Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร.9

ร.9

Published by benjarat16478, 2020-10-30 09:09:16

Description: ร.9

Search

Read the Text Version

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร

พระราชประวตั ิ

พระราชประวตั ิ ราชวงศ์ จกั รี พระราชบิดา สมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระราชสมภพ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บรรจุพระบรมอฐั ิ พระที่นงั่ จกั รีมหาปราสาท ลายพระอภิไธย

พระราชประวตั ิ อคั รมเหสี สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง พระราชบุตร ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกญั ญา สิริวฒั นาพรรณวดี พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สมเดจ็ เจา้ ฟ้ าฯ กรมพระศรีสวางควฒั น วรขตั ติยราชนารี

พระราชประวตั ิ ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 179 วนั ) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหนา้ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร ถดั ไป พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

พระราชประวตั ิ (ดา้ นการศึกษา) พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายไุ ด้ 4 พรรษา เสดจ็ เข้าศกึ ษาท่ีโรงเรียน มาแตร์เดอีวทิ ยาลยั จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จงึ เสดจ็ พระราช ดาเนินไปประทบั ณ เมืองโลซาน ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระ บรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิราชเพอื่ การศกึ ษา และพระพลานามยั ของสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิราช จากนนั้ ทรงเข้าศกึ ษาตอ่ ชนั้ ประถมศกึ ษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2477 ทรงศกึ ษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมนั และภาษาองั กฤษ แล้ว ทรงเข้าชนั้ มธั ยมศกึ ษา ณ เอกอลนแู วลเดอลาซอุ ิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซรู ์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)

ข้ึนครองราชยส์ ืบราชสนั ตติวงศ์ วนั ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดลเสดจ็ สวรรคตอยา่ งกระทนั หนั ณ พระท่ีนง่ั บรมพมิ าน ภายในพระบรมมหาราชวงั ในวนั เดียวกนั รัฐสภาลงมติเป็นเอกฉนั ทอ์ ญั เชิญสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้ าภูมิพลอ ดุลยเดช (พระยศในขณะน้นั ) ข้ึนทรงราชยส์ ืบราชสนั ตติวงศต์ ่อไป[21] จากน้นั ทรง เสดจ็ พระราชดาเนินไปศึกษาต่อ ณ มหาวทิ ยาลยั แห่งเดิม แต่เปล่ียนสาขาจาก วทิ ยาศาสตร์ ไปเป็นสาขาสงั คมศาสตร์ นิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ในวนั ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซ่ึงในช่วงเวลาน้นั พระองคย์ งั ทรงพระเยาวแ์ ละเสดจ็ พระราช ดาเนินศึกษาต่อ คณะผสู้ าเร็จราชการแทนพระองคช์ วั่ คราวในคร้ังแรก ซ่ึงไดแ้ ก่ พระสุธรรมวนิ ิจฉยั (ชม วณิกเกียรติ), พระยานลราชสุวจั น์ (ทองดี นลราชสุวจั น์) และสงวน จฑู ะเตมีย์ สมาชิกพฤฒสภา ต่อมาไดเ้ ปล่ียนเป็นพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรม ขนุ ชยั นาทนเรนทร และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วเิ ชียร ณ สงขลา))

ทรงประสบอบุ ตั ิเหตทุ างรถยนต์ เม่ือวนั ท่ี 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 ในระหวา่ งเสดจ็ ประทบั ยงั ต่างประเทศ ขณะท่ี พระองคท์ รงขบั รถยนตพ์ ระท่ีนงั่ เฟียส ทอปอลิโน จากเจนีวาไปยงั โลซาน ทรง ประสบอุบตั ิเหตุทางรถยนต์ กล่าวคือ รถยนตพ์ ระที่นง่ั ชนกบั รถบรรทุกอยา่ งแรง ทาใหเ้ ศษกระจกกระเดน็ เขา้ พระเนตรขวา พระอาการสาหสั หลงั การถวายการรักษา พระองคม์ ีพระอาการแทรกซอ้ นบริเวณพระเนตรขวา แพทยจ์ ึงถวายการรักษาอยา่ ง ต่อเน่ืองหลายคร้ัง หากแต่พระอาการยงั คงไม่ดีข้ึน กระทง่ั วนิ ิจฉยั แลว้ วา่ พระองค์ พระเนตรขวาบอด จึงไดถ้ วายการแนะนาใหพ้ ระองคท์ รงพระเนตรปลอมในที่สุด

พระราชพธิ ีราชาภิเษก พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรง หม้นั กบั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร เมื่อวนั ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 และเสดจ็ พระราชดาเนินนิวตั พระนครในปี ถดั มา โดยประทบั ณ พระที่นงั่ อมั พรสถาน ต่อมาวนั ท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ให้ จดั การพระราชพธิ ีราชาภิเษกสมรสกบั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ณ พระตาหนกั สมเดจ็ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ ภายในวงั สระปทุม ซ่ึงในการพระราชพธิ ีราชาภิเษกสมรสน้ี มีพระบรมราช โองการโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถาปนาหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ข้ึนเป็น สมเดจ็ พระราชินีสิริกิต์ิ

