Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore น.ส.วชิราภรณ์ ทาโคตร ปวส.1/11 เลขที่6

น.ส.วชิราภรณ์ ทาโคตร ปวส.1/11 เลขที่6

Published by 6 Vachiraporn PWS.1-11, 2021-04-29 05:06:30

Description: น.ส.วชิราภรณ์ ทาโคตร
ปวส.1/11 เลขที่ 6
งานสอบปฎิบัติเทคโนโลยีดิจิทัล

Search

Read the Text Version

ความหมายของดจิ ทิ ลั ดจิ ทิ ลั (digital) อาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล หรือในศพั ทบ์ ญั ญตั ิวา่ เชิงเลข ในทฤษฎีขอ้ มูลหรือระบบขอ้ มูล เป็นวธิ ี แทนความหมายของขอ้ มูลหรือชิ้นงานต่าง ๆ ในรูปแบบของตวั เลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเน่ืองกนั ซ่ึงต่างจากระบบแอ นะลอ็ กที่ใชค้ ่าต่อเนื่องหรือสญั ญาณแอนะลอ็ กซ่ึงเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของขอ้ มูลโดยการใชฟ้ ังกช์ นั ท่ีต่อเน่ือง ถึงแมว้ า่ การแทนความหมายเป็นดิจิทลั จะไม่ต่อเน่ือง ขอ้ มูลท่ีถูกแปลความหมายน้นั สามารถเป็นไดท้ ้งั ไม่ต่อเน่ือง (เช่น ตวั เลขหรือ ตวั หนงั สือ) หรือต่อเนื่อง (เช่น เสียง, ภาพ และการวดั อ่ืน ๆ)

สญั ลกั ษณเ์ พอื่ การแปลงดจิ ทิ ลั เนื่องจากสญั ลกั ษณ์ (เช่น ตวั อกั ษรและตวั เลข) จะไม่ต่อเนื่อง การแทนความหมายสญั ลกั ษณ์ แบบดิจิทลั ค่อนขา้ งง่ายกวา่ การ แปลงขอ้ มูลต่อเน่ืองหรือแบบอะนาลอ็ กใหเ้ ป็นดิจิทลั แทนท่ีจะสุ่มตวั อยา่ งและการเทียบออกมาเป็นปริมาณ (Quantization) เหมือน ในการแปลง แอนะลอ็ กมาเป็นดิจิทลั เทคนิค เช่น การ Polling และการเขา้ รหสั ถูกนาํ มาใช้ อุปกรณ์ป้อนสญั ลกั ษณ์มกั จะประกอบดว้ ยกลุ่มของสวติ ชท์ ่ีถูก poll ในช่วงเวลาปกติ เพื่อดูวา่ สวติ ชต์ วั ไหนจะถูกสลบั ขอ้ มูลจะ หายไปถา้ ภายในช่วงเวลาการโพลเดียว สวติ ชส์ องตวั ถูกกด หรือสวติ ชต์ วั เดียวถูกกด การโพลน้ีสามารถทาํ ไดโ้ ดยตวั ประมวลผล พเิ ศษในเครื่อง เพ่ือป้องกนั ภาระใหก้ บั CPU หลกั เม่ือสญั ลกั ษณ์ใหม่ถูกป้อนเขา้ ไป อุปกรณ์ที่มกั จะส่งสญั ญาณขดั จงั หวะ เพ่อื แจง้ เตือนในรูปแบบพิเศษเฉพาะเพอื่ ให้ CPU อ่านมนั .

ประเภทของส่ือดจิ ทิ ลั CD training คือ การสร้างสื่อดิจิทลั ในลกั ษณะท่ีเป็น CD ท่ีใชใ้ นการสอน การใชง้ านจะเป็นการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เช่น การสอนการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word เป็นตน้ นอกจากน้นั CD Training ยงั ครอบคลุมไปถึงเรื่องการสอนการทาํ งานของโปรแกรมต่าง ๆ จะใชเ้ ป็นการสาธิตการทาํ งาน ของโปรแกรม เป็นตน้ CD Presentation คือ การสร้างเป็นส่ือดิจิทลั ในลกั ษณะที่เป็น CD ท่ีใชส้ าํ หรับการนาํ เสนอในสถานท่ีต่าง ๆ เช่น นาํ เสนอขอ้ มูลในที่ประชุม นาํ เสนอขอ้ มูลบริษทั ท่ี เรียกวา่ Company Profile VCD/DVD คือ การสร้างส่ือดิจิทลั ในลกั ษณะที่เป็น CD ภาพยนตร์ท่ีมีการตดั ต่อภาพยนตร์ต่าง ๆ ในลกั ษณะที่เป็น Movie Clip แลว้ นาํ มาจดั เรียงต่อกนั เป็น ภาพยนตร์ 1 เร่ือง เป็นตน้ E-book และ E-ducument คือ การสร้างส่ือดิจิทลั ในลกั ษณะท่ีเป็นการทาํ เป็นหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงสามารถสร้างโดยการแปลงไฟลเ์ อกสารต่าง ๆ ใหเ้ ป็น Webpage หรือเป็น PDF File เป็นตน้

องคป์ ระกอบของสอื่ ดจิ ทิ ลั ข้อความทไ่ี ด้จากการพมิ พ์ เป็นขอ้ ความปกติท่ีพบไดท้ วั่ ไป ไดจ้ ากการพิมพด์ ว้ ย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตวั อกั ษรแต่ละตวั เกบ็ ในรหสั เช่น ASCII เสียง เสียงเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงที่สาํ คญั ของมลั ติมีเดีย โดยจะถูกจดั เกบ็ อยใู่ นรูปของสญั ญาณดิจิตอลซ่ึงสามารถเล่นซ้าํ กลบั ไปกลบั มาได้ โดย ใชโ้ ปรแกรมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสาํ หรับทาํ งานดา้ นเสียง หากในงานมลั ติมีเดียมีการใชเ้ สียงที่เร้าใจและสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาในการ นาํ เสนอ ภาพน่ิง เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เป็นตน้ ภาพนิ่งนบั วา่ มีบทบาทต่อระบบงานมลั ติมีเดียมากกวา่ ขอ้ ความหรือตวั อกั ษร เน่ืองจากภาพจะใหผ้ ลในเชิง การเรียนรู้หรือรับรู้ดว้ ยการมองเห็นไดด้ ีกวา่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิ กท่ีมีการเคล่ือนไหวเพ่ือแสดงข้นั ตอนหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง เช่น การเคลื่อนท่ีของลูกสูบของ เครื่องยนต์ เป็นตน้ ท้งั น้ีเพื่อสร้างสรรคจ์ ินตนาการ ใหเ้ กิดแรงจูงใจจากผชู้ ม วดิ โี อ เป็นองคป์ ระกอบของมลั ติมีเดียท่ีมีความสาํ คญั เป็นอยา่ งมาก เนื่องจากวดิ ีโอในระบบดิจิตลั สามารถนาํ เสนอขอ้ ความ หรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคล่ือนไหว) ประกอบกบั เสียงไดส้ มบูรณ์มากกวา่ องคป์ ระกอบชนิดอ่ืน ๆ สื่อการเรียนรู้ดจิ ทิ ลั สื่อการเรียนรู้ดิจิทลั ไดแ้ ก่ สื่อทุกชนิดที่นาํ มาใชป้ ระกอบการเรียนการสอน และช่วยเสริมสร้างความเขา้ ใจและการเรียนรู้ของนกั เรียนและ บุคคลทวั่ ไป

กฎหมายทคี่ วรรูเ้ กยี่ วกบั ดจิ ทิ ลั กฎหมายดจิ ิทลั ในประเทศไทย ประเทศไทย มีท้งั กฎหมายเดิมท่ีระบุเก่ียวกบั ส่ือแต่ละประเภท เช่น สื่อสิ่งพมิ พ์ สื่อวทิ ยแุ ละโทรทศั น์ โดยกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อินเทอร์เน็ตโดยตรงกค็ ือ พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หรือ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ กบั พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ และกฎหมายอ่ืน ๆ ที่ ไม่ไดค้ วบคุมเฉพาะส่ือ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา วา่ ดว้ ยความผดิ ฐานหมิ่นประมาท หรือมาตรา 112 วา่ ดว้ ยความผดิ ต่อองคพ์ ระมหากษตั ริยไ์ ทย หรือมาตราท่ีวา่ ดว้ ยส่ือลามกอนาจารเดก็ กฎหมายทรัพยส์ ินทางปัญญา พ.ร.บ.คุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ร.บ.สอบสวนคดีพิเศษ เป็นตน้

ความปลอดภยั ยุคดจิ ทิ ลั การใช้สื่อดจิ ทิ ลั อย่างปลอดภยั ความปลอดภยั ในโลกดิจิตอล คือการปกป้องความเป็นส่วนตวั บนโลกออนไลน์ ใหพ้ น้ จากการถูกมิจฉาชีพขโมยขอ้ มูลส่วนตวั ไปใชป้ ระโยชน์ หรือทาํ ใหเ้ กิดความเสียหายแก่เจา้ ของ ขอ้ มูล และยงั หมายความรวมไปถึง การใชเ้ ครื่องมือทางเทคโนโลยี เพอื่ รักษาความปลอดภยั น้ีดว้ ย เช่น โปรแกรมกาํ จดั ไวรัส การใชข้ อ้ มูลทางเอกลกั ษณ์บุคคลเพ่อื ระบุตวั ตน เช่น ลายนิ้วมือ เคา้ โครงหนา้ เป็นตน้ รอยเท้าดจิ ทิ ลั กบั ข้อมูลบุคคล การทาํ กิจกรรมใด ๆ บนอินเทอร์เน็ต เช่น การส่งอีเมล การส่งภาพข้ึนโซเชียลมีเดีย การใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือ ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ บนเวบ็ ไซต์ จะมีร่องรอยขอ้ มูล และ ถูกจดั เกบ็ ไวใ้ หเ้ หลือเป็นร่องรอยอยบู่ นอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเรียกวา่ “รอยเทา้ ดิจิทลั ” หรือ digital footprint ดงั น้นั การ ทาํ กิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต จึงควรทาํ ดว้ ยความระมดั ระวงั และ เหมาะสม เพราะขอ้ มูล ต่าง ๆ เหล่าน้นั อาจจะกลบั มามีผลกบั ตวั เองในภายหลงั ได้ เช่น ประวตั ิการทาํ งานบกพร่อง หรือทาํ ใหเ้ สียช่ือเสียงได้

ข้อควรระวงั ในการใช้อนิ เทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตกเ็ หมือนส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เรา คือ เป็นสิ่งที่มีท้งั คุณและโทษ ถา้ เรารู้จกั ใชก้ จ็ ะเป็นคุณ ถา้ ขาดความ ระมดั ระวงั กอ็ าจจะนาํ ภยั มาสู่เราได้ เช่น ถูกหลอกลวงใหห้ ลงผดิ ถูกหลอกใหซ้ ้ือสินคา้ ที่ไม่มีคุณภาพ โดนโจรกรรม ขอ้ มูลส่วนตวั เพอื่ ขโมยเงินทางอินเทอร์เน็ต เป็นตน้ ดงั น้นั การใชง้ านอินเทอร์เน็ต ใหป้ ลอดภยั จึงควรตระหนกั ถึงสิ่ง ต่อไปน้ี 1.ไม่ควรเปิ ดเผยขอ้ มูลส่วนตวั เพราะอาจถูกนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ หรือหลอกลวงผใู้ กลช้ ิด 2.ไม่ส่งหลกั ฐานส่วนตวั ของตนเองและคนในครอบครัวใหผ้ อู้ ่ืน เช่น สาํ เนาบตั รประชาชน เอกสารต่าง ๆ รวมถึงรหสั บตั รต่าง ๆ เช่น เอทีเอม็ บตั รเครดิต ฯลฯ 3.ไม่ออกไปพบเพื่อนท่ีรู้จกั ทางส่ือโซเชียล หรือทางอินเทอร์เน็ต 4.ระมดั ระวงั การซ้ือสินคา้ ทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคาํ โฆษณาชวนเชื่ออ่ืน ๆ 5.ไม่เผลอบนั ทึกยสู เซอร์เนมและพาสเวริ ์ดขณะใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์สาธารณะ เพราะขอ้ มูลอาจจะถูกบนั ทึกไว้ และผู้ ท่ีเขา้ มาใชต้ ่อ อาจจะนาํ ไปใชส้ วมรอยได้ 6.ไฟล์ ภาพ เสียง หรือวดี ีโอ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ก ขอ้ มูล หรือถูกดาวนโ์ หลดผา่ นโปรแกรม เพยี ร์ ทู เพยี ร์ (P2P) และถึงแมว้ า่ จะลบไฟลน์ ้นั ออกไปจากเครื่องแลว้ ส่วนใดส่วนหน่ึงของไฟลย์ งั ตกคา้ งอยู่ และอาจถูกกกู้ ลบั ข้ึนมาได้ โดยช่างคอม ช่างมือถือ เป็นตน้

ประโยชน์ของอนิ เทอร์เน็ต การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต ปัจจุบนั อินเทอร์เน็ต มีความสาํ คญั ต่อชีวติ ประจาํ วนั ของคนเราหลาย ๆ ดา้ น ท้งั การศึกษา พาณิชย์ ธุรกรรม วรรณกรรม และอื่น ๆ ดงั น้ี ด้านการศึกษา เป็นแหล่งคน้ ควา้ หาขอ้ มูลทางวชิ าการ ขอ้ มูลดา้ นการบนั เทิง ดา้ นการแพทย์ และอื่น ๆ ที่เราสนใจ ทาํ หนา้ ที่เสมือนเป็นหอ้ งสมุดขนาดใหญ่ หรือคลงั หนงั สือมหาศาล นกั เรียน และ นกั ศึกษาสามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตติดต่อกบั โรงเรียน และมหาวทิ ยาลยั อ่ืน ๆ เพื่อคน้ หาขอ้ มูลที่กาํ ลงั ศึกษาอยไู่ ด้ ท้งั ท่ีขอ้ มูลท่ีเป็นขอ้ ความ เสียง และภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆทาํ การเรียน การสอนผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตได้ ด้านธุรกจิ และการพาณชิ ย์ คน้ หาขอ้ มูลต่าง ๆ เพอื่ ช่วยในการตดั สินใจทางธุรกิจสามารถซ้ือขายสินคา้ ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผใู้ ชท้ ี่เป็นบริษทั หรือองคก์ รต่าง ๆ กส็ ามารถเปิ ดใหบ้ ริการ และสนบั สนุน ลูกคา้ ของตน ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การใหค้ าํ แนะนาํ สอบถามปัญหาต่าง ๆ ใหแ้ ก่ลูกคา้ แจกจ่ายตวั โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นตน้ ด้านการบนั เทงิ การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ สนั ทนาการ เช่น การคน้ หาวารสารต่าง ๆ ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ท่ีเรียกวา่ Magazine online รวมท้งั หนงั สือพมิ พแ์ ละข่าวสารอ่ืนๆ โดยมีภาพประกอบ ท่ีจอคอมพวิ เตอร์เหมือนกบั วารสาร ตามร้านหนงั สือทวั่ ๆ ไปสามารถฟังวทิ ยผุ า่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไดส้ ามารถดึงขอ้ มูล (Download) ภาพยนตร์ตวั อยา่ งท้งั ภาพยนตร์ใหม่ และเก่า มาดูได้ ด้านอื่น ๆ ส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (Email) ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเหมือนกบั การส่งจดหมายแบบเดิม ๆ แต่การส่งอีเมลจ์ ะรวดเร็วกวา่ มากโอนถ่ายขอ้ มูล คน้ หา และเรียกขอ้ มูลจาก แหล่งต่าง ๆ มาเกบ็ ไวใ้ นเคร่ืองของเราได้ ท้งั ขอ้ มูลประเภทตวั หนงั สือ รูปภาพ และเสียงคน้ ขอ้ มูลข่าวสารท่ีมีอยมู่ ากมายจากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ทวั่ โลกได้ ผา่ น World wide Web สื่อสารดว้ ยขอ้ ความ Chat เป็นการพดู คุยโดยพมิ พข์ อ้ ความตอบกนั การสนทนากนั ผา่ นอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานงั่ อยใู่ นหอ้ งสนทนาเดียวกนั แมอ้ ยคู่ นละประเทศหรือคนละซีก โลกกต็ าม โดยสรุป อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือที่จาํ เป็นในทุกหน่วยงาน ท้งั ภาครัฐและเอกชน มีการนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ท้งั ดา้ นการทหาร การเมือง การปกครอง การใชข้ อ้ มูลข่าวสารที่เป็น ประโยชนแ์ ก่ประชาชน การประกอบอาชีพ เป็นตน้ นบั วา่ เป็นเครื่องมือที่สามารถใชข้ บั เคลื่อนประเทศชาติ กา้ วไปขา้ งหนา้ อยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื

จริยธรรมในการใช้งานเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 1.ยดึ ถือ ปฏิบตั ิตามแนวทาง แนวปฏิบตั ิ ระเบียบ กฎเกณฑต์ ามท่ีกาํ หนด 2.ใชส้ ่ือโซเชียลมีเดียอยา่ งมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม 3.ไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิ ทรัพยส์ ินทางปัญญา เช่น ใชซ้ อฟตแ์ วร์ท่ีไม่มีลิขสิทธ์ิถูกตอ้ ง 4.ไม่ละเมิดสิทธิของผอู้ ื่น เช่น ใชอ้ ุปกรณ์เทคโนโลยขี องผอู้ ่ืนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ตลอดจน การเขา้ ถึงขอ้ มูลส่วนบุคคลของผอู้ ่ืน 5.การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ตอ้ งไม่รบกวนการทาํ งานของผอู้ ่ืน 6.ตอ้ งคาํ นึงถึงสิ่งที่จะเกิดข้ึนกบั สงั คมอนั ติดตามมาจากการกระทาํ ของตน 7.ไม่ควรใหข้ อ้ มูลท่ีเป็นเทจ็ หรือนาํ ขอ้ มูลท่ีเป็นเทจ็ เขา้ สู่ระบบอินเทอร์เน็ต 8.ไม่บิดเบือนความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ใหผ้ รู้ ับคนต่อไปไดข้ อ้ มูลท่ีไม่ถูกตอ้ ง 9.ตอ้ งไม่โจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร ทาํ ร้ายหรือละเมิดสิทธิของผอู้ ่ืน 10.ตอ้ งไม่สอดแนมหรือแกไ้ ขเปิ ดดูในแฟ้มของผอู้ ื่น 11.ไม่ควรเปิ ดเผยขอ้ มูลกบั ผทู้ ี่ไม่ไดร้ ับอนุญาต 12.ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมผอู้ ื่นที่มีลิขสิทธ์ิ 13.ตอ้ งไม่นาํ เอาผลงานของผอู้ ่ืนมาเป็นของตน 14.ไม่ทาํ ใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงเขา้ ใจวา่ ตวั เองเป็นอีกบุคคลหน่ึง ตวั อยา่ งเช่น การปลอมอีเมล การปลอมแปลงบตั รเครดิต เป็นตน้ 15.ไม่ควรแชร์สิ่งที่เป็นเทจ็ หรือสิ่งที่ยงั ไม่ไดต้ รวจสอบใหแ้ น่ใจเสียก่อน หรือสิ่งที่อาจจะส่งผลเสียต่อบุคคลอ่ืน



Big Data คือ ขอ้ มูลขนาดใหญ่/ปริมาณมาก หรือ ขอ้ มูลจาํ นวนมากมหาศาล ทุกเร่ือง ทุกแง่มุม ทุกรูปแบบ ซ่ึงอาจเป็นขอ้ มูลท่ีมีโครงสร้างชดั เจน (Structured Data) เช่น ขอ้ มูลที่เกบ็ อยใู่ นตารางขอ้ มูลต่างๆ หรืออาจเป็นขอ้ มูลก่ึงมีโครงสร้าง (Semi-Structured Data) เช่น ลอ็ กไฟล์ (Log files) หรือแมก้ ระทงั่ ขอ้ มูลที่ไม่มี โครงสร้าง (Unstructured Data) เช่น ขอ้ มูลการโตต้ อบปฏิสมั พนั ธ์ผา่ นสงั คมเครือข่าย (Social Network) เช่น Facebook, twitter หรือ ไฟลจ์ าํ พวกมีเดีย เป็นตน้ ซ่ึง อาจจะเป็นขอ้ มูลภายในองคก์ รและภายนอกที่มาจากการติดต่อระหวา่ งองคก์ ร หรือจากทุกช่องทางการติดต่อกบั ลูกคา้ แต่ท้งั หมดน้ีกย็ งั คงเป็นเพียงขอ้ มูลดิบท่ีรอ การนาํ มาประมวลและวเิ คราะห์เพื่อนาํ ผลท่ีไดม้ าสร้างมูลค่าทางธุรกิจ ขอ้ มูลเหล่าน้ีอาจจะไม่ไดอ้ ยใู่ นรูปแบบที่องคก์ รสามารถนาํ ไปใชไ้ ดท้ นั ที แต่อาจมีขอ้ มูลที่ เป็นประโยชนต์ ่อองคก์ รบางอยา่ งแฝงอยู่

Big Data มีคุณลกั ษณะสาํ คญั อยู่ 4 อยา่ ง คือ ปริมาตร (Volume) หมายถึง ขอ้ มูลน้นั มนั ตอ้ งมีขนาดใหญ่มาก ซ่ึงไม่สามารถประมวลผลปริมาณของขอ้ มูลดว้ ยระบบฐานขอ้ มูลได้ จาํ เป็นตอ้ งใชค้ ลงั ขอ้ มูล (Data Warehouse) และซอฟตแ์ วร์ฮาดูป (Hadoop) ทาํ งานประสานกนั ในการบริหารจดั การขอ้ มูล ความเร็ว (Velocity) หมายถึง ขอ้ มูลดงั กล่าวตอ้ งมีอตั ราการเพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเร็ว เช่น ขอ้ มูลจากภาพถ่ายโทรศพั ทท์ ่ีถูกอบั โหลดข้ึน ขอ้ มูลการพมิ พส์ นทนา ขอ้ มูลวดิ ีโอ รวมไปถึงขอ้ มูลการสัง่ ซ้ือสิ้นคา้ พดู ง่าย ๆ คือ ขอ้ มูลที่มีการเพิ่มข้ึนตลอดเวลาแบบไม่มีหยดุ ย้งั นนั่ แหละ ความหลากหลาย (Variety) หมายถึง รูปแบบขอ้ มูลตอ้ งมีความหลากหลาย อาจจะเป็นขอ้ มูลที่มีโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง และก่ึงมีโครงสร้าง ซ่ึงผมไม่ขอลงลึกนะ เพราะมนั ซบั ซอ้ นมาก แต่เอาเป็นวา่ รูปแบบขอ้ มูลของ Big Data มนั มีทุกอยา่ ง ไม่ไดจ้ าํ กดั แค่พวกขอ้ ความ อีเมล์ รูปภาพ ฯลฯ เท่าน้นั Veracity ไม่สามารถนาํ มาใชเ้ ป็นขอ้ มูลท่ีสมบูรณ์ เพอื่ การประกอบการพิจารณาได้

การใช้ประโยชน์จาก Big Data ในปัจจุบนั น้ี การนาํ Big Data มาใชใ้ นภาครัฐ เพ่ือแกป้ ัญหาความเดือดร้อนและลดความเหล่ือมล้าํ โดยนาํ ขอ้ มูลในระบบราชการจากหลายหน่วยงาน เช่น ขอ้ มูลสาธารณสุข ทะเบียนราษฎ์ ที่ต้งั ของธุรกิจ โรงพยาบาล สถานบาํ บดั สถานการณ์จา้ งงานฯ มาวเิ คราะห์และการเช่ือมโยงกนั เกิดเป็นขอ้ มูลขนาดใหญ่ Big Data ของภาครัฐ ผา่ นกระบวนการ วเิ คราะห์เชื่อมโยงเพื่อตอบการใหบ้ ริการของภาครัฐ ตวั อยา่ งเช่น รัฐบาลตอ้ งการช่วยเหลือผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย แต่แทนที่จะช่วยเหลือโดยใหเ้ งินอุดหนุนท่ีเท่าๆ กนั แบบปูพรมท้งั ประเทศ ก็ นาํ Big Data ซ่ึงเป็นขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆมาใชช้ ้ีจาํ เพาะวา่ บุคคลใดที่ถือวา่ มีรายไดน้ อ้ ย พร้อมท้งั กาํ หนดระดบั และลกั ษณะความช่วยเหลือที่แตกต่างกนั เช่น ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยท่ีสูงอายุ เป็นผพู้ กิ าร อยกู่ บั บา้ น ใหล้ ูกหลานดูแล รัฐอาจช่วยโดยสนบั สนุนขาเทียม ใหค้ ูปองเขา้ รับการทาํ กายภาพบาํ บดั พร้อมท้งั เลือกอาชีพท่ีเหมาะสมกบั กายภาพของผสู้ ูงอายุ การฝึกอาชีพเพอ่ื เพิ่มรายได้ ใหก้ บั ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย พร้อมท้งั จบั คู่กบั แหล่งงานที่อยใู่ กลเ้ คียงกบั ที่พกั อาศยั อีกท้งั ยงั ติดตามและเสนอโอกาสฝึกอาชีพใหม่ๆ เพ่มิ เติม เพื่อใหม้ ีรายไดท้ ี่ สูงข้ึนและพฒั นาคุณภาพชีวติ ใหด้ ีข้ึน ซ่ึงถา้ วเิ คราะห์ดูจะเห็นวา่ ขอ้ มูลจาํ นวนมากเกิดการบูรณาการและวเิ คราะห์ เพ่ือใชส้ าํ หรับการตดั สินใจในการใหบ้ ริการของภาครัฐไดต้ รง กลุ่มเป้าหมาย โดยในปัจจุบนั น้ี จะเห็นไดจ้ ากการใชบ้ ตั รประชาชนเพยี งบตั รเดียวกส็ ามารถเขา้ ถึงบริการภาครัฐไดม้ ากข้ึน Big Data สาํ หรับภาคเอกชนท่ีนาํ มาใชป้ ระโยชน์ เช่น เวบ็ ไซตอ์ ี-คอมเมิร์ช ที่จดั เกบ็ ขอ้ มูลพฤติกรรมการซ้ือสินคา้ ของลูกคา้ อยา่ งต่อเนื่อง และมีระบบท่ีทาํ หนา้ ที่คดั เลือกสินคา้ อื่นๆ ท่ีคาดวา่ ลูกคา้ จะตอ้ งการเพิม่ เติม แลว้ นาํ เสนอข้ึนมาใหโ้ ดยอตั โนมตั ิบนหนา้ เวบ็ ไซตอ์ ี-คอมเมิร์ชของลูกคา้ รายน้นั ๆ ท้งั น้ี ลูกคา้ แต่ละคน ไม่จาํ เป็นตอ้ งนาํ เสนอสินคา้ เดียวกนั จากการ สงั เกตพฤติกรรมการซ้ือสินคา้ พบวา่ ภาคเอกชนจะมีการเกบ็ ขอ้ มูล ชื่อ ท่ีอยู่ เพศ เช้ือชาติ อายุ ประวตั ิการซ้ือสินคา้ ชนิดสินคา้ เวลาท่ีซ้ือ มูลค่าสินคา้ นาํ มาวเิ คราะห์จบั คู่กบั สินคา้ อื่นท่ี มีศกั ยภาพ ท้งั น้ี เง่ือนไขหรือสูตรการจบั คู่อาจแตกต่างกนั ไป ตามกลุ่มลูกคา้ หรือประชากรในแต่ละประเทศ หรือตามกลุ่มสงั คมหรือวฒั นธรรม นอกจากน้นั ภาคเอกชนไดน้ าํ ขอ้ มูล Big Data มาใชป้ ระโยชน์ เพ่อื ยกระดบั ธุรกิจ ดว้ ยการพฒั นาเทคโนโลยแี ชทบอท Chatbot ที่สามารถรับมือกบั ความตอ้ งการขอ้ มูลของลูกคา้ ที่ ติดต่อเขา้ มาจาํ นวนมหาศาลผา่ น Messaging Application ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ฉบั ไว พร้อมใหบ้ ริการตลอด 24 ชวั่ โมง และน่ีคือจุดเปลี่ยนสาํ คญั ของการใหบ้ ริการท่ีจะเขา้ มาใชง้ านแทนคน (Agent)



Internet of Things (IoT) คือ \"อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง\" หมายถึง การท่ีอุปกรณ์ต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ ไดถ้ ูกเช่ือมโยงทุกสิ่งทุกอยา่ งสู่โลก อินเตอร์เน็ต ทาํ ใหม้ นุษยส์ ามารถสงั่ การควบคุมการใชง้ านอุปกรณ์ต่าง ๆ ผา่ นทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิ ด-ปิ ด อุปกรณ์เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า (การสงั่ การเปิ ดไฟฟ้าภายในบา้ นดว้ ยการเช่ือมต่ออุปกรณ์ควบคุม เช่น มือถือ ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต) รถยนต์ โทรศพั ทม์ ือถือ เครื่องมือส่ือสาร เคร่ืองมือทางการเกษตร อาคาร บา้ นเรือน เคร่ืองใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ต่าง ๆ ผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นตน้

IoT มชี ่ือเรียกอกี อย่างว่า M2M ยอ่ มาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยอี ินเตอร์เน็ต ท่ีเช่ือมต่ออุปกรณ์กบั เครื่องมือต่าง ๆ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เทคโนโลยี IoT มีความจาํ เป็นตอ้ งทาํ งานร่วมกบั อุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors ซ่ึง เปรียบเสมือนการเติมสมองใหก้ บั อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีขาดไม่คือการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เพ่ือใหอ้ ุปกรณ์ สามารถรับส่งขอ้ มูลถึงกนั ได้ เทคโนโลยี IoT มีประโยชนใ์ นหลายดา้ น แต่กม็ าพร้อมกบั ความเส่ียง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภยั ของอุปกรณ์ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไม่ดีพอ กอ็ าจทาํ ใหม้ ีผไู้ ม่ ประสงคด์ ีเขา้ มาขโมยขอ้ มูลหรือละเมิดความเป็นส่วนตวั ของเราได้ ดงั น้นั การพฒั นา IoT จึงจาํ เป็นตอ้ ง พฒั นามาตรการ และระบบรักษาความปลอดภยั ไอทีควบคู่กนั ไปดว้ ย

แบ่งกล่มุ Internet of Things ปัจจุบนั มีการแบ่งกลุ่ม Internet of Things ออกตามตลาดการใชง้ านเป็น 2 กลุ่มไดแ้ ก่ Industrial IoT คือ แบ่งจาก local network ท่ีมีหลายเทคโนโลยที ่ีแตกต่างกนั ในโครงข่าย Sensor nodes โดย ตวั อุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มน้ีจะเชื่อมต่อแบบ IP network เพือ่ เขา้ สู่อินเตอร์เน็ต Commercial IoT คือ แบ่งจาก local communication ที่เป็น Bluetooth หรือ Ethernet (wired or wireless) โดย ตวั อุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มน้ีจะส่ือสารภายในกลุ่ม Sensor nodes เดียวกนั เท่าน้นั หรือ เป็นแบบ local devices เพยี งอยา่ งเดียวอาจไม่ไดเ้ ชื่อมสู่อินเตอร์เน็ต

น.ส.วชิราภรณ์ ทาโคตร ปวส.1/11 เลขที่ 6 สาขาเทคโนโลยธี ุรกิจยดี ิจิทลั THANKYOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook