Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 02_ กคศ.3 ส่วนที่ 2 ผลงานดีเด่นที่ประสบผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ (๙ มิย ๕๙)

02_ กคศ.3 ส่วนที่ 2 ผลงานดีเด่นที่ประสบผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ (๙ มิย ๕๙)

Published by tasapong, 2019-03-11 02:05:33

Description: 02_ กคศ.3 ส่วนที่ 2 ผลงานดีเด่นที่ประสบผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ (๙ มิย ๕๙)

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลงานดีเดน่ ทีป่ ระสบผลสาเร็จเปน็ ท่ปี ระจกั ษ์ (ดา้ นที่ 3 ส่วนที่ 2) ให้ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีวิทยฐานะหรอื เลอื่ นเปน็ วิทยฐานะครูเช่ยี วชาญ 1. ขอ้ มูลผ้ขู อรับการประเมนิ ชือ่ นางณัตฐิ า นามสกุล เพ็ชรแก้ว ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ ตาแหนง่ เลขที่ 3233 สถานศึกษา/หน่วยงาน วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรีธรรมราช อาเภอ เมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช สว่ นราชการ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา รับเงนิ เดอื นอนั ดับ คศ. 3 ขั้น 56,610 บาท เพือ่ มีหรือเลื่อนเปน็ วิทยฐานะ เช่ยี วชาญ 2. ผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ 3) มดี งั น้ี ส่วนที่ 2 ผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จเป็นท่ปี ระจักษ์ ให้ผู้รับการประเมินจัดทาเอกสารสรุปผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ใน หวั ข้อดังต่อไปน้ี (ทกุ ขอ้ ) โดยใหร้ ายงานไม่เกิน 50 หน้า (กระดาษ A4) ดังน้ี 1. รางวลั ลาดับที่ 70 ชอื่ รางวัล ครูผูส้ อนดีเด่น (ทุกกลุม่ สารการเรยี นร้)ู 2. รางวลั ลาดับที่ 99.4 ช่ือรางวัล รางวัลชนะเลิศการแขง่ ขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ 3. รางวัลลาดบั ท่ี 112 ชื่อรางวัล รางวัลชนะเลิศราชมงคลสรรเสริญผูม้ ีผลงานดีเด่นดา้ น วัฒนธรรม 4. รางวลั ลาดับท่ี 90 ชือ่ รางวัล รางวัลชนะเลิศการประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับชาติ รางวัลลาดบั ท่ี 1 (ตามภาคผนวก หน้า ๕๒ – ๕๓) ชอื่ รางวัล ครผู สู้ อนดเี ดน่ (ทุกกลุม่ สาระการเรยี นร้)ู กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงาน พน้ื ฐานอาชีพและเทคโนโลยีดเี ดน่ ผู้รบั รางวลั นางณตั ฐิ า เพช็ รแก้ว วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรธี รรมราช รบั เมอื่ วันท่ี 13 กนั ยายน พ.ศ.2556 ผู้ใหร้ างวัล ครุ สุ ภา ตามบญั ชีลาดบั ที่ 70 หน้าท่ี 41

๒ กาหนดเงอื่ นไขวา่ รบั รองให้กบั ข้าราชการครูท่ีมชี ื่อเปน็ ผู้ไดร้ ับรางวลั หมายเหตุ รางวัล นี้รับรองถงึ ปี พ.ศ. 2556 จานวนรางวัล ทีไ่ ดร้ ับประกอบด้วย (1) เข็มเชดิ ชเู กียรติ (2) เกยี รตบิ ตั ร รางวลั อยู่ในกาหนดเวลา รบั เมอ่ื วนั ท่ี 13 กนั ยายน พ.ศ.2556 1.๑ สภาพปญั หา แนวคิด หรือแรงจงู ใจในการจดั ทาผลงานดีเด่นทป่ี ระสบผลสาเร็จเป็น ท่ีประจกั ษ์ ครูดีเด่น กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานพ้ืนฐานอาชพี เป็นรางวัลที่คุรสุ ภา ในฐานะสภา ครู และบุคลากรทางการศึกษา มหี นา้ ทส่ี ่งเสริม สนบั สนนุ ยกยอ่ งและผดุงเกียรติ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพ ทางการศกึ ษา ตามพระราชบญั ญตั ิ สภาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 9 (5) (6) คุรุสภาจึงได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการยกย่องเชดิ ชูเกียรติผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ในสถานศึกษาท่ีจัด การศึกษาปฐมวัย ข้ันพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริญญาท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือส่งเสริม สมรรถนะและประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของครูที่ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนดี มีผลงาน ดีเด่น ใหม้ ีศกั ยภาพสงู ขนึ้ เสริมสร้างศรทั ธา ความเชือ่ ถือ และเปน็ แบบอย่างที่ดีในวชิ าชพี ครู ใหเ้ ปน็ ที่ ประจักษ์แกส่ งั คม ๑.๒ วิธีดาเนินการจัดทาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ ผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ ครูผู้สอนดีเด่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพ้ืนฐานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นผลงานที่เกดิ จากการจัดการการเรียนรู้ การจดั การการเรียน การสอน ในประเภทวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าการบรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ โดยข้าพเจา้ ไดว้ าง แผนการสอนเปน็ ขนั้ ตอนดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ ซึง่ มีจุดประสงค์ ดังน้ี 1. จุดประสงค์จงึ สาขาวิชา 1.1 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ วิธีการและกระบวนการ บริหารงาน คหกรรมศาสตร์ 1.2 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเทคนิคการบริหารงานอาชีพ ธุรกิจคหกรรม 1.3 เพื่อให้มีทักษะและประสบการณ์ทางวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ สามารถ นาไปใช้ในการประกอบอาชีพเชิงธรุ กจิ 1.4 เพื่อให้มีความสามารถในการเลือกใช้เทคโนโลยีพฒั นางานไดเ้ หมาะสม

๓ 1.5 เพื่อให้มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและทางานร่วมกับ ผูอ้ ืน่ ได้ 1.6 เพื่อให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ พฒั นางานได้ทนั สมยั 1.7 เพ่ือให้มีความสามารถใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและส่ิงแวดล้อม อย่างประหยัดและคุม้ คา่ 1.8 เป็นผู้มีวินัย ใฝ่หาความรู้ รับผิดชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน เสยี สละ เอื้อเฟือ้ เผือ่ แผ่และมีจรรยาบรรณวิชาชพี 1.9 เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ เห็นคุณค่า และความสาคัญของ ศิลปะวฒั นธรรม อันเป็นเอกลกั ษณ์ประจาชาติ 2. ศกึ ษามาตรฐานวชิ าชีพ ไดแ้ ก่ 2.1 พัฒนาตนเองด้านบคุ ลิกภาพ สอ่ื สารภาษาไทยและภาษาอังกฤษในงาน อาชพี 2.2 จัดระบบฐานข้อมูลในงานอาชีพ 2.3 แก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี 2.4 การจัดการเชงิ อตุ สาหกรรมและการควบคุมคุณภาพ 2.5 แสดงบุคลกิ ภาพและคณุ ลักษณะของผู้บรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ ข้ันตอนท่ี 2 ศึกษาสาขางาน การจดั งานดอกไม้และงานประดิษฐ์ 1. สารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู การตลาดเก่ยี วกบั ธรุ กจิ งานประดษิ ฐ์ 2. วางแผน และปฏบิ ตั ิการธุรกจิ งานประดิษฐ์ 3. ตรวจสอบและควบคุมคณุ ภาพงานธรุ กิจงานประดิษฐ์ 4. รายงานผล และพฒั นารปู แบบและคณุ ภาพงานประดษิ ฐ์ ขน้ั ตอนที่ 3 การวางแผนการสอน วิเคราะห์หลักสูตร กาหนดการสอน หน่วยการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และนาสิ่งท่ีจัดไปใช้ในการเรียนการสอนตาม ลักษณะวชิ า ขั้นตอนท่ี 4 วิเคราะหผ์ ูเ้ รยี น รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผู้เรยี นเป็นรายบุคคล นามาวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อ วางแผนพฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ และนาผลการวเิ คราะหไ์ ปใช้ในการเรยี นการสอน

๔ ข้าพเจ้ามีการส่งเสริมการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน โดยการดาเนินการตาม แผนการ โครงการ ท่ีได้รับมอบหมาย วิธีสอนท่ีนามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านความรู้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ และผู้เรียน ได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ทาให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงการ เรียนรใู้ ห้เกดิ ผลงานตา่ ง ๆ หลากหลาย นาวิธกี ารปรับประยกุ ตใ์ นชีวิตประจาวนั ไดด้ ี ได้แก่ การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นากระบวนการคดิ โดยไดน้ ารปู แบบ การสอนวทิ ยาศาสตร์แบบสืบ/เสาะหาความรู้ 5 ขัน้ เป็นแนวทางในการสอน ดังน้ี 1. ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) เปน็ การนาเข้าสูบ่ ทเรียน หรือเรื่อง ท่ีน่าสนใจ ซ่ึงอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของผู้เรียน หรืออาจมา จากเหตกุ ารณท์ ก่ี าลงั เกิดข้ึนอย่ใู นชว่ งเวลานัน้ หรอื เป็นเรื่องทีเ่ ช่อื มโยงกับความรเู้ ดมิ เป็นตวั กระตุ้น 2. ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) เม่ือมีหัวข้อเร่ืองท่ีน่าสนใจ มีการ วางแผนกาหนดการสารวจ ตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อ รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ สนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึง่ วธิ ีการอาจทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การทดลอง การ ทากิจกรรมสถานการณ์จาลอง การศึกษาข้อมลู จากแหล่งอา้ งอิง เอกสารอ้างองิ หรือแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ เพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลอยา่ งเพยี งพอ 3. ข้ันอภิปรายและสรุปผล (Explanation) เม่ือได้ข้อมูลอย่างเพียงพอ จึงนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างตาราง การค้นพบในขั้นนี้เป็นไปได้หลายทาง อาจสนับสนุนหรือโต้แย้งสมมติฐานที่ต้ังไว้ แต่ผลที่ ไดส้ ามารถสรา้ งความรแู้ ละช่วยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่ได้ ไปเช่ือมโยงกับ ความรู้เดิม หรือแนวคิดที่ได้จากการค้นคว้าเพ่ิมเติม หรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อภิปรายสถานการณ์ หรือ เหตุการณ์อ่ืน ๆ ส่งผลให้เกิดการเรียนรมู้ ากข้ึน 5. ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) เปน็ การประเมินการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ วา่ ผู้เรียนมีความรู้อะไรบา้ ง มากนอ้ ยเพยี งใด จากนนั้ นามาสรปุ นาไปส่กู ารนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในเรอ่ื งอืน่ ๆ ในชีวติ ประจาวันต่อไป การจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ข้าพเจ้าใช้เทคนิคการ เรยี นแบบรว่ มมือรว่ มใจ เป็นกระบวนการจดั การเรียนรู้ทส่ี ามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจดั การเรียน การสอนวิชาศิลปประดิษฐ์และวิชาอ่ืน ๆ ในสาขาวิชาคหกรรม เนื่องจากในขณะท่ีทาการเรียนการ สอน มีการทากิจกรรมร่วมกัน การทางานเป็นกลุ่ม ผู้เรียนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความรู้กันระหว่าง สมาชิกในกลุ่ม เกิดการสื่อสารแลกเปล่ียนกันได้เป็นอย่างดี การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจนั้น ต้องมี การจดั อยา่ งเปน็ ระบบ โดยคานงึ ถงึ

๕ 1. การจดั กลมุ่ กล่มุ ท่จี ะเรียนรู้ดว้ ยกนั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เปน็ กลุม่ กลมุ่ ละ ไม่เกิน 4 คน ประกอบด้วยนักเรียนที่มีประสิทธิภาพสูง ปานกลาง ค่อนข้างต่า และต่า และหญิงชาย เท่า ๆ กัน ในบางคร้ังอาจใช้วิธีอื่น เช่น การทาสาขาสิ่งประดิษฐ์ ต้องจัดกลุ่มนักเรียนที่มีความสนใจ เหมอื นกนั 2. อุดมการณ์ ความมุ่งมน่ั และอุดมการณ์ของนักเรยี นทีร่ ่วมกัน นักเรียนจะต้อง มีความมุ่งมั่นที่จะเรียนรู้ และกระตือรือร้นในการทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ส่ิงเหล่าน้ีต้องสร้างให้ เกิดขน้ึ และใหค้ งไว้ โดยการใหท้ ากจิ กรรมทห่ี ลากหลาย 3. การจัดการ เพ่ือให้การทางานกลุ่มมีประสิทธิภาพ ท้ังการจัดการของครูและ การจัดการของนกั เรียนภายในกลุ่ม ครูตอ้ งมกี ารจัดการท่ดี ี เพ่ือให้การทางานกลุ่มประสบความสาเร็จ เชน่ การควบคุมเวลา การกาหนดสญั ญาณให้นกั เรียนหยดุ กจิ กรรม 4. ทักษะของสังคม เป็นทักษะในการทางานร่วมกัน มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ใหค้ วามช่วยเหลือกัน ใหก้ าลงั ใจกนั และกัน รบั ฟังความคดิ เห็นของกันและกัน การจัดการเรียนการสอนเน้นความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยี กระบวนการ ทนี่ ักเรียนเป็นผูล้ งมือปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีระบบ ดว้ ยกิจกรรมทหี่ ลากหลาย ทัง้ การทากิจกรรม ในและนอกห้องเรียน การทดลองในห้องปฏิบัติ การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี การทาโครงงาน ส่ิงประดิษฐ์ การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ินโดยคานึงวุฒิภาวะ ประสบการณ์เดิม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมท่ีต่างกัน ความรู้ของนักเรียนจะเกิดข้ึนระหว่างที่นักเรียนมีส่วนร่วมกันในการทา กิจกรรมเหล่าน้ัน จึงจะมีความสามารถในการสืบเสาะความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหา ได้พฒั นากระบวนการคิดในขัน้ ท่สี ูงข้ึน และกระบวนการเรียนรู้น้ีจะทาให้นกั เรียนได้พฒั นาเจตคติทาง วิชาชีพคหกรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ในการมีศิลปะและเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ มีเจตคติและ ค่านิยมท่ีเหมาะสมต่อวิชาชีพและเทคโนโลยี รวมทั้งส่ือสารและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ขน้ั ตอนท่ี 5 การเตรียมสอน 1. การเตรียมเน้ือหา สาระการเรียนรู้ มีการกาหนดเน้ือหา สาระการเรียนรู้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน และความต้องการของท้องถน่ิ มีการบรู ณาการระหว่างการเรยี นร้กู ับกลมุ่ วิชาอ่ืนๆ 2. การเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอน มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ ผู้เรียนปฏิบัติจริง ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่หลากหลาย ด้วยกระบวนการกลุ่ม มีกิจกรรมให้ความรู้เสริมประสบการณ์โดยครู บุคลการกรอ่ืนๆ ฝึกให้นักศึกษาสรุปและสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเอง ดาเนินการสารวจและจัดกลุ่มเลือกกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนปฏบิ ัติตามความสามารถ แตล่ ะบุคคล จดั กจิ กรรมท่เี นน้ กระบวนการคิด การปฏิบัติจรงิ และสรา้ งองคค์ วามรูด้ ว้ ยตวั เอง

๖ 3. การเตรียมส่ือ แหล่งการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และ กิจกรรม การเรียนการสอน มคี วามหลากหลาย สอดคล้องกบั วยั และความสามารถของผู้เรียน และ ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในการจัดทา จัดหาส่ือ แหลง่ การเรียนร้ใู นสาระทถี่ ูกต้อง มคี ุณค่าทางวชิ าการ เนือ้ หา และภาษาที่ใช้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีความเหมาะสมประหยดั ค่าใช้จา่ ยและเวลา 4. การเตรยี มการวัดผล ประเมนิ ผล มีการกาหนดการวัดผลและเคร่ืองมือวัดผล สอดคล้องกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ และกิจกรรมการเรียนการสอน กาหนดเกณฑ์การประเมินผลไว้ ชัดเจน ครอบคลุมทงั้ ด้านความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ข้นั ตอนท่ี 6 การจัดการเรยี นการสอน ข้าพเจา้ ได้ปฏิบัติในการจดั การเรยี นรู้การสอน ดังน้ี 1. สอดคลอ้ งกับผ้เู รยี น จดั กจิ กรรมไดส้ อดคล้องกับความสนใจ ความถนดั และ คานงึ ถึงความแตกตา่ งของผเู้ รียน ส่งผลให้ผเู้ รยี นมีผลงานที่หลากหลายตามความสามารถของผู้เรียน 2. การฝึกทักษะและกระบวนการคิด มีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ฝึกกระบวนการคิด และฝึกกระบวนการแก้ปัญหา ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลงานที่เกิดจากการฝึกทักษะ ฝกึ กระบวนการคิด และฝกึ กระบวนการแกป้ ญั หาอยา่ งหลากหลาย 3. การฝึกปฏิบัติ มีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลงานท่ีเกิดจาก การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง การฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริง และการจัดการเรียนรู้ไห้คิดเป็น ทาเปน็ แก้ปัญหาได้ 4. การสร้างองค์ความรู้ มีการจัดกิจกรรม แหล่งการเรียนรู้ให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ผู้เรียนสามารถนาความรู้จากการศึกษาค้นคว้า การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานท่ีเกิดจากการศึกษาค้นคว้า จากแหล่งการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ มาอภิปราย นาเสนอ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานท่ีได้จากการสรุปเป็นองค์ ความรู้ได้ 5. การบูรณาการ มีการจัดกิจกรรมโดยมุ่งเน้นและกระบวนการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม และบูรณาการได้สัดส่วนสมดุล ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการเรยี นรู้ และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีดีงาม ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกคุณธรรมในการสอนทุกครั้ง โดย เน้นคุณธรรมนาความรู้ เพ่ือการดารงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ข้นั ตอนที่ 7 การใช้ส่ือการเรียนการสอน ขา้ พเจา้ ได้ปฏิบัตใิ นการใชส้ ือ่ การเรียนรู้ ดังนี้

๗ 1. ความเหมาะสมของการใช้ส่อื มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้ สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ เหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการ สอนของผ้เู รยี น 2. การมีส่วนร่วมในการใช้ส่ือ ครูและผู้เรียนใช้ส่ือนวัตกรรม เทคโนโลยีในการ จัดการเรียนรู้ผู้เรียนสามารถใช้ส่ือนวัตกรรมในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และผู้เรียนร่วมกันใช้สื่อ นวัตกรรมในการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานจากการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ได้อย่างหลากหลาย 3. การประเมินผลการใช้สื่อ มีการประเมินผลการใช้ส่ือ นวัตกรรมเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น แหล่งเรียนรู้ โดยนาผลการประเมินไปปรับปรงุ เพอ่ื พัฒนา และนาไปเผยแพร่ตอ่ ไป ขัน้ ตอนท่ี 8 การวดั ผลและประเมินผล ขา้ พเจา้ ได้ปฏบิ ตั ิในการวัดผลและประเมินผล ดงั นี้ 1. กระบวนการวัดผลและประเมินผล มีการวัดผลสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้ โดยจัดทาเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวัดผล ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ มีการ บันทึกผล และวิเคราะห์ผลการประเมินผลของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งก่อนดาเนินการสอน ระหว่างการ สอน และหลังการสอน แล้วนาผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน เพื่อ นาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการเรยี นการสอน มแี ฟม้ การพัฒนางานของผเู้ รยี น 2. คุณภาพของการวัดผลและประเมินผล มีการวัดผลและประเมินผลท่ี หลากหลาย ครอบคลมุ ท้ังด้านเน้ือหาความรู้ ทักษะ และเจตคติ ผลการประเมินตรงกบั ความสามารถ ที่แท้จริงของผู้เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรม การบันทึกรายงาน การประเมินผลงาน การสัมภาษณ์ แฟ้มพัฒนางาน โดยการขอรับคาแนะนาจากผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือการวัดผล และประเมนิ ผล 3. การมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล โดยครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง หรือผู้ ท่ีมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล มีการวัดผลโดยใช้เครื่องมือการวัดผลหลายวิธี ได้แก่การ สังเกต การสัมภาษณ์ การทดสอบ แฟ้มพัฒนางานของผู้เรียน ได้ประเมินตนเอง ประเมินเพื่อน และ ให้ผ้ปู กครองมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลงานของผ้เู รียน ขั้นตอนท่ี 9 ขั้นปรับปรุง พฒั นา แกไ้ ข การนาผลการประเมินมาพฒั นาประกอบดว้ ย การนาผลการ ประเมนิ มาวเิ คราะห์ว่า มีข้ันตอนการปฏิบัติงานใดท่ีควรปรับปรุง หรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์ รปู แบบ การดาเนนิ การใหม่ทีเ่ หมาะสมสาหรับการดาเนนิ การ ในปีต่อไป 1. มกี ารระดมสมองเพอื่ หาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนท่คี น้ พบ 2. มีการระดมสมองเพอ่ื หาทางเสรมิ ข้อดี/จุดแข็งเพ่ิมข้ึน

๘ 3. มกี ารนาผลท่ไี ดจ้ ากการระดมเพอ่ื พจิ ารณาสาหรบั ใช้วางแผนครัง้ ต่อไป 4. กาหนดกลยุทธใ์ นการดาเนนิ งานครงั้ ตอ่ ไป จากการทางานอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช มีช่ือเสียง ได้รับการยอมรับในด้านนวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ์ ซึ่งตรงกับปรัชญาวิทยาลัย “ทักษะนา คุณธรรมเด่น เน้นคุณภาพ” ซ่ึงมีผลงานเป็นท่ียอมรับเชิงประจักษ์ โดยการเผยแพร่ทางสื่อต่าง ๆ จนได้รบั รางวัล ครูผู้สอนดเี ดน่ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานพืน้ ฐานอาชพี และเทคโนโลยดี ีเดน่ ๑.๓ ผลท่ีเกิดจากการนาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ไปใช้ ผู้ขอรับการประเมินมีความตระหนักในการจัดการการเรียนการสอน เพ่ือมุ่งม่ันใน การพัฒนาการเรียนการสอนด้านวิชาชีพให้นักเรียน นักศึกษา ทุกคนมีความรู้ ความสามารถทักษะ คุณธรรมจริยธรรม มีความเชื่อมั่นในตนเอง และวิชาชีพ สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพ/ได้ตาม ความถนัดและความสนใจของตนเอง รู้จักสังคมและองค์ประกอบอื่น ๆ ท่ีจาเป็นซึ่งจะส่งผลถึงการ ปรับปรุงและพัฒนาให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากลสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม ความต้องการของตลาดแรงงานและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เพ่ือให้ได้จุดมุ่งหมาย ของการจัดการศึกษา คอื 1) เพอ่ื ใหบ้ คุ คลที่ไม่มีความรใู้ นวชิ าชพี ได้มคี วามรู้ดา้ นวิชาชีพ สามารถนาไปประกอบ อาชพี ไดต้ ามความถนดั และความสนใจของตน 2) เพ่ือให้บุคคลที่มีความรู้อยู่แล้วได้มีความรู้ความสามารถในอาชีพน้ัน ๆ ดียิ่งข้ึนเพื่อ เป็นการเพม่ิ พูนรายไดแ้ ก่ตนเองและครอบครัว 3) เพ่ือให้บุคคลมีความรู้อยู่แล้วแต่ประสงค์จะเปล่ียนไปประกอบอาชีพอื่นตามความ ถนดั และมีรายไดส้ งู ตามความประสงค์ของตนเอง 4) เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา ท่ีต้องการเรียนวิชาชีพ สามารถเข้าเรียนตามหลักสูตร ได้และเพื่อจบหลักสูตรก็สามารถโอนหน่วยกิตไปสมทบกับหน่วยกิตของระบบโรงเรยี นท่ีตนเองศึกษา อยไู่ ด้ 5) เพื่อให้รู้จักตนเอง รู้จักสังคม และองค์ประกอบอ่ืน ๆ ท่ีจาเป็นในการจัดการเรียน การสอนผู้ขอรับการประเมิน ได้จัดสภาพการเรียนการสอน ให้มีบรรยากาศในการเรียน เป็นการ ทางานเป็นกลุ่ม ให้ผู้เรียนร่วมอภิปรายปัญหา รับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกให้นักเรียน แสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนน้ ใหน้ ักเรียนได้ทดลอง ใหผ้ ูเ้ รียนได้คิด วิเคราะห์ และสรุปความคิดรวบยอดให้กระบวนการกลุ่มฝึก โดยการระดมสมอง ความคิดวางแผนการทางานรว่ มกัน รู้จักการจัดการและแบ่งหน้าท่ี ฝึกให้ผู้เรียน มคี วามรับผดิ ชอบในการเรียน การใชอ้ ปุ กรณ์ การจดั เก็บ การรักษา และการดแู ลหอ้ งเรียน

๙ ข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมิน เป็นครูผู้สอนในสาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ เพราะฉะน้ันในการเรียนการสอนข้าพเจ้าจึงยึดจุดประสงค์ของสาขาวิชาเพ่ือให้ผู้เรียนได้บรรลุ วตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใชค้ วามรู้และทักษะการสื่อสารทักษะการคิดและการแก้ไข ปญั หาและทักษะทางสังคมและการดารงชวี ิตในการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ 2. ผู้เรียนมีความเข้าใจหลักการบริหารจัดการวชิ าชีพ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ หลักการของงานอาชีพท่ีสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ให้ทันต่อการ เปล่ยี นแปลงและความกา้ วหน้าของเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 3. ผู้เรียนสามารถเข้าใจในหลักการและกระบวนการทางานในกลุ่มงานพ้ืนฐาน ดา้ นคหกรรมศาสตร์ สามารถนาไปประกอบอาชพี เชงิ ธุรกจิ 4. ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการ การพัฒนาตนเอง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ ไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง 5. ผ้เู รยี นสามารถปฏิบตั ิงานบรู ณาการความรู้ ทกั ษะมาประยุกต์ใช้ในงานอาชพี 6. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานคหกรรมในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งการใช้ความรู้และทกั ษะพืน้ ฐานในการศึกษาตอ่ ในระดับสูงได้ 7. ผเู้ รยี นมีเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชีพ มคี วามคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มรี ะเบียบ วินยั เป็นผูม้ ีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ส่ิงแวดล้อม ตอ่ ต้านความรนุ แรงและสารเสพตดิ ฉะนั้นในการจัดการในการดาเนินการเรียนการสอนข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมินได้ ดาเนินการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการ การเรียนรู้ที่เตรียมไว้จัดให้มีการประเมินผู้เรียนเพ่ือ ทราบความรูพ้ ้นื ฐานของผเู้ รยี น ประเมนิ ระหว่างเรียนและประเมินเมื่อสิน้ สุดการเรียน ในกระบวนการ เรียนการสอน ได้สอดแทรกการอบรมด้านจิตพิสัย คุณธรรมจริยธรรม โดยฝึกให้ผู้เรียนตรงต่อเวลา ซอ่ื สตั ย์ สุจริต สามคั คี รับผดิ ชอบ สนใจใฝร่ ู้และมคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มกี ารทดลอง ผลิตสอ่ื การ เรียนการสอน ทาการทดลองการใช้เพ่ือนาความรู้และทักษะมาใช้ในการเรียนการสอน ด้วยความ มุง่ มน่ั และจรงิ ใจในการปฏบิ ตั ิงานจนได้รบั รางวลั ดังนี้ 1. รางวลั ครขู วัญศิษย์ ประจาปีพุทธศักราช 2558 จากมูลนิธริ างวัลเจ้าฟ้ามหาจกั รี 2. รางวัลสุดยอดครูดี โครงการ “ครูดีมีทุกวัน” ประจาปี พ.ศ.2558 จากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กระทรวงศึกษาธิการ 3. ได้รับโล่ประกาศเกียรตคิ ณุ (ครดู เี ดน่ อาชวี ศึกษา) ปี 2557 ในฐานะเป็นผปู้ ฏิบัตติ น ตามจรรยาบรรณวิชาชีพและมีผลงานดีเด่นเป็นท่ีประจักษ์ ประเภทวิชาคหกรรม โดย สานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ประจาปี พ.ศ.2557

๑๐ 4. รางวัลครูดีเด่น ด้านการสอน ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้บริหารและครู ในวันครู ประจาปี 2557 จาก อาชวี ศกึ ษาจงั หวัดนครศรีธรรมราช 5. รางวัลครผู ้สู อนดเี ด่น ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา/หน่วยงานต้นสงั กัด ประจาปี 2556 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานและเทคโนโลยดี ีเด่น จากคุรุสภา 6. ได้รับเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ “หนึ่งแสนครูดี” ประจาปี 2554 ในฐานะเป็น ผูป้ ฏบิ ัตติ นตามมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพทางการศกึ ษา จาก ครุ สุ ภา 7. รางวัล ครูนวัตกรรมดีเด่น ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้บริหารและครู ในวันครู ประจาปี 2554 จาก อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั นครศรธี รรมราช 8. รางวัล ครูดเี ด่น 3 ปีซ้อน ในการปฏบิ ัตติ นในการครองตน ครองคน ครองงาน จาก อาชวี ศึกษาจงั หวัดนครศรธี รรมราช ประจาปี พ.ศ.2543 2544 และ 2545 ๑.๔ แนวคิดในการพัฒนาต่อไป ข้าพเจ้า มีแนวคิดในการพัฒนางาน ท้ังส่วนที่พัฒนาตอ่ เน่ือง และผลิตภัณฑ์ท่ีคิดคน้ สร้างสรรค์ข้ึนมาใหม่ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยการการจดั ทาสอ่ื ไดแ้ ก่ เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝกึ ปฏบิ ัติ สาหรบั ใชใ้ นการจัดการ เรียนการสอนวิชา ศลิ ปประดษิ ฐ์ รหสั วชิ า 3406-2113 เพือ่ นาไปส่กู ารพฒั นาโครงงานด้านการพัฒนา ผลิตภณั ฑ์จากผ้าลายไทย และส่งเสรมิ กิจกรรมโครงงานการคดิ คน้ สิ่งประดิษฐ์ สาหรบั นกั ศึกษา ระดบั ปวส. สาขาวชิ า คหกรรมศาสตร์

๑๑

๑๒ รางวัลลาดับที่ 2 (ตามภาคผนวก หนา้ ๕๔ – ๕๕) ชอ่ื รางวัล รางวัลชนะเลิศการแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี ระดับชาติ / ผลงาน ทกั ษะการ ประดษิ ฐ์ ของท่รี ะลึกสาหรับตกแตง่ บา้ น ผ้รู บั รางวัล นางณัตฐิ า เพช็ รแกว้ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช รับเม่อื วนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 ผใู้ ห้รางวลั สานักงานคณะกรรมการ การ อาชวี ศกึ ษา ตามบญั ชลี าดับที่ 99.4 หน้าท่ี 61 กาหนดเง่ือนไขว่า รับรองให้กับครูที่ฝึกสอนนักเรียนจนไดร้ ับรางวลั คิดเป็นร้อยละ 100 (ฝึกสอนแต่เพียงผู้เดียว) หรือกรณีท่ีมี ครูที่ฝึกสอนร่วมกันหลายคน ให้นามาเสนอขอได้เพียงคนเดียว และผู้น้ันต้องมีส่วนร่วมในการฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ทั้งนี้ต้องตรงกับ สาขา/สาขาวชิ า/กล่มุ สาระการเรยี นรู้ทีข่ อรับการประเมนิ จานวนรางวัล ทีไ่ ดร้ บั ประกอบดว้ ย (1) โล่รางวัล (2) เกยี รติบัตร

๑๓ รางวัลอยูใ่ นกาหนดเวลา รับเม่ือวนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 ๒.๑ สภาพปัญหา แนวคดิ หรือแรงจูงใจในการจัดทาผลงานดเี ดน่ ท่ปี ระสบผลสาเรจ็ เปน็ ท่ปี ระจักษ์ การแข่งขันทักษะวิชาชพี ประเภทวิชาคหกรรม เร่ือง ทักษะการประดิษฐ์ของ ท่ีระลึกสาหรับตกแต่งบ้าน ระดับ ปวส. ระดับหน่วย ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ เพ่ือ พัฒนาและส่ง เส ริม ทั ก ษ ะปร ะดิ ษ ฐ์ข อ ง ที่ร ะลึก สา หรั บต ก แต่ ง บ้า นใ ห้แ ก่ นั ก ศึ กษ า ไ ด้น าค ว า ม รู้ ความสามารถจากการเรียนมาสร้างงาน พัฒนางานให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานจริง ได้รับ ประสบการณ์นอกเหนือจากการศึกษาในห้องเรียน กล้าคิด กล้าทา รู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ และ สามารถนาไปประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ ๒.๒ วิธีดาเนินการจัดทาผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ ข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมิน ผู้มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์/รางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับชาติ/ผลงานทักษะการประดิษฐ์ของท่ีระลกึ สาหรับตกแต่งบา้ น ได้ดาเนนิ การตามข้นั ตอนดังนี้ 1. วิธใี นการดาเนินการจดั ทาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเรจ็ เปน็ ทปี่ ระจักษ์ ในการดาเนินการจัดทาทักษะการประดิษฐ์ของที่ระลึกสาหรับตกแต่งบ้าน ส่งผลให้ ได้รับรางวัลทั้งในระดับภาค ระดับชาติอย่างต่อเนื่องนั้น ข้าพเจ้าได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจาก วิทยาลยั ฯ อยา่ งเป็นระบบ เริม่ ตงั้ แตข่ ้าพเจา้ ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าท่รี ับผิดชอบการแขง่ ขันทักษะ วิชาชีพ ประเภทวิชาคหกรรม เรื่องทักษะการประดิษฐ์ของท่ีระลึก สาหรับตกแต่งบ้าน ระดับ ปวส. ในระดับหนว่ ย ระดับภาค ระดับชาติ ซ่งึ ตรงกับความรู้ ความสามารถ ของข้าพเจ้า โดยมลี าดับขัน้ การ ปฏิบตั งิ านดงั น้ี 1.1 ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายจากวิทยาลัยฯ ให้ทาหน้าที่รับผิดชอบฝึกทักษะการ แขง่ ขันทกั ษะการประดิษฐข์ องท่รี ะลึกสาหรับตกแต่งบ้าน และรับมอบนโยบายการทางานโดยตรงจาก ผู้อานวยการวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช และรองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ 1.2 ข้าพเจ้าได้บูรณาการการ ในการจัดการเรียนการสอน วิชาศิลปประดิษฐ์ โดย การสอนเปน็ ชนิ้ งาน/โครงการ 1.3 ได้รับการส่งเสริมให้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน ได้แก่ การเข้ารบั การอบรม การจดั นทิ รรศการ การนานักศกึ ษาเขา้ ร่วมการประกวดในเวทีต่าง ๆ 1.4 ได้รับการจัดสรรและสนับสนุนงบประมาณจากวิทยาลัยฯ อย่างพอเพียง ใน การจัดทาช้ินงาน การดาเนินการ การเข้าร่วมการประกวด เช่น การประกวดประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ การแข่งขนั ทักษะ การประกวดสง่ิ ประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ เปน็ ต้น

๑๔ การดาเนินงานที่ผ่านมาโดยตลอด ข้าพเจ้าทาหน้าที่ครูที่ปรึกษาโครงการหารายได้ ระหว่างเรียน และส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ต้ังแต่ปีการศึกษา 2553 ถึงปัจจุบัน ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนการทางาน ได้รับแนวทางที่ถูกต้องในการดาเนินงานจากผู้อานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษา นครศรธี รรมราช นายสรุ พล โชติธรรมโม โดยเฉพาะโครงการพัฒนาสงิ่ ประดิษฐ์ และส่งิ ประดษิ ฐจ์ าก ผ้าลายไทย ได้รับการแนะนา ให้คาปรึกษา สนับสนุน ในการค้นคว้าทดลองผลิตภณั ฑ์จากผ้าลายไทย อย่างต่อเน่อื ง ท้ังน้ี วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ได้เล็งเห็นความสาคัญในด้านดังกล่าว โดยกาหนดเป็นนโยบายตามยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการวจิ ัย ประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์ บนพื้นฐานของสังคมแห่งการเรียนรู้ สนับสนุนให้มีการจัดทาสิง่ ประดิษฐเ์ พื่อการจัดการเรียนการสอน นาไปสู่การเข้าร่วมการการแข่งขันทักษะและการประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ รวมถึงการ นาเสนอผลงานทางวิชาการ เพื่อเผยแพร่ผลงานองค์ความรู้ การแลกเปล่ียนเรียนรู้เทคโนโลยีในการ พฒั นานวัตกรรม 2. ขา้ พเจ้าดาเนินการในการฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพ ประเภทวชิ าคหกรรมฯ เร่ืองทกั ษะ การประดิษฐ์ของท่รี ะลึกสาหรบั ตกแต่งบ้าน ตามหลกั การ PDCA ดงั น้ี Plan (วางแผน) ทางานโดยการวางแผนการดาเนนิ งานอย่างรอบคอบ ครอบคลมุ ถงึ การกาหนด หัวขอ้ ทตี่ ้องการปรับปรุงเปล่ยี นแปลง ซึ่งรวมถึงการพฒั นาสิ่งใหมๆ่ การแกป้ ัญหาทเี่ กิดข้ึนจากการ ปฏบิ ัตงิ าน อาจประกอบดว้ ย การกาหนดเปา้ หมาย หรอื วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนินงาน Plan การ จัดอนั ดบั ความสาคญั ของ เป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งาน กาหนด ผ้รู บั ผดิ ชอบหรอื ผู้ดาเนนิ การและกาหนดงบประมาณที่จะใช้ 1. วัตถปุ ระสงคเ์ หมาะสม และสอดคลองกบั แผนพฒั นา/พันธกจิ 2. มกี ารกาหนดผู้รบั ผิดชอบหรอื ไม่ (รายบคุ คล/คณะบุคคล) 3. ระยะเวลาดาเนนิ การทกี่ าหนดไวเ้ หมาะสมหรือไม่ 4. งบประมาณที่กาหนดเหมาะสม 5. มีการเสนอเพื่อขออนมุ ตั ิก่อนดาเนนิ การ Do (ปฏบิ ัติตามแผน) จากนัน้ การดาเนินการตามแผน ประกอบดว้ ย การมโี ครงสร้างรองรับการดาเนินการ เชน่ คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะทางาน ซง่ึ วทิ ยาลัยฯ มีคณะทางานการฝึกทักษะวชิ าชพี ได้ ดาเนนิ การดงั นี้ 1. มกี ารกาหนดขนั้ ตอนหรือวิธกี ารดาเนนิ การ

๑๕ 2. มีผรู้ ับผดิ ชอบดาเนินการได้ตามกาหนดไว้ 3. มีการประสานงานกบั ผูท้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง 4. สามารถดาเนนิ การตามระยะเวลาทกี่ าหนด 5. สามารถดาเนนิ การได้ตามงบประมาณท่กี าหนดไว้ Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หลังจากดาเนนิ การแล้ว มกี ารประเมนิ และตรวจสอนประกอบด้วย ประเมนิ ขน้ั ตอน การดาเนนิ งาน และการประเมนิ ผลของการดาเนนิ งานตามแผนทีไ่ ดต้ งั้ ไว้ 1. ตรวจสอบหลักเกณฑ์และกติกา 2. ตรวจสอบการกาหนดของกล่มุ การทางาน 3. ตรวจสอบการดาเนนิ งานกล่มุ 4. ตรวจสอบปญั หา/จดุ อ่อนทพ่ี บในการดาเนินงาน 5. ตรวจสอบ/จุดแข็งของการดาเนินงาน Act (ปรับปรุงแกไ้ ข) การนาผลการประเมินมาพัฒนาประกอบดว้ ย การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะหว์ ่า มขี ้นั ตอนการปฏิบัตงิ านใดท่ีควรปรับปรุง หรอื พฒั นาสงิ่ ทีด่ ีอยู่แลว้ ใหด้ ียิ่งข้นึ ไปอีก และสังเคราะห์ รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสมสาหรับการดาเนินการ ในปีตอ่ ไป 1. มกี ารระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนทค่ี น้ พบ 2. มกี ารระดมสมองเพ่ือหาทางเสรมิ ข้อด/ี จุดแข็งเพิม่ ขึน้ 3. มีการนาผลทีไ่ ด้จากการระดมเพ่ือพจิ ารณาสาหรับใชว้ างแผนคร้ังต่อไป 4. กาหนดกลยุทธ์ในการดาเนินงานครั้งต่อไป จากการทางานอย่างเป็นระบบ สง่ ผลให้วิทยาลยั อาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช มี ช่อื เสียง ในการแขง่ ขันทกั ษะ ได้รับการยอมรบั ในด้านนวตั กรรมและทกั ษะการประดิษฐ์ ผลงาน ดา้ นคหกรรม เหมาะสมและตรงกับเอกลักษณ์ของวทิ ยาลยั “ทักษะนา คุณธรรมเด่น เนน้ คุณภาพ” ซง่ึ มผี ลงานเป็นทีย่ อมรบั เชงิ ประจักษ์ ในด้านทักษะวชิ าชีพ และการเผยแพรผ่ ลงานผา่ นสื่อตา่ ง ๆ ไดร้ ับรางวัลดังต่อไปนี้ 1.1) การประกวดระดบั ภาคใต้ 1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันทักษะวิชาชพี คหกรรมศาสตร์ เรอ่ื ง การประดษิ ฐ์ของทร่ี ะลกึ ตกแต่งบ้าน ประจาปี พ.ศ. 2558 2. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ เรื่องการ ประดษิ ฐ์ของท่รี ะลึกสาหรบั ตกแต่งบา้ น ประจาปี พ.ศ. 2557

๑๖ 3. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันทักษะวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ เรอ่ื งการจัดดอกไมแ้ บบสรา้ งสรรค์ ประจาปี พ.ศ.2556 4. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ เร่ืองการ ประดิษฐพ์ ุม่ ประดิษฐ์จากผ้า ประจาปี พ.ศ. 2555 5. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันทักษะวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ เรือ่ งการประดษิ ฐ์ของทีร่ ะลกึ ประเภทเครอ่ื งหอม ประจาปี พ.ศ.2554 1.2) การประกวดระดบั ชาติ 1.รางวัลชนะเลิศ สาขาวิชาคหกรรม งานของท่ีระลึก ประเภทเคร่ืองหอม การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ในการประชุมทางวิชาการองค์การวิชาชีพ ระดับชาติ ครั้งท่ี 20 ประจาปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที่ 24 – 28 มกราคม 2554 ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จงั หวดั เชียงราย 2. รางวลั ชนะเลิศ การแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าชีพ ระดับชาติ ระดับเหรียญทอง ประเภทวชิ าคหกรรมศาสตร์ พมุ่ ประดษิ ฐจ์ ากผ้าสาหรับตกแตง่ สถานท่ี ในการประวชิ าชีพในอนาคต แหง่ ประเทศไทย การแข่งขนั ทกั ษะวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 21 ประจาปีการศึกษา 2554 ระหวา่ งวันท่ี 29 มกราคม – 3 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2555 3. รางวัลชนะเลิศ ทักษะการประดิษฐ์ของท่ีระลึกสาหรับตกแต่งบ้าน การ ประชุมวิชาการองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติ ครั้งท่ี 23 ปีการศึกษา 2556 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2557 ณ วทิ ยาลยั เทคนคิ นครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช 4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเหรียญทอง การแข่งขันทักษะการ ประดิษฐ์ของที่ระลึกสาหรับตกแต่งบ้าน การประชุมวิชาการองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศ ไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ระดับชาติ ครั้งที่ 24 ปีการศึกษา 2557 วนั ท่ี 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ณ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาหนองคาย จงั หวัดหนองคาย ๒.๓ ผลท่ีเกิดจากการนาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ไปใช้ ผู้ขอรับการประเมินได้นาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเรจ็ เปน็ ท่ีประจักษ์ของที่ระลึก สาหรบั ตกแต่งบา้ น ไปใช้ดงั น้ี 1. ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนวิชาศิลปะประดษิ ฐ์ 2. ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนวิชาของชาร่วยและของทร่ี ะลกึ 3. ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนวชิ างานประดิษฐ์ตามสมยั นยิ ม 4. ใช้ประกอบการเรยี นการสอนวชิ าของท่รี ะลกึ สาหรับตกแต่งบา้ น

๑๗ 5. ใช้ในโครงการชมรมวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ในการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ เพ่ือใช้ เป็นของใช้ของทีร่ ะลกึ สาหรับตกแตง่ บ้าน 6. ใช้ในโครงการหารายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน นักศึกษาแผนกวิชาคหกรรม ศาสตรท์ ตี่ อ้ งการมรี ายได้ระหวา่ งเรียน เพื่อเปน็ การแบ่งเบาภาระของครอบครวั 7. ใช้ในโครงการสอนหลักสูตรระยะส้ันในโครงการสอนอาชีพแก่กลุ่มสนใจ กลุ่ม เยาวชน กลุม่ ชุมชน กล่มุ แม่บา้ น ซึ่งเป็นโครงการสอนอาชพี ในสถานศกึ ษา และนอกสถานศึกษา 8. ใชเ้ พือ่ พัฒนากิจกรรมผู้เรียน ใหน้ าความรู้ความสามารถมีทกั ษะสามารถประยุกต์ ใชค้ วามร้อู อกแบบการประดิษฐ์ผลงานทางดา้ นคหกรรมศาสตร์เพ่ือเข้าร่วมการประกวดและแข่งขันใน ระดบั จงั หวัด ระดับภาค ระดบั ประเทศต่อไป ๒.๔ แนวคิดในการพัฒนาต่อไป ข้าพเจ้า มีแนวคิดในการพัฒนางาน ท้ังส่วนท่ีพัฒนาต่อเน่ือง และผลิตภัณฑ์ที่คิดค้น สร้างสรรค์ข้ึนมาใหม่ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยการการจดั ทาสื่อ ได้แก่ เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝกึ ปฏบิ ัติ สาหรับใช้ในการจัดการ เรยี นการสอนวชิ า ศลิ ปประดิษฐ์ รหสั วิชา 3406-2113 เพ่ือนาไปสกู่ ารพฒั นาโครงงานด้านการพัฒนา ผลิตภัณฑจ์ ากผา้ ลายไทย และส่งเสริมกิจกรรมโครงงานการคิดค้นส่ิงประดิษฐ์ สาหรับนกั ศึกษา ระดับ ปวส. สาขาวชิ า คหกรรมศาสตร์ ข้าพเจ้ามีความมุ่งหวังที่จะพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากผ้าลายไทย เพื่อใช้เป็นสื่อ ประกอบการจัดการเรียนการสอน นาไปสู่การพัฒนาโครงงานด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งประดิษฐ์ ผ้าลายไทย สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ด้านหัตถศิลป์และประเภทผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูป เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา ได้อนุรักษ์ผ้าลายไทย เพื่อไปใช้ในการประกอบอาชีพเมื่อจบ การศึกษา หรือใช้พัฒนาต่อในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น และเข้าร่วมการประกวดในเวทีระดับ จงั หวัด ระดับภาค และระดับชาตติ อ่ ไป

๑๘

๑๙

๒๐ ผลงานการแขง่ ขันทักษะการประดิษฐ์ ของที่ระลกึ สาหรบั ตกแตง่ บ้าน จากงานการประชุมทางวชิ าการองค์การวิชาชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 23 ประจาปกี ารศกึ ษา 2556 ระหวา่ งวนั ที่ 3 – 7 กุมภาพันธ์ 2557 ณ จงั หวัดนครศรีธรรมราช

๒๑ 3. รางวัลลาดับที่ 3 (ตามภาคผนวก หนา้ 5๖ – 5๘) ชอื่ รางวัล รางวลั ชนะเลศิ ราชมงคลสรรเสริญ ผมู้ ีผลงานดีเด่นดา้ นวัฒนธรรม ผ้รู ับรางวลั นางณัติฐา เพ็ชรแก้ว วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรธี รรมราช รบั เม่อื วนั ท่ี 15 กันยายน พ.ศ.2557 ผ้ใู หร้ างวลั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ตามบัญชีลาดบั ท่ี 112 หน้าท่ี 71 กาหนดเง่ือนไขวา่ รบั รองใหก้ ับข้าราชการครทู ่มี ีชือ่ เปน็ ผไู้ ด้รบั รางวลั จานวนรางวัล ท่ีไดร้ บั ประกอบดว้ ย (1) รางวัลราชมงคลสรรเสริญ ซึ่งมีลักษณะเป็นเสาพุ่มพนมมาลา สาหรับบุคคล ทั่วไป และโลร่ างวลั สาหรบั นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยฯ (2) ใบประกาศเกยี รตคิ ุณ (3) เงินรางวัล ๆ ละ 5,000 บาท สาหรับบุคคลท่ัวไป และ 3,000 บาท สาหรับ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ฯ (4) นาประวัติและผลงานตีพิมพ์ในหนังสือเพ่ือเป็นการประกาศเกียรติคุณและ เผยแพรใ่ ห้แกห่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ (5) ไดร้ ับการจารึกในทาเนียบผมู้ ผี ลงานดีเดน่ ทางวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยฯ รางวัลอยู่ในกาหนดเวลา รับเม่ือวันท่ี 15 กันยายน พ.ศ.2556 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ๓.๑ สภาพปญั หา แนวคิด หรือแรงจูงใจในการจัดทาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จ เปน็ ทป่ี ระจักษ์ รางวัลราชมงคลสรรเสริญ เป็นรางวัลที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันราชมงคลน้อมเกล้าฯ และเห็นสมควรยกย่องผู้มีผลงานดีเดน่ ทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นเกียรติ และขวัญกาลังใจ สาหรับผู้ประกอบคุณงามความดีในการส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ พัฒนางานศิลปวัฒนธรรม และเพ่ือเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง มั่นคง ดารง เอกลักษณ์ไทย ให้การศึกษาศิลปวัฒนธรรมไทยในลักษณะบูรณาการพ้ืนฐานการอาชีพ รวมท้ัง ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถ่ิน ยกย่องคนดี คนเก่งในสังคม และยังเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงาน และคุณความดีของบุคคลที่เสียสละ ทุม่ เทกาลงั กาย กาลังใจ กาลังความคิด และทรัพยส์ นิ เงินทองเพื่อ จรรโลงสังคม และพัฒนาชาติบ้านเมืองให้มีความเจริญก้าวหน้าให้เป็นที่รับรู้ในวงกว้าง ซึ่งบุคคล เหล่าน้ีทาได้คุณประโยชน์ต่อประเทศชาติในการอนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของชาติและ

๒๒ ท้องถ่ินไว้เป็นมรดกแก่ลูกหลานและเป็นแบบอย่างที่ดี ของสังคม อาจปรากฏในรูปการศึกษาค้นคว้า การสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรม หรือพฤติกรรมที่แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละ อันสูงส่ง ทางมหาวิทยาลัยจึงได้จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเป็นการยกย่องสรรเสริญบุคคลในหลากหลาย สาขาอาชีพ โดยใช้วิธีการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมฯและจัดมอบรางวัลราชมงคล สรรเสริญเป็นประจาทุกปี เพื่อเป็นการยกย่องและประกาศเกียรติคุณให้เยาวชนและบุคคลทั่วไปได้ เรยี นรู้ และสืบทอดงานศลิ ปวัฒนธรรมใหค้ งอยู่ค่ปู ระเทศชาตสิ บื ไป ๓.๒ วิธีดาเนินการจัดทาผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ ขา้ พเจา้ ผู้ขอรับการประเมิน ไดม้ ีความตระหนักในการการจัดการเรียนรู้ จัดกระบวนการสอน ในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ โดยได้สอดแทรกผลงานทางด้านนวัตกรรม ในการ เสริมสร้าง ผลงาน ทางด้านวัฒนธรรมเข้าไปในรายวิชา เช่น วิชาศิลปประดิษฐ์ วิชาออกผลิตภัณฑ์ วิชาของที่ระลึกสาหรับ ตกแต่งบ้าน เพ่ือจรรโลงสังคมโดยรวมพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เป็นมรดกแก่ลูกหลาน เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ สังคม ซ่ึงข้าพเจ้าเป็นครูผู้สอนในสาขาคหกรรมสาสตร์ มีความมุ่งมั่นในการสอน มีการพัฒนาสร้างสรรค์ ผลงานภูมิปัญญาด้านคหกรรมศาสตร์ ในการพัฒนาส่ือให้มีความแปลกใหม่ สร้างนวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์ และไดน้ าเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการออกแบบผลติ ภัณฑ์อยา่ งต่อเนอ่ื ง ขา้ พเจา้ จึงไดร้ ิเร่ิมสร้างสรรคผ์ ลงานสิ่งประดิษฐ์จากผ้าลายไทย โดยเรม่ิ ตน้ มาต้ังแต่ ปี พ.ศ.2540 มาจนถึงปัจจุบันในการออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าลายไทย มาสร้างเป็นช้ินงานน้ัน ได้ พยายามสร้างผลงานที่เน้นในการอนรุ ักษ์ไทย จากการมุง่ มั่นและศึกษาทดลองมาตลอดจนได้ผลิตภัณฑ์ เกิดขึ้นมากมายจนได้รับการยกย่องท้ังในหน่วยงานสถานศึกษาและหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เข้ามาศึกษาดู งานในสถานศกึ ษา จนเป็นผลงานนวตั กรรมดีเด่นของสถานศกึ ษา ผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ ลายไทยในรปู แบบ ต่าง ๆ เช่น กระทงลอย ชุดขันหมาก ตะกร้าของขวัญ ชุดเคร่ืองหอม และได้เข้าแข่งขันทักษะวิชาชีพ และประกวดจนได้รับรางวัล และที่สาคัญได้รางวลั สูงสดุ ระดบั ชาติ 7 รางวลั ดงั นี้ 1. รางวัลชนะเลิศ การประกวดกระทงลอยขนาดใหญ่จากผ้าลายไทย ได้รับรางวัล พระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมิพลอดลุ ยเดช ในการประกวดกระทงลอยพระพุทธ มณฑล กรงุ เทพ ประจาปี 2555

๒๓ 2. รางวัลชนะเลิศ สาขาวิชาคหกรรม งานของท่ีระลึก ประเภทเคร่ืองหอม การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ในการประชุมทางวิชาการองค์การวิชาชีพ ระดับชาติ ครั้งท่ี 20 ประจาปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที่ 24 – 28 มกราคม 2554 ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จงั หวัดเชยี งราย 3. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับชาติ ระดับเหรียญทอง ประเภทวิชาคหกรรมศาสตร์ พุ่มประดิษฐ์จากผ้าสาหรับตกแต่งสถานท่ี ในการประวิชาชีพในอนาคต แห่งประเทศไทย ระดับชาติ ครั้งที่ 21 ประจาปีการศึกษา 2554 ระหว่างวันท่ี 29 มกราคม – 3 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2555 4. รางวัลชนะเลิศ ทักษะการประดิษฐ์ของที่ระลึกสาหรับตกแต่งบ้าน การ ประชุมวิชาการองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติ ครั้งที่ 23 ปีการศึกษา 2556 วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2557 ณ วิทยาลัยเทคนิคนครศรธี รรมราช จงั หวัดนครศรีธรรมราช 5. รางวัลชนะเลศิ ผลงานส่ิงประดิษฐ์ กรอบรูปนกยูงจากผ้าลายไทย วิทยาลัย อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช สิ่งประดิษฐ์ประเภทที่ 9 สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์ การประกวดสุดยอด นวัตกรรมอาชีวศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ประจาปีการศึกษา 2557 การประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ระดับชาติ ระหว่างวันที่ 5 – 8 กุมภาพันธ์ 2558 ณ Mcc Hall เดอะมอลล์ บางกะปิ กรงุ เทพมหานคร โดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

๒๔ 6. รางวัล Honor Award ผลงานสิ่งประดิษฐ์ กรอบรูปนกยูงจากผ้าลายไทย วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช สงิ่ ประดิษฐ์ประเภทที่ 9 ส่งิ ประดิษฐ์ด้านหัตถศลิ ป์ การประกวด สุดยอดนวัตกรรมอาชวี ศกึ ษาเฉลมิ พระเกียรติ ประจาปกี ารศึกษา 2557 การประกวดส่งิ ประดษิ ฐ์ของ คนรุ่นใหม่ ระดบั ชาติ ระหวา่ งวันท่ี 5 – 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 ณ Mcc Hall เดอะมอลล์ บางกะปิ กรงุ เทพมหานคร โดยสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 7. ได้รับรางวัลเกียรติคุณ “อนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาไทย เทิดไท้องค์วิศิษฎ ศลิ ปิน” ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ เปน็ ผู้อนุรักษส์ บื สานภูมปิ ัญญา และวฒั นธรรม ซ่งึ เป็นเอกลกั ษณ์อัน ลา้ ค่าของชาติ ตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งการอนุรักษ์ มกดกไทย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ องค์ราชินูปถัมภ์ด้านด้านการอนุรกั ษ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์วิศิษฎศิลปิน จากสมาคมสโมสรวัฒนธรรมหญิงใน พระบรมราชินปู ถมั ภ์ เมื่อวนั ท่ี 5 เมษายน 2557

๒๕ ตัวอยา่ งผลงานดีเด่นทางด้านนวตั กรรม จากผ้าลายไทย ไก่เคร่อื งหอมประดิษฐ์สร้างสรรค์ นกยูงประดิษฐจ์ ากผ้าลายไทย

๒๖ จากผ้าลายไทย สับปะรดประดิษฐจ์ ากผา้ ลายไทย เต่าประดิษฐส์ รา้ งสรรคจ์ ากผา้ ลายไทย นกประดิษฐ์สรา้ งสรรค์จากผ้าลายไทย โคมไฟประดบั ตกแต่งฝาผนงั จากผา้ ลายไทย ตัวอย่างผลงานดเี ดน่ ทางด้านนวตั กรรม จากผ้าลายไทย

๒๗ พมุ่ ประดิษฐ์สาหรับตกแตง่ สถานท่ี กระทงลอยประดิษฐ์สร้างสรรค์ จากผ้าลายไทย จากผา้ ลายไทย โอง่ ประดิษฐส์ รา้ งสรรคจ์ ากผา้ ลายไทย ไกแ่ จ้ประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์จากผ้าลายไทย ชุดขนั หมากผา้ ลายไทย ปลาจากผา้ ลายไทย

๒๘ ตัวอย่างผลงานดีเด่นทางด้านนวัตกรรม จากผ้าลายไทย ม้าน้าประดิษฐ์จากผา้ ลายไทย ชุดเครอ่ื งหอมประดิษฐ์จากผ้าลายไทย ปลาตะเพียนประดิษฐ์จากผา้ ลายไทย โคมไฟประดษิ ฐ์จากผ้าลายไทย ข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมิน นาผลงานผลิตภัณฑ์จากผ้าลายไทยไปใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนให้กับนักศึกษา สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ และเป็นผลงานเด่นทางด้านนวัตกรรมของ วิทยาลยั ฯ เพ่ือขอรับการประเมินต่าง ๆ ทางวิทยาลัยฯ จึงได้เสนอให้ข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมินเพื่อ เข้ารับรางวัลราชมงคลสรรเสริญ ผู้มีผลงานดีเด่น ด้านวัฒนธรรม และข้าพเจ้าเป็นบุคคลหนึ่งท่ีได้รับ รางวัลดงั กล่าว จงึ นามาประกอบเป็นผลงานดีเดน่ ทีป่ ระสบผลสาเร็จเป็นท่ปี ระจักษ์ ๓.๓ ผลที่เกิดจากการนาผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ไปใช้

๒๙ รางวัล ราชมงคลสรรเสรญิ ผนู้ าผลงานดีเด่นดา้ นวัฒนธรรม เปน็ รางวัลที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ตระหนักในความสาคัญของงานนวัตกรรม เพื่อเปน็ จดุ หล่อหลอมรวมจติ ใจ ของคนท้ังชาติ ให้อยู่ในกรอบประเพณี ท่ีดีงามของชาติไทย เพ่ือให้เป็นเกียรติและกาลังใจ ตลอดจน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ถึงคุณงามความดีของบุคคลที่ประกอบคุณงามความดี ด้วยการเสียสละ ท่มุ เทสรรพกาลัง และทรัพยส์ ินเงินทอง เพอ่ื จรรโลงสงั คมโดยส่วนรวม พฒั นาชาติบา้ นเมอื งให้มีความ เจริญก้าวหน้า อนุรักษ์ด้วยวัฒนธรรมของชาติ วัฒนธรรมท้องถ่ินให้เป็นมรดกแก่ลูกหลาน เป็น แบบอย่างท่ีดีแก่สังคม ซ่ึงการกระทาดังกล่าวอาจปรากฏในรูปแบบการศึกษาด้านการสร้างสรรค์ ผลงานทางด้านวัฒนธรรม หรือพฤติกรรมที่แสดงออกซ่ึงคุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละอันสูงส่ง สมควรได้รับการยกย่องสรรเสริญ ผู้ขอรับการประเมิน ได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านผลงานสิ่งประดิษฐ์ผ้าลายไทย มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยใช้สอดแทรกเข้าไปในสาขาวิชาคหกรรมศาสตรผ์ ลิตภัณฑ์จาก ผ้าลายไทย เป็นผ้าที่ใช้ในการทาผ้านุ่งของคนไทยมานาน โดยเฉพาะในชุมชนชนบท มาสร้างเป็น ช้ินงานข้ึนมา ในรปู แบบของการสร้างผลติ ภัณฑ์อนุรักษ์ไทย เช่น การทาขันหมากจากผ้าลายไทย การ ทากระทงลอยจากผ้าลายไทย เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้นาเข้าร่วมประกวดจนได้รับรางวัล ระดบั ชาติ เชน่ 1. รางวัลชนะเลิศ การประกวดกระทงลอยขนาดใหญ่จากผ้าลายไทย ได้รับ รางวัลพระราชทาน จากพระมหาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการประกวดกระทงลอยพระพุทธมณฑล กรงุ เทพ ประจาปี 2555 2. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ ประเภทสาขาวิชาคหกรรม ศาสตร์ ผลงาน ไกบ่ ุหงาผ้าลายไทย ประจาปี พ.ศ.2554 3. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับชาติ ประเภทสาขาวิชาคหกรรม ศาสตร์ ผลงาน พุม่ ประดษิ ฐ์จากผ้าลายไทย พ.ศ. 2555 4. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ ประเภทสาขาวิชาคหกรรม ศาสตร์ ผลงาน การประดษิ ฐ์ของท่ีระลึกสาหรบั ตกแตง่ บา้ นจากผา้ ลายไทย พ.ศ. 2557 5. รางวัลชนะเลิศระดับชาติ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ผลงาน กรอบ นกยูงจากผ้าลายไทย ประจาปี พ.ศ. 2558 6. รางวัล Honor Award การประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ผลงาน กรอบนกยงู จากผา้ ลายไทย ประจาปี พ.ศ. 2558 7. รางวัล ผู้อนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาไทย เทิดไท้องค์วิศิษฏศิลปิน เน่ืองใน วนั อนุรักษม์ รดกไทย ตามรอยเบอ้ื งพระยุคลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวพระบิดาแหง่ การอนุรกั ษ์

๓๐ มรดกไทย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ องค์ราชินูปถัมภ์การอนุรักษ์ สมเด็จ พระเทพรตั นสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องคว์ ิศษิ ฏศิลปนิ ให้ไว้ ณ วนั ที่ 5 เมษายน พ.ศ.2557 ผู้รับการประเมินนาผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนของนักเรียน นักศึกษา ในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ และเป็นผลงานเด่นทางด้านนวัตกรรมของ วิทยาลัย เพ่ือขอรับการประเมินต่าง ๆ เช่น ขอรับการประเมินรางวัลคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา คหกรรมศาสตร์ และประเมนิ รางวลั พระราชทานของนกั ศึกษาและวิทยาลยั ในปี พ.ศ. 2558 ๓.๔ แนวคิดในการพัฒนาต่อไป ข้าพเจ้ามีความมุ่งหวังท่ีจะพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากผ้าลายไทย เพ่ือใช้เป็นสื่อ ประกอบการจัดการเรียนการสอน นาไปสู่การพัฒนาโครงงานด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่ิงประดิษฐ์ ผ้าลายไทย สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ด้านหัตถศิลป์และประเภทผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูป เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา ได้อนุรักษ์ผ้าลายไทย เพ่ือไปใช้ในการประกอบอาชีพเม่ือจบ การศึกษา หรือใช้พัฒนาต่อในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน และเข้าร่วมการประกวดในเวทีร ะดับ จงั หวดั ระดบั ภาค และระดบั ชาติต่อไป

๓๑

๓๒ 4

๓๓ รบั เสาพุม่ พนมมาลาและประกาศเกยี รติคุณ รางวลั ราชมงคลสรรเสริญ ผมู้ ีผลงานดเี ดน่ ทางวฒั นธรรม สาขาคหกรรมศาสตร์ ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 15 กันยายน 2557 จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 4. รางวลั ลาดบั ท่ี 4 (ตามภาคผนวก หน้า 5๙ – ๖๐) ชื่อรางวัล รางวัลชนะเลศิ การประกวดส่ิงประดษิ ฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ ประเภทหตั ถศลิ ป์ ผลงานกรอบนกยูงผ้าลายไทย ผรู้ บั รางวัล นางณัติฐา เพช็ รแก้ว วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช รับเมอ่ื วันท่ี 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ผใู้ หร้ างวลั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ตามบัญชีลาดบั ที่ 90 หน้าที่ 51

๓๔ กาหนดเงื่อนไขว่า รับรองให้กับครูที่ฝึกสอนนักเรียนจนได้รับรางวัล คิดเป็นร้อยละ100 (ฝึกสอนแต่เพียงผู้เดียว) หรือกรณีท่ีมีครูที่ฝึกสอนร่วมกันหลายคน ให้นามาเสนอขอได้เพียงคนเดียว และผู้นั้นต้องมีส่วนร่วมในการฝึกสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 แต่ไม่ถึงร้อยละ 100 ทั้งนี้ต้องตรงกับ สาขา/สาขาวชิ า/กลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ีข่ อรับการประเมิน กรณีท่ีครูท่ีฝึกสอนไม่นารางวัลนี้มาเสนอขอ และรางวัลดังกล่าวระบุว่ามอบให้กับ สถานศึกษาด้วย ให้ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือรองผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบเร่ืองดังกล่าว และปฏิบัติหน้าท่ีในสถานศึกษานั้นจนได้รับรางวัล สามารถนามาเสนอขอได้ โดยตอ้ งมีสว่ นร่วมในการดาเนินการไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 แต่ไมถ่ งึ ร้อยละ 100 จานวนรางวลั ท่ไี ด้รบั ประกอบดว้ ย (1) โล่รางวัล (2) ใบประกาศเกยี รติคุณ (3) เงนิ รางวลั 20,000 บาท รางวลั อยูใ่ นกาหนดเวลา รบั เม่อื วนั ท่ี 8 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2558 ณ Mcc Hall เดอะมอลล์ บางกะปิ กรุงเทพมหานคร ๔.๑ สภาพปญั หา แนวคดิ หรอื แรงจงู ใจในการจดั ทาผลงานดเี ด่นท่ปี ระสบผลสาเร็จ เป็นที่ประจักษ์ เป็นการสร้างผลงานเพ่ือให้เกิดผลงานส่ิงประดิษฐ์ทางด้านหัตถศิลป์ ของนักเรียน นักศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ร่วมกับชุมชนในท้องถิ่น พร้อมบรรจุภัณฑ์ เพ่ือนาไปสู่การอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมของไทย และเกิดประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่าในเชิงพาณิชย์และ เพื่ออนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมไทยให้คงอยู่คู่ประเทศไทยและเป็นท่ียอมรับของนานาชาติ เป็นการ ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนางานหัตถศิลป์ พัฒนากระบวนการคิดและสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะในการประดิษฐ์งานหัตถศิลป์ใช้เป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ โดยการนานวัตกรรมแล ะ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาใชใ้ นการจัดทาชิ้นสว่ นประกอบในงานหตั ถศลิ ป์ และเพิ่มมลู ค่าของผลติ ภัณฑ์ หัตถศลิ ป์ สนับสนุนการนาผลงานเขา้ รบั การคุมครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ๔.๒ วิธีดาเนินการจัดทาผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นท่ีประจักษ์ ข้าพเจ้าผู้ขอรับการประเมิน ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติ การประกวด สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประเภทหัตถศิลป์/ผลงาน กรอบนกยูผ้าลายไทย และได้รับรางวัล Honor Aword ในผลงานชิ้นเดียวกันได้ท้ัง 2 รางวัล ซึ่งเป็นผลงานจากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ศลิ ปประดษิ ฐ์ รหสั วิชา 3406-2113 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โดยขา้ พเจ้าได้วางแผน การจัด เรยี นการสอนเป็นขน้ั ตอนดังนี้

๓๕ ขน้ั ตอนที่ 1 การวางแผนการสอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร กาหนดการสอบ หน่วยการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียน การสอนให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น 2. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับประเภทของงานศิลปประดิษฐ์ หลักการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์การทาต้นแบบ การประดิษฐ์งานศิลปประดิษฐ์ การบรรจุ ภณั ฑ์ ประดษิ ฐ์ชนิ้ งานตามสมยั นยิ ม คานวณต้นทุนกาหนดราคาและจัดจาหน่าย 3. จดุ ประสงค์รายวชิ า เพื่อให้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ การเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ การทาบรรจุภณั ฑง์ านประดษิ ฐ์ 2. มีหลักในการออกแบบ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ งานประดิษฐ์ตามสมัยนิยม และ บรรจุภัณฑ์ 3. คานวณต้นทนุ กาหนดราคา การพบลกู ค้าและจัดจาหน่าย 4. มีกจิ นสิ ัยในการทางาน ปฏบิ ตั งิ าน ด้วยความประณีต สวยงาม ประหยดั รกั ษา สิ่งแวดลอ้ ม 4. มาตรฐานรายวชิ า : 1. เข้าใจหลักการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การประดิษฐ์งานศิลปะ ประดิษฐ์ การบรรจุภัณฑ์ 2. ออกแบบ กาหนดวัสดุอุปกรณ์ ทาต้นแบบและประดิษฐ์งานศิลปประดิษฐ์ตามสมัย นิยม 3. คานวณตน้ ทนุ กาหนดราคา การพบลกู ค้าและจัดจาหน่าย 5. วเิ คราะห์หนว่ ยการเรยี นรู้ : วิชาศิลปะประดิษฐ์ รหัส 3406-2113 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 แบ่ง หน่วยการเรยี นร้เู ปน็ 7 หนว่ ย ดังนี้ หนว่ ยท่ี 1 ความรเู้ กี่ยวกบั หลกั การออกแบบผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ หน่วยที่ 2 ความรเู้ ก่ยี วกบั การเลือกใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ในการประดิษฐ์ หน่วยที่ 3 ทกั ษะในการออกแบบผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์จากวสั ดุ ต่าง ๆ หน่วยท่ี 4 ทักษะในการออกแบบผลติ ภณั ฑ์งานประดิษฐต์ าม สมยั นิยม หนว่ ยท่ี 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ หน่วยที่ 6 การคานวณต้นทุน กาหนดรายจา่ ย

๓๖ หนว่ ยที่ 7 การพบปะลกู ค้า และการจัดจาหนา่ ย ขนั้ ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ผ้เู รียน รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล นามาวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือ วางแผนพฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ และนาผลการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ข้าพเจ้าใช้เทคนิคการเรียน แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ สอนวิชาศิลปประดิษฐ์ได้เหมาะสมเป็นอย่างดี เน่ืองจากในขณะที่ทาการเรียนการสอน มีการทา กิจกรรมร่วมกัน การทางานเป็นกลุ่ม ผู้เรียนมีโอกาสได้แลกเปล่ียนความรู้กันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยนกันได้เป็นอย่างดี การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจนั้น ต้องมีการจัดอย่างเป็น ระบบ ข้นั ตอนที่ 3 ดาเนนิ การสอน ดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยการศึกษาความรู้ ความหมายของส่ิงประดิษฐ์ ทาการศึกษา ค้นคว้าและพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ส่ิงประดิษฐ์ ประเภทของใช้ของที่ระลึก สาหรับตกแตง่ บ้านจากผา้ ลายไทย จานวน 5 โครงการ ดงั นี้ โครงการที่ 1 การพฒั นาออกแบบผลิตภัณฑ์ของทร่ี ะลึกกรอบนกยูงจากผา้ ลายไทย โครงการที่ 2 การพฒั นาออกแบบผลิตภณั ฑ์ของทรี่ ะลึกสับปะรดจากผ้าลายไทย โครงการท่ี 3 การพัฒนาออกแบบผลติ ภณั ฑ์ของท่ีระลึกชดุ ขนั หมากจากผา้ ลายไทย โครงการท่ี 4 การพัฒนาออกแบบผลติ ภณั ฑข์ องทร่ี ะลึกชุดเตา่ ลายไทย โครงการท่ี 5 การพฒั นาออกแบบผลติ ภณั ฑข์ องทร่ี ะลึกโคมไฟจากผ้าลายไทย ขั้นตอนที่ 4 คดั เลือกโครงการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์เขา้ ร่วมการประกวด จากการออกแบบและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ของใช้ของทีร่ ะลึกสาหรบั ตกแต่งบ้าน ผลงาน ท่มี ศี ักยภาพไดเ้ ข้าร่วมประกวดในระดบั อาชีวศึกษาจังหวัด ทงั้ 5 โครงการ ดงั นี้ โครงการท่ี 1 การพฒั นาออกแบบผลติ ภณั ฑข์ องทรี่ ะลึกกรอบนกยงู จากผา้ ลายไทย โครงการท่ี 2 การพัฒนาออกแบบผลติ ภณั ฑ์ของท่ีระลึกสบั ปะรดจากผ้าลายไทย โครงการที่ 3 การพัฒนาออกแบบผลิตภณั ฑ์ของทร่ี ะลึกชุดขนั หมากจากผ้าลายไทย โครงการท่ี 4 การพัฒนาออกแบบผลติ ภณั ฑข์ องทร่ี ะลึกชดุ เต่าจากผ้าลายไทย โครงการที่ 5 การพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑข์ องทรี่ ะลึกโคมไฟจากผา้ ลายไทย ขนั้ ตอนท่ี 5 ประชุมชี้แจงการเขา้ รว่ มการประกวดส่ิงประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่

๓๗ 5.1 นาหลักเกณฑ์การเข้าร่วมการประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ชี้แจง แนะนา ให้นักศึกษาทราบ และทาหน้าท่ีเป็นครูท่ีปรึกษาในการจัดทาผลงานเข้าร่วมการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนร่นุ ใหม่ ในระดบั อาชวี ศกึ ษาจังหวัด 5.2 ทาหน้าท่ีครูท่ีปรึกษาในการจัดทาผลงาน รายละเอียด การจัดทารายงาน การ จัดทาแบบนาเสนอ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และเทคนิคในการนาเสนอ การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ใน การนาเสนอผลงาน 5.3 ได้นานักศึกษาเข้าร่วมการประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ระดับอาชีวศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช ณ วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลจากการ ประกวด ดงั นี้ โครงการท่ี 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์กรอบนกยูงจากผ้าลายไทย ได้รับรางวัลรอง ชนะเลศิ อันดับ 1 ไดร้ บั การคดั เลือกใหเ้ ข้าร่วมการประกวดสง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหม่ ระดบั ชาติ โครงการท่ี 2 การพฒั นาผลิตภัณฑ์สบั ปะรดจากผ้าลายไทย ได้รบั รางวัลเหรียญ ทองแดง ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ขา้ ร่วมการประกวดสิ่งประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ระดบั ชาติ โครงการท่ี 3 การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ชุดขนั หมากจากผ้าลายไทย โครงการท่ี 4 การพฒั นาผลิตภัณฑ์เตา่ ลายไทย ขนั้ ตอนที่ 6 พฒั นาผลิตภณั ฑ์เพอื่ เขา้ ร่วมการประกวดระดับชาติ ดาเนินการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ในการจัดการเรยี นการสอน รายวชิ าศลิ ปประดิษฐ์ รหสั 3406 -2113 นักศกึ ษาระดบั ปวส. สาขาคหกรรมศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2557 ดงั นี้ 6.1 ทาการตรวจสอบคณุ ภาพของผลิตภัณฑน์ กยงู ในดา้ นองคป์ ระกอบทางศิลปะ 6.2 การทดสอบความพึงพอใจของผู้ใช้ส่ิงประดิษฐ์ เป็นผู้ใช้ส่ิงประดิษฐ์ทั่วไป เช่น ครู นกั เรยี น นักศกึ ษา จานวน 50 คน 6.3 ทาหน้าท่ีครูท่ีปรึกษาในการจัดทาผลงาน รายละเอียด การจัดทารายงาน การจัดทาแบบนาเสนอ การพัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์ และเทคนิคในการนาเสนอ การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ ในการนาเสนอผลงาน 6.4 นานักศึกษาเข้าร่วมการประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ระดับภาคชาติ ณ หอ้ ง MCC Hall ห้างสรรพสนิ ค้าเดอะมอลล์ สาขาบางกะปิ กรุงเทพฯ ผลจากการประกวด ดงั น้ี โครงการที่ 1 การพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑข์ องที่ระลึกกรอบนกยูงจากผ้าลาย ไทย ได้เกียริบัตรและโล่รางวัลชนะเลิศ การประกวดสุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ประจาปีการศึกษา 2557 จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และและรางวลั รางวลั Honor Awards จากผ้ทู รงคณุ วุฒิ ในผลงานช้ินเดียวกัน คือ ผลงานส่ิงประดษิ ฐ์ “กรอบรูปนกยูงจากผ้าลายไทย” วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ส่ิงประดิษฐ์ประเภทท่ี 9

๓๘ สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์ ในงานการประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับชาติ ระหว่างวันที่ 5 – 8 กุมภาพันธ์ 2558 ณ Mcc Hall เดอะมอลล์ บางกะปิ กรุงเทพมหานคร โดยสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ข้ันตอนท่ี 7 การเผยแพรผ่ ลงานสชู่ ุมชนและสังคม จากการศึกษาการนาผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหม่ เผยแพร่เพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้กับเยาวชน และประชาชนทั่วไป เชน่ การเผยแพร่ทางวารสาร การนาเสนอโดยการจัดนิทรรศการ เชน่ โครงการนานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ่ชู ุมชน ๔.๓ ผลท่ีเกิดจากการนาผลงานดีเด่นท่ีประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์ไปใช้ ผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ เป็นผลงานหลากหลายท่ีเกิดจากต้นแบบที่ เยาวชนอาชวี ศึกษา ไดม้ งุ่ พัฒนา คิด วเิ คราะห์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานให้มมี าตรฐานเทียบไดก้ บั ระดบั สากล สามารถนาไปประยกุ ต์ใชง้ านได้จรงิ อย่างมีคุณภาพ จึงมีประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมของประเทศชาติ การนาผลงานดเี ด่นเชิงประจักษ์ไปใชใ้ นดา้ นการพฒั นาคุณภาพครู คุณภาพผเู้ รยี น โดยองค์ความรทู้ ี่ได้ จากการสรา้ งนวตั กรรม อีกทง้ั เราสามารถไปพฒั นาตอ่ ยอดใชป้ ระโยชน์เชงิ พาณชิ ย์ ผ้ขู อรบั ประเมนิ ไดน้ าผลงานดีเด่นทป่ี ระสบผลสาเร็จเป็นที่ประจกั ษ์ ไปใช้ดงั น้ี 1. ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนวชิ าศิลปประดษิ ฐ์ 2. ใช้ประกอบการเรยี นการสอนวชิ าของท่รี ะลกึ สาหรบั ตกแต่งบ้าน 3. ใช้ประกอบการเรยี นการสอนวชิ างานประดษิ ฐ์ตามสมยั นยิ ม 4. ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนวิชาหลักศิลป์ 5. ใช้ในโครงการชมรมวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ในการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ เพื่อใช้ เปน็ ของใช้ของทีร่ ะลึกสาหรบั ตกแตง่ บา้ น 6. ใช้ในโครงการหารายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน นักศึกษาแผนกวิชาคหกรรม ศาสตรท์ ่ีตอ้ งการมรี ายไดร้ ะหว่างเรยี น เพือ่ เป็นการแบง่ เบาภาระของครอบครัว 7. ใช้ในโครงการสอนหลักสูตรระยะส้ันในโครงการสอนอาชีพแก่กลุ่มสนใจ กลุ่ม เยาวชน กลุ่มชุมชน กล่มุ แมบ่ า้ น ซง่ึ เปน็ โครงการสอนอาชีพในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา ในการนาไปใชเ้ พือ่ พัฒนากิจกรรมผ้เู รยี น ให้นาความรู้ความสามารถมที ักษะสามารถ ประยุกต์ ใช้ความรู้เพื่อออกแบบสิ่งประดิษฐ์ทางด้านคหกรรมศาสตร์เพ่ือเข้าร่วมการประกวดและ แข่งขนั ในระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศตอ่ ไป ข้าพเจ้าได้จัดสภาพการเรียนการสอนให้มีบรรยากาศในห้องเรียน เน้นการทางาน เป็นกลุ่ม ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายปัญหา รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ให้นักเรียนได้เกิดการ เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้นให้นักเรียนได้ทดลอง อภิปรายโดยการใช้ คาถามนาไปสู่การคิด วิเคราะห์ และการสรุปความคิดรวบยอด ใช้กระบวนการกลุ่มฝึกให้นักเรียน

๓๙ ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ระดมสมอง ความคิด วางแผนการทางานร่วมกัน รู้จักการจัดการและแบ่ง หน้าที่ ฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการเรียน การใช้อุปกรณ์ การจัดเก็บ การดูแลรักษา การ ดแู ลหอ้ งเรียน ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทากิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ส่งเสริมความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ โดยการทางานเป็นกลุ่ม เช่น การทาโครงการวิชาชีพ การแข่งขัน ทกั ษะวชิ าชีพ การประกวดสิ่งประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่ การนานักศกึ ษาไปจัดนทิ รรศการของหน่วยงาน ต่าง ๆ เพื่อใหน้ ักเรียนได้คิดเปน็ ทาเป็น แกป้ ญั หาเปน็ และมรี ะบบการจดั การทดี่ ี การจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ โดยการปรับประยุกต์การใช้ เทคโนโลยี เน้นกระบวนการให้นักเรียนเป็นผู้คิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษาการค้นคว้าอย่างมีระบบ ด้วย กิจกรรมท่ีหลากหลาย ท้ังการทากิจกรรม การสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลองใน ห้องปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น การทาสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ การทา ส่งิ ประดิษฐ์จากวสั ดุเหลอื ใช้ การทาสิ่งประดษิ ฐ์จากวสั ดุท้องถ่นิ การทาสิ่งประดษิ ฐ์จากวสั ดธุ รรมชาติ การศึกษาจากแหล่งการเรยี นรู้ในท้องถ่ิน แลว้ นามาสกู่ ารเรียนในห้องเรยี น การเรยี นรขู้ องนักเรียนจะ เกิดขึ้นระหว่างท่นี ักเรียนมสี ่วนรว่ มระหว่างการทางาน การทากิจกรรมร่วมกัน ทาให้นกั เรียนมีความรู้ ได้พฒั นากระบวนการคิดใหส้ ูงขึ้น ๔.๔ แนวคิดในการพัฒนาต่อไป ข้าพเจ้า มีแนวคิดในการพัฒนางาน ทั้งส่วนที่พัฒนาต่อเน่ือง และผลิตภัณฑ์ที่คดิ ค้น สร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยการการจดั ทาสอ่ื ได้แก่ เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชุดฝกึ ปฏิบัติ สาหรบั ใช้ในการจัดการ เรียนการสอนวชิ า ศลิ ปประดษิ ฐ์ รหสั วิชา 3406-2113 เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาโครงงานด้านการพัฒนา ผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ ลายไทย และส่งเสรมิ กิจกรรมโครงงานการคิดคน้ ส่งิ ประดษิ ฐ์ สาหรับนกั ศึกษา ระดบั ปวส. สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ ข้าพเจ้ามีความมุ่งหวังท่ีจะพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากผ้าลายไทย เพื่อใช้เป็นส่ือ ประกอบการจัดการเรียนการสอน นาไปสู่การพัฒนาโครงงานด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งประดิษฐ์ ผ้าลายไทย ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ด้านหัตถศิลป์และประเภทผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูป เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา ได้อนุรักษ์ผ้าลายไทย เพื่อไปใช้ในการประกอบอาชีพเมื่อจบ การศึกษา หรือใช้พัฒนาต่อในการศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน และเข้าร่วมการประกวดในเวทีระดับ จงั หวัด ระดับภาค และระดับชาติต่อไป

๔๐

๔๑ เกียรตบิ ตั รรางวลั ชนะเลศิ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนร่นุ ใหม่ ประเภทที่ 9 สง่ิ ประดษิ ฐด์ า้ นหัตถศิลป์ ผลงานกรอบนกยูงผา้ ลายไทย

๔๒ ภาพโล่รางวัลชนะเลศิ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนร่นุ ใหม่ ประเภทท่ี 9 สิ่งประดษิ ฐด์ า้ นหัตถศลิ ป์ ผลงานกรอบนกยงู ผา้ ลายไทย

๔๓ ภาพผลงานการประกวดส่ิงประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่ ประเภทที่ 9 สงิ่ ประดษิ ฐด์ ้านหัตถศิลป์ ผลงานกรอบนกยูงผ้าลายไทย สรปุ ผลงานดีเด่นท่ีประสบความสาเร็จเปน็ ท่ีประจักษ์ ผลที่เกดิ กบั ผเู้ รยี น ครูผู้สอน สถานศึกษา ชมุ ขนและสังคม ดังตอ่ ไปน้ี 1. ผลที่เกิดกับผเู้ รียน

๔๔ ทาให้ผ้เู รียนเปน็ คนเกง่ คนดี และมีสขุ คนเกง่ คือ ผเู้ รียนในอาชีวศกึ ษาสามารถ เลือกเรียนตามความสนใจและความถนัดได้หลายช่องทาง ทั้งในระบบ นอกระบบ และทวิภาคี มี คุณภาพได้มาตรฐาน มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ คนดีคือ มีคุณธรรม จริยธรรม อนั พงึ ประสงค์ สามารถทางานและปรับตัวเขา้ สถานการณต์ ่าง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี และมสี ุข คือ มอี าชีพ มีความก้าวหน้า มีรายได้ดี ค่าจ้างค่าตอบแทนหรือเงินเดือนสูง ตามคุณวุฒิและสมรรถนะอาชีพของ ตนเอง เป็นทีต่ อ้ งการตลาดแรงงานในประเทศและนานาชาติ มีความเปน็ อยู่ท่มี ่ันคง ซึ่งมีผลงานดีเด่น ท่ีเกดิ กับผู้เรยี นดงั นี้ 1.1 มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามมาตรฐานการเรยี นรู้ทสี่ ถานศึกษากาหนด จากการจัดการเรียนการสอน โดยวางแผนการสอน การเตรียมตัวใน การสอน ทาการสอน จัดทา ผลิตและใช้ส่ือการเรียนการสอน ในทุกรายวิชาท่ีได้รับมอบหมายด้วย ความเอาใจใส่ต่อผู้เรียน ทาให้ผลการเรียนของนักศึกษาผ่านเกณฑ์ประเมินผลของหลักสูตรในทุก รายวิชา โดยเฉพาะวิชาโครงการศิลปะประดิษฐ์ ซึ่งเป็นรายวิชาท่ีนักศึกษาจะต้องนาความรู้ท่ีได้เรยี น มาแล้ว ประดิษฐ์คดิ ค้น สร้างสรรค์ผลงานในสาขาวชิ าชีพได้ 1.2 สนใจเรยี น แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ บันทึกการเรียนรู้อย่าง สม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ข้าพเจ้าพยายามส่งเสริมให้นักศึกษาใช้สื่อในการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย และทันสมัยอยู่เสมอ เช่น การค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ใหม่ๆ การใช้วารสารสาขาเฉพาะทาง และจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ผลจากการค้นคว้า ทาให้นักศึกษา เกิดการเรียนรู้ ปรบั ประยุกตโ์ ดยการบันทึกขอ้ มูลนามาเรียบเรียงเป็นผลงานวจิ ยั ได้ และในการทดลอง

๔๕ ต่าง ๆ นักศึกษาจะต้องจัดเก็บและบันทึกข้อมูลอย่างละเอียดและเป็นระบบ และในการใช้งาน เคร่อื งมือ-อุปกรณ์ทกุ ชนดิ ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารศิลปประดิษฐ์ จะตอ้ งมีการบนั ทกึ การใช้งานทกุ คร้งั ๑.๓ มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ การเรียนในสาขาวิชาคหกรรมศาตร์ จัดให้นักศึกษาทาโครงการในวิชา ศิลปประดิษฐ์ นักศึกษาจะต้องนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และความคิดสร้างสรรค์ จัดทาเป็นโครงการ ผ่านกระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ได้เป็น โครงการท่มี ีคุณภาพ ในปีการศึกษา 2557 2558 ในปีการศึกษา 2558 จานวน 10 โครงการ สามารถ พัฒนาต่อยอดเป็นโครงงานส่ิงประดิษฐ์ได้รับรางวัลในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช ในปี การศกึ ษา 2558 ทัง้ ระดับอาชีวศกึ ษาจังหวัด ระดับภาค และระดบั ชาติ 1.4 ผเู้ รียนมีทกั ษะและนิสัยรกั การทางาน มคี ุณธรรมจริยธรรม นักศึกษาได้ใช้ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ผลจากการจัดการเรยี นการ สอนวชิ าศิลปประดษิ ฐ์ นกั ศกึ ษาสามารถสร้างสรรค์และพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ่ิงประดษิ ฐ์ ไดอ้ ย่างมคี ุณค่า สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และชุมชนได้เป็นอย่างดี เมื่อส่งเข้าประกวดในระดับ ต่าง ๆ ก็ได้รับรางวัลอยู่เสมอ ต้ังแต่ระดับภาคถึงระดับชาติ นับเป็นความภาคภูมิใจของนักศึกษาเป็น อย่างยิ่ง และความสาเร็จน้ีจะเป็นแรงกระตุ้นความสนใจ ให้กับนักศึกษาในรุ่นต่อๆ มา ทาให้เกิดเป็น แรงจงู ใจ และม่งุ ทจี่ ะใชท้ กั ษะความรทู้ ่ไี ดเ้ รยี นมาแสดงใหเ้ ห็นถึงความสามารถในวิชาชีพของตนเอง 1.5 มสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม โดยการพัฒนาวิชาชีพผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์ เป็นการใช้เทคโนโลยีร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างสรรค์ผลงานท่ีอนุรักษ์มรดก ของท้องถิ่น มีการพัฒนา กระบวนการผลิต การเก็บรักษา การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม และใช้วัสดุท่ีใช้แล้วนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การศึกษาการทาสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุ เหลือใช้จากผ้า กระดาษ และอื่น ๆ รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม ประหยัดพลังงานและใชว้ ัสดฝุ ึก ทกุ ช้ินอย่างคมุ้ คา่ 1.6 การแสดงออกถึงความมน่ั ใจ รา่ เริง แจม่ ใส มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ที่ดีกบั ผูอ้ ื่น ผลจากการประเมินคุณธรรมจริยธรรมระหว่างเรียนพบว่า นักศึกษา เป็นผู้มีวินัย มีความรับผิดชอบ เชื่อม่ันในตนเอง สังเกตได้จากการทางานเป็นทีม มีการแบ่งหน้าท่ี ความรับผิดชอบ ทางานด้วยความตั้งใจและเสียสละ การไปประกวดในโครงการต่าง ๆ นักศึกษามี ความม่ันใจในการนาเสนอผลงาน ด้วยการนาเสนอปากเปล่าและการใช้ power point แสดงออก อย่างร่าเริงและมีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อน ครู และบุคคลทั่วไป ส่งผลให้ประสบผลสาเร็จทุก โครงการ

๔๖ 1.7 การปรบั ตวั เขา้ กบั เพ่ือนและสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดี เป็นท่ียอมรับของเพ่ือนและครู เช่นการนาเสนอผลงานทางวิชาการ การจัดแสดงนิทรรศการ การเป็นวิทยากรกิจกรรม 108 อาชีพ การประกวดในโครงการต่าง ๆ สามารถทางานเป็นทีมกับเพ่ือนสถานศึกษาเดียวกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพ่ือนต่างสถานศึกษา ได้ การให้สัมภาษณ์รายการโทรทัศน์ วารสาร นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ท่ี แตกตา่ งได้ และปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.8 ความภาคภมู ใิ จ นักศึกษามีความภาคภูมิใจในการคิดค้น พัฒนาผลงานโครงการค้นคว้า สิ่งประดิษฐ์ และสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ในรางวัลท่ีได้รับ ไม่ว่าจะเป็นรางวัลระดังจังหวัด ระดับภาค รวมถึงระดับชาติ สามารถสะสมผลงานเพื่อนไปประกอบในการเขา้ ศึกษาต่อระดบั ต่อไป หรอื สามารถ ใชเ้ ป็นเอกสารประกอบในการสมัครงานได้ เชน่ นางสาวธัญศวรรณ์ ปรีดาศักด์ิ นักศึกษาแผนกวิชาคหกรรม สาขา ธุรกิจงานประดิษฐ์ เป็นผู้ที่มีความสนใจในงานประดิษฐ์ และเป็นนักประดิษฐ์ตั้งแต่เรียนในระดับช้ัน ปวช. และต่อเนื่อง ระดบั ปวส. ได้เขา้ รว่ มประดิษฐส์ ิง่ ประดิษฐข์ องคนรุ่นใหม่ ทาใหเ้ กิดทักษะ ความรู้ และได้รับรางวัล โครงการเยาวชนดีเด่น สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2558 และไดร้ ับรางวัล ดงั น้ี 1. โครงการเยาวชนดีเด่น สภาสังเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถมั ภ์ 2. โครงการเยาวชน คุณธรรม จริยธรรม จัดโดย ธนาคารออมสิน ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีกาหนดเข้ารับการนาเสนอเพ่ือคัดเลือกในวันที่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2558 3. โครงการคนดี “ศรีอาชีวะ” เป็นแบบอย่างท่ีถูกต้อง ปฏิบัติตาม ระเบยี บของวิทยาลยั ฯ ทกุ ประการ 4. โครงการส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ได้รับรางวัลชนะเลิศและ Honor Award ซึ่งเป็นผลงานในหนึ่งเดียวท่ีได้รับรางวัล 2 รางวัล ซึ่งนามาถึงความภาคภูมิใจ ให้กับ สถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และชุมชน ประช าชนในจังหวัด นครศรธี รรมราช ท่ีนาผลงานออกเผยแพร่ ๑.๙ นักศกึ ษาใช้เปน็ ผลงานประกอบการศึกษาตอ่ การจัดทาโครงการ นอกจากจะทาให้นักศึกษาจบการศึกษาแล้ว นักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับ ปวส. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ จะนาโครงการที่จัดทาข้ึน นาเสนอ ในการสอบสัมภาษณ์เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร และ

๔๗ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้รับการยอมรับและได้รับการคัดเลือกให้เข้าศึกษาในระดับ ปรญิ ญาตรีทุกคน และเมื่อศึกษาไปเรียนต่อนักศึกษายังได้นาโครงการ ทท่ี าในระดับ ปวส. จากวิทยาลัย อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ไปพัฒนาต่อไปได้อีกด้วย ในเรื่องวิจัยจบของนักศึกษาในปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะในงานประดิษฐจ์ ากผา้ ลายไทย 2. ผลทเ่ี กดิ กบั ครผู ู้สอน 2.1 มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาชีพด้านธุรกิจประดิษฐ์ ได้มีการนา ความรู้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนตรงตามสาขาวิชาชีพ ได้แก่ วิชา วิชาศิลปะประดิษฐ์ วิชา ออกแบบผลิตภัณฑ์ วิชาของที่ระลึก วิชางานประดิษฐ์ตามสมัยนิยม และวิชาของใช้ของท่ีระลึก สาหรบั ตกแต่งบา้ น ให้ความร้กู ับนกั เรยี น นักศึกษาท้ังในระบบปกตแิ ละระบบทวภิ าคี 2.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การเรียนในสาขาวิชา ธุรกิจงานประดิษฐ์ และวิชาอ่ืน ๆ จัดให้นักศึกษาทาโครงการสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ นักศึกษา จะต้องนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และความคิดสร้างสรรค์ จัดทาเป็นโครงการผ่าน กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ได้เป็นโครงงานที่มีคุณภาพ สามารถ พัฒนาต่อยอดเป็นโครงงานและสิ่งประดิษฐ์ได้รับรางวัลในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช ทุกปกี ารศึกษา 2.3 จัดทาสื่อเอกสารประกอบการสอน สามารถจัดทาเอกสารประกอบการสอน วิชาศิลปประดษิ ฐ์และวชิ าของชาร่วย ของท่ีระลึก มาใช้ประกอบการเรียนการสอนได้อยา่ งถูกต้อง 2.4 ด้านการพัฒนาผลติ ภัณฑ์สงิ่ ประดิษฐ์ที่เปน็ ประโยชน์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ ชุมชนและประเทศ ไดแ้ ก่ สิง่ ประดิษฐ์จากผ้าลายไทย เช่น - นกยงู ลายไทย - ไกล่ ายไทย - ตะกรา้ ลายไทยใส่เครื่องหอม - ตน้ บอนไซลายไทย - ชุดขนั หมากลายไทย - มา้ นา้ ผา้ ลายไทย - เต่าลายไทย - กุหลาบลายไทย - ดอกบัวลายไทย จนได้รับการยกยอ่ งจากหนว่ ยงานและหนว่ ยงานอืน่ ๆ จนไดร้ บั รางวลั ดังน้ี 1) รางวัลครูขวัญศิษย์ ประจาปีพุทธศักราช 2558 จากมูลนิธิรางวัลเจ้าฟ้า มหาจักรี

๔๘ 2) รางวลั สุดยอดครดู ี โครงการ “ครูดีมีทกุ วนั ” ประจาปี พ.ศ.2558 จาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กระทรวงศึกษาธกิ าร 3) ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ (ครูดีเด่นอาชีวศึกษา) ปี 2557 ในฐานะเป็น ผู้ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและมีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ ประเภทวิชาคหกรรม โดย สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ประจาปี พ.ศ.2557

๔๙ 4) รางวัลครูดีเด่น ด้านการสอน ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้บริหารและครู ในวันครู ประจาปี 2557 จาก อาชวี ศกึ ษาจังหวัดนครศรีธรรมราช 5) รางวัลครูผู้สอนดีเด่น ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด ประจาปี 2556 กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานและเทคโนโลยีดีเดน่ จากครุ สุ ภา

๕๐ 6) ได้รบั เครือ่ งหมายเชดิ ชเู กยี รติ “หนงึ่ แสนครดู ี” ประจาปี 2554 ในฐานะ เปน็ ผ้ปู ฏิบัตติ นตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี ทางการศกึ ษา จาก คุรุสภา 7) รางวัล ครูนวัตกรรมดีเด่น ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้บริหารและครู ในวนั ครู ประจาปี 2554 จาก อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั นครศรีธรรมราช