ผนวช พระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเสดจ็ ฯ ออกผนวชเป็นเวลา 15 วนั ระหวา่ งวนั ที่ 22 ตุลาคม–5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ณ วดั พระศรีรัตน ศาสดาราม โดยมีสมเดจ็ พระวชิรญาณวงศ์ สมเดจ็ พระสงั ฆราช เป็นพระ อุปัชฌาย์ ทรงไดร้ ับฉายาวา่ ภูมิพโลภิกขุ หลงั จากน้นั พระองคเ์ สดจ็ ฯ ไป ประทบั จาพรรษา ณ พระตาหนกั ป้ันหยา วดั บวรนิเวศวหิ าร[33] ระหวา่ งที่ ผนวชน้นั พระองคท์ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินี เป็นผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค[์ 34] ดว้ ยเหตุน้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จึงไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในวนั เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธนั วาคม ปี เดียวกนั

ผลงานที่โดดเด่น

โครงการแกลง้ ดิน แกลง้ ดิน เป็นแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาดินเปร้ียว จะ ทาดว้ ยการขงั น้าไวใ้ นพ้ืนท่ี จนกระทงั่ เกิดปฏิกิริยาทางเคมีจนทาใหด้ ินเปร้ียวจดั เม่ือถึงที่สุดแลว้ จะมีการระบายน้าออกแลว้ ปรับสภาพดินดว้ ยปนู ขาว จนกระทง่ั สามารถใชด้ ินในการเพาะปลูกได้

โครงการปลูกหญา้ แฝก พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ไดท้ รงศึกษาเรื่องการใชห้ ญา้ แฝกในการอนุรักษด์ ินและน้าจากเอกสารของธนาคารโลก ที่ นาย Richard Grimshaw ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวาย และพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกบั หญา้ แฝก โดยใหท้ รงทดลอง ปลูกหญา้ แฝกเพ่ือป้ องกนั การพงั ทลายของดิน จนปัจจุบนั มีหน่วยงานกวา่ 50 หน่วยงาน ดาเนินงานสนองพระราชดาริการพฒั นาและ รณรงคก์ ารใชห้ ญา้ แฝก ส่งผลใหก้ ารดาเนินงานกา้ วหนา้ มากข้ึนตามลาดบั

โครงการหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 พระราชทานโครงการแพทยห์ ลวงพระราชทาน เมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยที่มีการจดั เจา้ หนา้ ท่ีแพทย์ พยาบาล เครื่องมือเครื่องใช้ เพือ่ ตรวจรักษาราษฎรในถ่ินทุรกนั ดารโดยไม่คิดมลู ค่า และอบรมหมอหมู่บา้ นเพ่ือแกไ้ ขปัญหาสุขภาพของประชาชน

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง : เกษตรทฤษฎีใหม่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริเร่ืองเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเป็นตวั อยา่ ง การใชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี งในข้นั ตน้ โดยการทาเกษตรทฤษฎีใหม่น้ี แบ่งออกเป็น 3 ข้นั ไดแ้ ก่ ข้นั ตน้ คือ การแบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอตั รา 30-30-30-10 เพอ่ื ขดุ เป็นสระกกั เกบ็ น้า 30% ปลูกขา้ วในฤดูฝน 30% ปลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พชื ผกั สมุนไพร 30% และ เป็นท่ีอยอู่ าศยั อีก 10% จากน้นั จึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ข้นั ที่สอง คือการใหเ้ กษตรกรรวมกนั ในรูปแบบของกลุ่ม สหกรณ์ เพือ่ ดาเนินการในดา้ นการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวสั ดิการ การศึกษา จากน้นั จึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ข้นั ท่ีสาม คือการติดต่อประสานงาน จดั หาแหล่งเงินทุน เพ่ือใชล้ งทุนพฒั นาคุณภาพชีวติ ต่อไป

โครงการส่ วนพระองค์สวนจิตรลดา พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ไดพ้ ระราชทานทรัพยส์ ่วนพระองคส์ ร้างโครงการอนั หลากหลายในโครงการส่วน พระองคส์ วนจิตรลดา ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โครงการแบบไม่ใช่ธุรกิจ เพ่ือพฒั นาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และโครงการก่ึงธุรกิจ อาทิ โรงโคนมสวนจิตรลดา, โรงนมผงสวนดุสิต, น้าผ้งึ สวนจิตรลดา เป็นตน้

โครงการฝนหลวง พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดาริส่วนพระองคใ์ นเรื่องการจดั ทาฝนหลวง เพือ่ บรรเทาปัญหาขาดแคลน น้าในการเกษตร โดยมีการคน้ ควา้ ทดลองปฏิบตั ิการฝนหลวงข้ึน ซ่ึงจะใชส้ ารเคมีโปรยในทอ้ งฟ้ า จนกระทงั่ ไอน้าอ่ิมตวั และกลน่ั ตวั ออกมากลายเป็นเมด็ ฝน

กงั หนั น้าชยั พฒั นา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ไดม้ ีพระราชดาริใหม้ ูลนิธิชยั พฒั นาดาเนินการวจิ ยั และพฒั นา กงั หนั น้าชยั พฒั นาข้ึน เพอ่ื บาบดั น้าเสียดว้ ยวธิ ีการเติมอากาศ ทาใหน้ ้าเสียกลายเป็นน้าดี และสามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นการอุปโภค บริโภคของประชาชน น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และเพิ่มออกซิเจนใหบ้ ่อเพาะเล้ียงสตั วน์ ้าทางการเกษตร

แบบอยา่ งความดีสู่การปฏิบตั ิตน

ความซื่อสตั ย์ เราจะครองแผน่ ดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์แห่งมหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ รัชกาลที่ ๙ ตลอด ๗ ทศวรรษท่ีผา่ นมา พระองคท์ รงงานหนกั และต้งั ตนเป็นแบบอยา่ ง เป็น “พอ่ ท่ี ดี” ใหแ้ ก่ปวงชนชาวไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ พระองคท์ รงรักษาสญั ญา ทรงครองราชยต์ ามหลกั ทศพิธราชธรรม และไม่เคยทอดทิ้งประชาชนชาวไทย เราจึงปฏิเสธไม่ไดเ้ ลยวา่ พระองคท์ รงเป็น “กษตั ริยท์ ่ีทรง งานหนกั ท่ีสุดในโลก” และยงั เป็นกษตั ริยผ์ เู้ ป่ี ยมไปดว้ ยคุณธรรม และทรงทาทุกอยา่ งเพ่อื ประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง

ความกตญั ํู ในหลวงจะเป็นผทู้ รงประคองสมเดจ็ ยา่ เสมอ เม่ือเสดจ็ ไปในท่ีต่างๆ ถึงแมจ้ ะมีทหาร มีองครักษ์ มีพยาบาล ท่ีคอยถวายการดูแลสมเดจ็ ยา่ อยแู่ ลว้ แต่ในหลวงทรงรับสง่ั วา่ “ไม่ตอ้ ง คนน้ีเป็นแม่เรา เราประคองเอง”

ความพอเพยี ง เมื่อคร้ังพระชนมเ์ พียง ๘ พรรษา ในหลวงทรงซ้ือกลอ้ งถ่ายรูปกลอ้ งแรกดว้ ยเงินสะสมส่วน พระองค์ ท้งั ยงั เคยกราบทูลสมเดจ็ ยา่ วา่ อยากไดร้ ถจกั รยาน เพราะเพอ่ื นคนอื่นๆ เขามีกนั สมเดจ็ ยา่ รับสง่ั ตอบวา่ “ลกู อยากไดก้ ต็ อ้ งเกบ็ ค่าขนมไวส้ ิ หยอดกระป๋ องวนั ละเหรียญ ไดม้ าก ค่อยเอาไปซ้ือ” เร่ืองดงั กล่าวน้นั เป็นเพยี งเกร็ดเลก็ เกร็ดนอ้ ย เมื่อในหลวงยงั ทรงพระเยาวอ์ ยู่ ทวา่ แมก้ ระทงั่ ในหลวงทรงมีพระชนมายมุ ากข้ึน ท่านกย็ งั คงยดึ แนวทางเช่นเดิม ซ่ึงมีบนั ทึกวา่ ในปี หน่ึงๆ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงเบิกดินสอใชเ้ พยี ง ๑๒ แท่ง โดยทรงใชด้ ินสอ เดือนละ ๑ แท่งเท่าน้นั และทรงใชจ้ นกระทง่ั ดินสอน้นั กดุ จนใชเ้ ขียนไม่ไดแ้ ลว้ เสมอ หรือ แมแ้ ต่ “หลอดยาสีพระทนต”์ ซ่ึงหลายคนอาจจะเคยเห็นกนั บา้ งแลว้ นนั่ กเ็ ป็นอีกสิ่งหน่ึงที่ สะทอ้ น “ความพอเพยี ง” ของพระองคไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี

สมาชิกในกลุ่ม นาย อนุชาติ จุลอาพนั ธ์ เลขท่ี 5 นาย รัฐวฒั น์ ประทุมพนั ธ์ เลขที่ 14 นางสาว ณฐั ริดา ข่าวดี เลขท่ี 16 นางสาว วาริศา พวงเงิน เลขท่ี 18 นางสาว เบญจรัตน์ คงภูศรี เลขที่ 32 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook