั โดยใชแ้ บบทดสอบ 100 1.2 วดั ทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การเรียนรู)้ 1.2.1 ภาระงานท่ีมอบหมาย - การทาใบงาน/แบบฝึกหดั /สมุดงาน - การศึกษาคน้ ควา้ /การนาเสนองาน - การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 1.2.2 ทกั ษะการส่ือสารทางภาษาไทย และสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน - การอ่าน - การเขียน - การฟัง ดู พดู 1.3 วดั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2. คะแนนสอบกลางปี การศกึ ษา มีการวดั ผลและประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ * คะแนนสอบปลายปี การศึกษา มีการวดั ผลและประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ รวมท้งั ภาคเรียน กำรตัดสนิ ผลกำรเรยี น

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศกั ราช 2564 99 การตัดสินผลการเรียนมีการตัดสินในหลายลักษณะคอื การผ่านรายวิชากาหนดเป็นภาคเรียน การ เลื่อนช้ันปีกาหนดเป็นปีการศึกษาและการจบระดับชั้นกาหนดเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนตาม หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มดี ังนี้ 1) ตดั สนิ ผลการเรียนเปน็ รายวชิ า ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรยี นตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชานัน้ ๆ 2) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทกุ ตวั ชวี้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด 3) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา 4) ผู้เรยี นต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดในการ อ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน กำรให้ระดับผลกำรเรยี น ในการตัดสนิ เพอ่ื ใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวชิ าของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการ เรียนเป็น 8 ระดบั รายวิชาที่จะนบั หนว่ ยกิตไดจ้ ะต้องได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 1 ข้ึนไป โดยมีแนว การให้ระดับผลการ เรยี นดงั นี้ คะแนนรอ้ ยละ ระดับผลกำรเรียน ควำมหมำยของผลกำรประเมนิ 80-100 4 ดีเย่ยี ม 75-79 3.5 ดีมาก 70-74 3 ดี 65-69 2.5 คอ่ นขา้ งดี 60-64 2 ปานกลาง 55-59 1.5 พอใช้ 50-54 1 ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่า 0-49 0 ต่ากว่าเกณฑ์ กำรประเมินกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 100 ให้ระดบั ผลการประเมนิ เป็นผา่ นและไม่ผา่ น กรณีท่ผี ่านให้ระดบั ผลการเรียนเปน็ ดเี ยยี่ ม ดี และผ่าน ความหมายของผลการประเมินคุณภาพเป็นดีเยีย่ ม ดี และผ่าน ซงึ่ สามารถใช้ดังนี้ 1) การประเมนิ อ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ดเี ย่ียม หมายถงึ สามารถจบั ใจความสาคัญไดค้ รบถ้วน เขยี นวิพากษ์วจิ ารณ์ เขียนสรา้ งสรรค์ แสดงความคดิ เห็นประกอบอยา่ งมีเหตุผลไดถ้ กู ตอ้ ง และสมบรู ณ์ ใชภ้ าษาสุภาพและเรียบเรียงไดส้ ละสลวย ดี หมายถงึ สามารถจับใจความสาคัญได้ เขยี นวิพากษ์วจิ ารณ์และเขยี น สรา้ งสรรค์ไดโ้ ดยใชภ้ าษาสภุ าพ ผ่าน หมายถึง สามารถจับใจความสาคัญและเขยี นวิพากษว์ จิ ารณไ์ ดบ้ า้ ง 2) การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดเี ยี่ยม หมายถงึ ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะในการปฏิบตั จิ นเปน็ นิสยั และนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั เพ่อื ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม ดี หมายถงึ ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะในการปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์เพ่ือให้เป็นที่ ยอมรบั ของสังคม ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรบั รแู้ ละปฏิบัติตามกฎเกณฑแ์ ละเง่อื นไขทส่ี ถานศกึ ษา กาหนด วิธกี ำรประเมินผลกำรเรียนรู้ ในการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้สอนควรใช้วิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกับตัวช้ีวัด/มาตรฐานการเรียนรู้ เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนความรู้ความสามารถและ ศักยภาพของผเู้ รยี น โดยผูส้ อนสามารถเลอื กวิธีการประเมินจากวิธตี า่ งๆ ตอ่ ไปนี้ 1. การสังเกตพฤติกรรม เป็นการเก็บข้อมูลจากการดูการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนโดยไม่ ขัดจงั หวะการทางานหรือการคิดของผเู้ รยี น การสงั เกตพฤตกิ รรมเปน็ สิ่งท่ีทาไดต้ ลอดเวลา แต่ควรมีกระบวนการ ท่ีชัดเจนและมีจุดประสงค์ที่ชัดเจนว่าต้องการประเมินอะไร โดยอาจใช้เคร่ืองมือ เช่น แบบประเมินค่า แบบ ตรวจสอบรายการ สมดุ จดบันทึก เพ่ือประเมินผู้เรยี นตามตัวชว้ี ัด และควรทาการสังเกตบ่อยคร้ังเพื่อขจัดความ ลาเอียง 2. การสอบปากเปล่า เป็นการให้ผเู้ รียนได้แสดงออกดว้ ยการพูด ตอบประเดน็ เก่ียวกับการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ผูส้ อนเก็บข้อมูล จดบันทกึ รปู แบบการประเมนิ นี้ผู้สอนและผู้เรียนมปี ฏิสัมพันธ์กนั สามารถมกี าร อภิปราย โต้แย้ง ขยายความ ปรับแก้ไขความคิดกนั ได้ มีข้อท่ีพึงระวงั คือ อย่าเพ่ิงขดั ความคดิ ขณะที่ผเู้ รยี นกาลัง พูด 3. การพูดคุย เป็นการสอื่ สาร 2 ทางอกี ประเภทหน่ึงระหว่างผสู้ อนกับผ้เู รียน สามารถดาเนินการ เป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้ โดยทั่วไปมักใช้อย่างไม่เป็นทางการเพื่อติดตามตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพียงใด เป็นข้อมูลสาหรับพัฒนา วิธีการน้ีอาจใช้เวลา แต่มปี ระโยชน์ต่อการค้นหา วินิจฉยั ข้อปัญหา ตลอดจน เรอ่ื งอ่นื ๆ ท่ีอาจเป็นปญั หา อุปสรรคต่อการเรียนรู้ เชน่ วธิ กี ารเรยี นร้ทู ีแ่ ตกตา่ งกัน เปน็ ตน้

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 101 4. การใช้คาถาม การใช้คาถามเป็นเร่ืองปกติมากในการจัดการเรียนรู้ แต่ข้อมูลงานวิจัยบ่งช้ีว่า คาถามท่ีครูใช้เป็นด้านความจา และเป็นเชิงการจัดการทั่ว ๆ ไปเป็นส่วนใหญ่ เพราะถามง่าย แต่ไม่ท้าทายให้ ผเู้ รียนตอ้ งทาความเขา้ ใจและเรียนร้ใู ห้ลึกซ้ึง การพฒั นาการใช้คาถามให้มีประสิทธิภาพแมจ้ ะเปน็ เรื่องทีย่ าก แต่ สามารถทาได้ผลรวดเร็วขึ้น หากผู้สอนมีการเปล่ียนแปลงวิธีการประเมินในชั้นเรียน โดยทาการประเมินเพ่ือ พัฒนาให้แข็งขนั (Clarke, 2005) Clarke ยังไดน้ าเสนอวิธกี ารฝึกถามใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 5 วิธี ดังนี้ วิธที ี่ 1 ให้คาตอบที่เป็นไปได้หลากหลาย เป็นวิธีท่ีง่ายที่สุดในการเร่ิมต้นเปลี่ยนการถามแบบ ความจาใหเ้ ป็นคาถามที่ต้องใช้การคิดบ้างเพราะมีคาตอบทเี่ ป็นไปได้หลายคาตอบ (แต่พึงระวังว่าการใช้คาถาม หมายความว่าผ้เู รียนต้องผ่านการเรียนรู้ มีความเขา้ ใจพืน้ ฐานตามตัวชวี้ ดั ที่กาหนดให้เรยี นรมู้ าแล้ว) คาถามแบบ นี้ทาให้ผู้เรียนต้องใช้การตัดสินใจว่า คาตอบใดถูก หรือใกล้เคียงท่ีสุดเพราะเหตุใด และท่ีไม่ถูกเพราะเหตุใด นอกจากน้ี การใช้คาถามแบบนจ้ี ะทาใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรยู้ ิง่ ขนึ้ อีกหากมกี ิจกรรมให้ผเู้ รยี นทาเพื่อพสิ จู นค์ าตอบ วธิ ที ี่ 2 เปลี่ยนคาถามประเภทความจาให้เป็นคาถามประเภทที่ผู้เรียนต้องแสดงความคิดเห็น พร้อมเหตุผล การใช้วิธนี ี้จะต้องให้ผู้เรียนได้อภิปรายกัน ผู้เรียนต้องใช้การคดิ ท่ีสูงขึ้นกว่าวิธแี รก เพราะผ้เู รียน จะต้องยกตัวอย่างสนับสนุนความเห็นของตน เมือ่ ให้ประโยคท่ีผู้เรียนจะต้องสะท้อนความคิดเห็น ผูเ้ รียนจะต้อง ปกป้องหรอื อธบิ ายทัศนะของตน การฝกึ ด้วยวธิ ีการนบี้ ่อย ๆ จะเป็นการพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นผู้ฟังทีด่ ี มจี ิตใจเปิด กว้างพร้อมรับฟัง และเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นโดยผ่านกระบวนการอภิปราย ครูใช้วิธกี ารน้ีกดดันให้เกิดการ อภปิ รายอยา่ งมคี ุณภาพสูงระหว่างเดก็ ต่อเด็ก และใหข้ ้อมูลเพ่ือการพฒั นาแกท่ ุกคนในช้ันเรียน วธิ ีท่ี 3 หาส่ิงตรงกันข้าม หรือส่ิงท่ีใช่/ถูก ส่ิงที่ไม่ใช่/ผิด และถามเหตุผล วิธีการน้ีใช้ได้ดีกับ เน้ือหาท่ีเป็นข้อเท็จจริง เชน่ จานวนในวิชาคณิตศาสตร์ การสะกดคา โครงสร้างไวยากรณ์ในวิชาภาษา เป็นต้น เมื่อได้รับคาถามว่าทาไมทาเช่นนี้ถกู แตท่ าเช่นน้ีผดิ หรือทาไมผลบวกน้ีถกู แต่ผลบวกน้ีผดิ หรอื ทาไมประโยคนี้ ถูกไวยากรณ์แต่ประโยคน้ผี ดิ ไวยากรณ์ เป็นต้น จะเป็นโอกาสให้ผู้เรียนคิดและอภิปรายมากกวา่ เพยี งการถามว่า ทาไมโดยไมม่ ีการเปรยี บเทียบกนั และวธิ ีการนีจ้ ะใช้กับการทางานคมู่ ากกวา่ ถามทงั้ ห้อง แลว้ ใหย้ กมือตอบ วธิ ีที่ 4 ใหค้ าตอบประเดน็ สรปุ แลว้ ตามดว้ ยคาถามให้คิด เป็นการให้ผูเ้ รียนต้องอธบิ ายเพม่ิ เติม วิธีท่ี 5 ตั้งคาถามจากจุดยืนที่เห็นต่าง เป็นวิธีท่ีต้องใช้ความสามารถมากท้ังผู้สอนและผู้เรียน เพราะมีประเด็นที่ต้องอภิปรายโต้แย้งเชิงลึกเหมาะที่จะใช้อภิปรายในประเด็นที่เกยี่ วกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ปญั หาสุขภาพ ปญั หาเชิงจรยิ ธรรม เปน็ ตน้ นอกจากนี้ การใช้ Bloom’s Taxonomy เป็นกรอบแนวคิดในการต้ังคาถามก็เป็นวิธีการที่ดีใน การเกบ็ ขอ้ มูลการเรียนรจู้ ากผ้เู รยี น 5. การเขียนสะท้อนการเรียนรู้(Journals) เป็นรูปแบบการบันทึกการเขียนอีกรูปแบบหน่ึงที่ให้ ผู้เรียนเขียนตอบกระทู้ หรอื คาถามของครู ซ่งึ จะต้องสอดคล้องกับความรู้ ทกั ษะที่กาหนดในตัวชีว้ ัด การเขียน สะท้อนการเรียนรู้น้ีนอกจากทาให้ผู้สอนทราบความก้าวหน้าในผลการเรียนรู้แล้ว ยังใช้เป็นเครื่องมือประเมิน พฒั นาการดา้ นทกั ษะการเขียนได้อีกด้วย 6. การประเมินการปฏิบัติ (Performance assessment) เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมที่ ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติงานเพ่ือให้ทราบถึงผลการพัฒนาของผู้เรียน การประเมินลักษณะนี้ ผู้สอน

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 102 ตอ้ งเตรียมสงิ่ สาคัญ 2 ประการ คือ ภาระงาน (Tasks)หรือกจิ กรรมท่ีจะให้ผู้เรียนปฏิบัติ เชน่ การทาโครงการ /โครงงาน การสารวจ การนาเสนอ การสร้างแบบจาลอง การท่องปากเปล่า การสาธิต การทดลอง วิทยาศาสตร์ การจัดนิทรรศการ การแสดงละคร เป็นต้น และเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics)การ ประเมินการปฏิบตั ิ อาจจะปรบั เปลีย่ นไปตามลกั ษณะงานหรือประเภทกจิ กรรม ดังน้ี  ภาระงานหรือกิจกรรมท่เี น้นข้นั ตอนการปฏิบตั ิและผลงาน เชน่ การทดลองวิทยาศาสตร์ การ จัดนิทรรศการ การแสดงละคร แสดงเคล่ือนไหว การประกอบอาหาร การประดิษฐ์การสารวจ การนาเสนอ การ จัดทาแบบจาลอง เป็นตน้ ผูส้ อนจะต้องสังเกตและประเมนิ วธิ ีการทางานท่เี ปน็ ข้นั ตอนและผลงานของผู้เรยี น  ภาระงานหรอื กจิ กรรมทมี่ ุ่งเนน้ การสร้างลักษณะนิสยั เชน่ การรักษาความสะอาด การรักษาสาธารณสมบัติ/ส่ิงแวดล้อม กิจกรรมหน้าเสาธง เป็นต้น จะประเมินด้วยวิธีการสังเกต จดบันทึก เหตกุ ารณ์เก่ยี วกบั ผู้เรียน  ภาระงานที่มลี ักษณะเป็นโครงการ/โครงงาน เปน็ กจิ กรรมทีเ่ นน้ ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติและผลงานที่ ตอ้ งใช้เวลาในการดาเนินการ จึงควรมีการประเมินเปน็ ระยะๆ เชน่ ระยะก่อนดาเนนิ โครงการ/โครงงาน โดย ประเมินความพรอ้ มการเตรียมการและความเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ัติงานระยะระหว่างดาเนนิ โครงการ/โครงงาน จะประเมินการปฏิบัตจิ ริงตามแผน วิธีการและข้ันตอนทีก่ าหนดไว้ และการปรับปรุงระหว่างการปฏิบัตสิ าหรับ ระยะส้ินสดุ การดาเนินโครงการ/โครงงาน โดยการประเมินผลงาน ผลกระทบและวธิ ีการนาเสนอผลการดาเนิน โครงการ/โครงงาน  ภาระงานท่ีเน้นผลผลติ มากกวา่ กระบวนการขั้นตอนการทางาน เช่น การจัดทาแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ กราฟ ตาราง ภาพ แผนผังความคดิ เปน็ ต้น อาจประเมินเฉพาะคณุ ภาพของผลงานกไ็ ด้ ในการประเมินการปฏิบัตงิ าน ผู้สอนต้องสร้างเครื่องมือเพ่ือใช้ประกอบการประเมิน เช่น แบบ มาตรประมาณค่า แบบบันทึกพฤตกิ รรม แบบตรวจสอบรายงาน แบบบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิ เปน็ ตน้ 7.การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio assessment) แฟ้มสะสมงานเป็นการเก็บรวบรวม ช้ินงานของผู้เรียนเพื่อสะท้อนความก้าวหน้าและความสาเร็จของผู้เรียน เช่น แฟ้มสะสมงานที่แสดง ความก้าวหน้าของผู้เรียน ต้องมีผลงานในช่วงเวลาต่างๆที่แสดงถึงความก้าวหน้าของผู้เรียน หากเป็นแฟ้ม สะสมงานดเี ดน่ ตอ้ งแสดงผลงานทส่ี ะทอ้ นความสามารถของผเู้ รียน โดยผู้เรียนตอ้ งแสดงความคิดเหน็ หรือเหตุผล ทเี่ ลอื กผลงานนน้ั เกบ็ ไว้ตามวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน แนวทางในการจัดทาแฟม้ สะสมงาน มีดังน้ี  กาหนดวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่าต้องการสะท้อนเกี่ยวกับความก้าวหน้าและ ความสาเร็จของผู้เรียนในเร่อื งใดด้านใด ทัง้ นีอ้ าจพจิ ารณาจากตัวชีว้ ดั /มาตรฐานการเรียนรู้  วางแผนการจัดทาแฟม้ สะสมงานท่ีเน้นการจดั ทาชิ้นงาน กาหนดเวลาของการจัดทาแฟ้มสะสม งาน และ เกณฑ์การประเมนิ  จัดทาแผนแฟ้มสะสมงานและดาเนนิ การตามแผนทีก่ าหนด  ให้ผเู้ รยี นเกบ็ รวบรวมชนิ้ งาน

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 103  ให้มีการประเมินชิน้ งานเพ่ือพัฒนาช้ินงาน ควรประเมินแบบมีส่วนรว่ ม โดย ผู้ประเมิน ได้แก่ ตนเอง เพื่อน ผู้สอน ผปู้ กครอง บคุ คลท่ีเกี่ยวขอ้ ง ให้ผู้เรยี นคัดเลือกชิ้นงาน ประเมินชิ้นงาน ตามเง่ือนไขที่ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกนั กาหนด เช่น ชน้ิ งานที่ยากทสี่ ดุ ชิน้ งานที่ชอบทีส่ ุด เป็นต้น โดยดาเนินการเปน็ ระยะ อาจจะเป็นเดือนละคร้งั หรือบทเรียน ละครงั้ กไ็ ด้  ให้ผู้เรียนนาชิ้นงานที่คัดเลือกแล้วจัดทาเป็นแฟ้มที่สมบูรณ์ ซงึ่ ควรประกอบด้วย หน้าปก คา นา สารบญั ชิน้ งาน แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน และอน่ื ๆ ตามความเหมาะสม ผู้เรยี นตอ้ งสะทอ้ นความรู้สึกและความคดิ เห็นตอ่ ช้ินงานหรือแฟ้มสะสมงาน  สถานศึกษาควรจัดให้ผู้เรียนแสดงแฟ้มสะสมงานและชิ้นงานเม่ือสิ้นภาคเรียน/ ปกี ารศกึ ษาตามความเหมาะสม 8. การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบเป็นการประเมินตัวชี้วัด ด้านองค์ความรู้ (Knowledge) เช่น ข้อมูล ความรู้ ข้ันตอน วิธีการ กระบวนการต่าง ๆ เป็นต้น ผู้สอนควรเลือกใช้แบบทดสอบให้ตรงตาม วตั ถุประสงคข์ องการวัดและประเมินน้ันๆ เชน่ แบบทดสอบเลือกตอบ แบบทดสอบถูก-ผดิ แบบทดสอบจับคู่ แบบทดสอบเติมคา แบบทดสอบความเรียงเปน็ ต้น ทั้งน้แี บบทดสอบท่ีจะใช้ตอ้ งเป็นแบบทดสอบทมี่ ีคุณภาพ มี ความเทีย่ งตรง (Validity) และเช่อื มนั่ ได้ (Reliability) 9. การประเมินด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นการประเมินคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะและเจตคติ ท่ีควรปลูกฝังในการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงวัดและประเมินเปน็ ลาดับขั้นจากต่าสุดไปสูงสุด ดงั นี้  ขั้นรบั รู้ เปน็ การประเมนิ พฤตกิ รรมที่แสดงออกวา่ รูจ้ ัก เต็มใจ สนใจ  ข้ันตอบสนอง เปน็ การประเมินพฤตกิ รรมที่แสดงวา่ เช่ือฟงั ทาตาม อาสาทา พอใจที่จะทา  ขั้นเหน็ คุณค่า (ค่านิยม) เป็นการประเมินพฤติกรรมที่แสดงความเชอื่ ซึ่งแสดงออกโดยการ กระทาหรือปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ยกย่องชมเชย สนับสนุน ช่วยเหลือหรือทากิจกรรมที่ตรงกบั ความเชือ่ ของตน ทาดว้ ยความเช่ือมั่น ศรทั ธา และปฏิเสธท่ีจะกระทาในส่ิงทขี่ ดั แย้งกบั ความเชอ่ื ของตน  ข้ันจัดระบบคุณค่า เป็นการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม อภิปราย เปรียบเทียบ จนเกิดอดุ มการณ์ในความคดิ ของตนเอง  ข้นั สร้างคณุ ลักษณะ เป็นการประเมินพฤตกิ รรมทม่ี ีแนวโนม้ ว่าจะประพฤตปิ ฏิบัติเช่นน้ันอยู่ เสมอในสถานการณเ์ ดยี วกัน หรือเกดิ เป็นอุปนสิ ัย การวัดและประเมินผลด้านจิตพิสัย ควรใช้การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติเป็นหลักและสังเกต อย่างต่อเนื่องโดยมีการบันทึกผลการสงั เกต ท้ังนอ้ี าจใช้เครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล เชน่ แบบประเมินค่า แบบตรวจสอบรายการ แบบบนั ทกึ พฤติกรรม แบบรายงานพฤติกรรมตนเอง เปน็ ต้น

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 104 นอกจากนอ้ี าจใช้แบบวัดความรู้และความรู้สึก เพ่ือรวบรวมขอ้ มูลเพิ่มเติม เชน่ แบบวัดความรู้ โดยสรา้ งสถานการณ์เชงิ จรยิ ธรรม แบบวดั เจตคติ แบบวดั เหตุผลเชิงจริยธรรม แบบวัดพฤตกิ รรมเชงิ จริยธรรม เปน็ ต้น 10. การประเมินตามสภาพจริง (Authentic assessment) เป็นการประเมินด้วยวิธีการท่ี หลากหลายดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพ่ือให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน จึง ควรใช้การประเมินการปฏิบัติ (Performance assessment) ร่วมกับการประเมินด้วยวิธีการอนื่ ภาระงาน(Tasks) ควรสะท้อนสภาพความเป็นจริงหรือใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากกว่าเป็นการปฏิบัติกิจกรรมท่ัว ๆ ไปดังนั้นการ ประเมินสภาพจรงิ จะต้องออกแบบการจัดการเรียนรแู้ ละการประเมินผลไปด้วยกัน และกาหนดเกณฑ์การประเมิน (Rubrics) ให้สอดคล้องหรือใกล้เคยี งกบั ชวี ติ จรงิ 11. การประเมินตนเองของผู้เรียน (Student self - assessment)การประเมินตนเองนับเป็นทั้ง เครื่องมือประเมินและเครอื่ งมือพัฒนาการเรยี นรู้ เพราะทาให้ผู้เรียนได้คิดใคร่ครวญวา่ ได้เรียนรู้อะไร เรียนรู้ อย่างไร และผลงานที่ทานัน้ ดีแล้วหรอื ยัง การประเมนิ ตนเองจงึ ใช้เป็นวิธีหน่ึงที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นผู้ที่ สามารถเรียนรดู้ ้วยตนเอง การใช้การประเมินตนเองของผู้เรยี นให้ประสบความสาเร็จไดด้ ีจะต้องมีเป้าหมายการ เรยี นรู้ทช่ี ัดเจน มเี กณฑ์ท่ีบง่ บอกความสาเรจ็ ของช้นิ งาน / ภาระงาน และมาตรการการปรบั ปรงุ แกไ้ ขตนเอง เป้าหมายการเรียนรู้ที่กาหนดชัดเจนและผู้เรียนได้รับทราบหรือร่วมกาหนดด้วย จะทาให้ ผู้เรยี นทราบว่าตนถกู คาดหวังให้รู้อะไร ทาอะไร มหี ลักฐานใดทแ่ี สดงการเรียนรู้ตามความคาดหวังนั้น หลักฐาน ที่มีคุณภาพควร มีเก ณฑ์ เช่นไร เพื่อเป็นแนวทาง ให้ผู้เรียน พิจารณาปร ะเมิน ซ่ึงหากเกิดจาก การทางานร่วมกนั ระหว่างผู้เรียนกับผสู้ อนด้วยจะเป็นการเพิม่ แรงจูงใจในการเรียนรู้เพม่ิ มากขึน้ การทผี่ ู้เรียนได้ ใช้การประเมินตนเองบ่อยๆ โดยมีกรอบแนวทางการประเมินท่ีชัดเจนนี้ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินได้ คอ่ นข้างจริงและซื่อสัตย์ คาวิจารณ์ คาแนะนาของผู้เรียนมักจะจริงจังมากกว่าของครู การประเมิน ตนเองจะเกิดประโยชน์ยงิ่ ขน้ึ หากผู้เรยี นทราบสิง่ ท่ตี อ้ งปรับปรุงแกไ้ ขไดต้ ้งั เป้าหมาย การปรบั ปรงุ แกไ้ ข ของตน แล้วฝกึ ฝน พฒั นาโดยการดูแล สนับสนุนจากผูส้ อนและความรว่ มมอื ของครอบครัว เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินตนเองมีหลายรูปแบบ เช่น การอภิปราย การเขียนสะท้อน ผลงาน การใชแ้ บบสารวจ การพูดคยุ กบั ผสู้ อน เป็นตน้ 12. การประเมินโดยเพ่ือน (Peer assessment) เป็นเทคนิคการประเมินอีกรูปแบบหน่ึงท่ีน่าจะ นามาใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงคุณลักษณะของงานที่มีคุณภาพ เพราะการท่ีผู้เรยี นจะบอกได้ว่าชิ้นงานนั้น เปน็ เชน่ ไร ผู้เรียนต้องมคี วามเขา้ ใจอย่างชัดเจนก่อนว่าเขากาลงั ตรวจสอบอะไรในงานของเพ่ือน ฉะน้ัน ผู้สอน ตอ้ งอธิบายผลทีค่ าดหวังให้ผ้เู รียนทราบกอ่ นทจ่ี ะลงมือประเมนิ การทีจ่ ะสร้างความม่ันใจว่าผู้เรียนเข้าใจการประเมินรูปแบบนี้ ควรมีการฝึกผู้เรียนโดยผู้สอน อาจหาตวั อย่าง เช่น งานเขียน ให้นักเรียนเปน็ กลุ่มตัดสินใจว่าควรประเมนิ อะไร และควรใหค้ าอธบิ ายเกณฑ์ ทบ่ี ่งบอกความสาเรจ็ ของภาระงานน้ัน จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นประเมินภาระงานเขยี นนน้ั โดยใช้เกณฑ์ทช่ี ว่ ยกนั สรา้ ง ขึน้ หลังจากนัน้ ครตู รวจสอบการประเมนิ ของนักเรยี นและให้ข้อมลู ย้อนกลับแกน่ ักเรยี นท่ปี ระเมนิ เกนิ จริง

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศกั ราช 2564 105 การใช้การประเมินโดยเพ่ือนอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องสร้างส่ิงแวดล้อมการเรียนรู้ท่ี สนับสนุนให้เกิดการประเมินรูปแบบน้ี กล่าวคือ ผเู้ รียนต้องรู้สึกผ่อนคลาย เช่ือใจกัน และไม่อคติ เพื่อการให้ ข้อมูลย้อนกลับจะได้ซื่อตรง เป็นเชิงบวกท่ีให้ประโยชน์ ผู้สอนท่ีให้ผู้เรียนทางานกลุ่มตลอดภาคเรียนแล้วใช้ เทคนิคเพ่ือนประเมินเพ่ือนเป็นประจา จะสามารถพัฒนาผเู้ รียนให้เกดิ ความเข้าใจซ่ึงกันและกัน อนั จะนาไปสู่ การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั ท่เี กง่ ขึ้นได้

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 106 ภำคผนวก ก. คำอธิบำยศพั ท์

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 107 อภธิ ำนศัพท์ กำรเดำควำมหมำยจำกบรบิ ท (context clue) การเดาความหมายของคาศัพท์หรอื ขอ้ ความทีไ่ ม่ทราบความหมายโดยไม่ตอ้ งเปิดพจนานุกรม เป็นการ เดาความหมายนน้ั โดยอาศัยการช้แี นะจากคาศพั ท์หรอื ข้อความทแี่ วดล้อมคาศพั ท์หรอื ขอ้ ความท่อี ่าน เพื่อช่วยใน การทาความเขา้ ใจหรือตคี วามหมายของคาศพั ทห์ รอื ขอ้ ความที่ไมเ่ ขา้ ใจความหมาย กำรถำ่ ยโอนขอ้ มูล การแปลงข้อมูลทผี่ ู้ส่งสารต้องการจะสอ่ื สารให้ผู้รับสารเข้าใจความหมายในรูปแบบท่ีต้องการ เช่น การ ถ่ายโอนข้อมูลท่ีเป็นคา ประโยค หรือข้อความไปเป็นข้อมูลที่เป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็ น ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นคา ประโยค หรือข้อความ ทกั ษะกำรสือ่ สำร ทกั ษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขยี น ซ่ึงเป็นเครื่องมอื ในการรับสารและส่งสารดว้ ยภาษานั้นๆ ไดอ้ ย่างสื่อความหมาย คล่องแคล่ว ถกู ตอ้ ง เข้าถึงสารได้อยา่ งชัดเจน บทกลอน (nursery rhyme) บทรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก ที่มคี าคล้องจองและมีความไพเราะ เพ่อื ชว่ ยใหจ้ ดจาได้ง่าย บทละครสั้น (skit) งานเขียนหรือบทละครสั้นที่มีการแสดงออกด้วยท่าทางและคาพูด ทาให้เกิดความสนุกสนาน อาจเป็น เรอื่ งทม่ี าจากนิทาน นยิ าย ชีวิตของคน สัตว์ ส่ิงของ หรือตดั ตอนมาจากงานเขยี น ภำษำท่ำทำง การสือ่ สารโดยการแสดงท่าทางแทนคาพดู หรือการแสดงท่าทางประกอบคาพูด เพอื่ ให้ความหมายมี ความชดั เจนยิง่ ขนึ้ การแสดงทา่ ทางต่างๆ อาจแสดงได้ลกั ษณะ เช่น การแสดงออกทางสีหนา้ การสบตา การ เคลือ่ นไหวศรี ษะ มอื การยกมอื การพยกั หนา้ การเลิกคิ้ว เป็นต้น วฒั นธรรมของเจำ้ ของภำษำ วิถีการดาเนินชีวิตของคนในสังคมท่ีใช้ภาษานั้น นับตั้งแต่วิธีการกินอยู่ การแต่งกาย การทางาน การ พักผ่อน การแสดงอารมณ์ การส่ือความ ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียมประเพณี เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เป็นต้น สื่อทไ่ี มใ่ ช่ควำมเรียง (non-text information) สง่ิ ที่ใชส้ อื่ สารแทนคา วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ สญั ลกั ษณ์ รปู ภาพ สิ่งของ แผนผงั แผนภูมิ ตาราง เป็นต้น

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พทุ ธศักราช 2564 108 ภำคผนวก ข. คำส่ังแต่งตั้งคณะผ้จู ัดทำ

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนบ้านเชียงดาว พุทธศกั ราช 2564 109


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook