Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore plc 64

plc 64

Published by ooeaoo, 2022-09-25 06:15:37

Description: plc 64

Search

Read the Text Version

สวนราชการ โรงเรียนวดั บางหญา แพรก บันทึกขอ ความ ที่ พิเศษ/2564 วันท่ี 31 พฤษภาคม ๒๕64 เรือ่ ง ขออนุญาตจดั กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรแู หงวิชาชีพ (PLC) ปการศึกษา 2564 เรยี น ผูอำนวยการโรงเรยี นวัดบางหญา แพรก ดวยโรงเรียนวัดบางหญาแพรก ไดจดั ทำกจิ กรรมการจัดกระบวนการ PLC “ชมุ ชนการเรียนรู ทางวิชาชีพในสถานศึกษา” (Professional Learning Community) เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและพัฒนา กระบวนการจัดการเรยี นรขู องครูใหมปี ระสิทธิภาพน้นั ขา พเจานางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ขอจัดต้ังกลุมปฏบิ ัติการขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔ ชื่อกลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พฒั นาเด็กไทย”จึงขอจดั ตั้งกลุมประชมุ ปฏิบตั ิการ PLC ดงั นี้ ๑. นางสาวรุงทิวา หอมทอง ตำแหนง ประธาน ๒. นางสาวชุตมิ า แลศลิ า ตำแหนง กรรมการ ๓. นางสาวรัตนยี  บญุ ชว ย ตำแหนง กรรมการ ๔. นางสาวบญุ อนนั ต สวา งใจ ตำแหนง กรรมการ ๕. นายอดุลย ชัยคำภา ตำแหนง กรรมการ ๖. นางสาวเสาวนี ศรีจันทึก ตำแหนง กรรมการ ๗. นางสกุ ญั ญา แตงเกตุ ตำแหนง กรรมการและเลขานุการ สถานทป่ี ระชมุ หองสมดุ โรงเรียนวดั บางหญาแพรก , ออนไลน work from home วันประชมุ กลุม วันจนั ทร วนั พุธ วันพฤหสั บดี และวนั ศุกร จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา ลงชอื่ …………………………………………… (นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ) ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ความคิดเหน็ ผูบริหาร ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .......................................................... (นางสาวณฐั กาญจน นชุ ประเสรฐิ ) ผูอำนวยการโรงเรียนวดั บางหญา แพรก

คำสัง่ โรงเรยี นวัดบางหญา แพรก ที่ ๒๑ / ๒๕๖๔ เร่อื ง แตง ต้งั คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ” ในระดับสายชน้ั ................................................................................................... ดวยโรงเรียนวัดบางหญาแพรก ไดดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนแหงการเรียนรทู างวิชาชีพ” ในระดับสถานศกึ ษา เพ่ือใหการดำเนินการดงั กลา ว เปนไปดวยความเรยี บรอ ย มีประสิทธิภาพโรงเรยี นวดั บางหญาแพรก จึง แตง ตั้งคณะกรรมการดำเนินการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชน แหง การเรียนรทู างวิชาชพี ” ในระดับสายช้ัน ดงั นี้ ๑. คณะกรรมการอำนวยการ ๑. นางสาวณฐั กาญจน นชุ ประเสริฐ ประธานกรรมการ 2. นางสาวณฐั กานต บญุ เสรฐิ กรรมการ ๓. นางมยรุ า เลขพร กรรมการ ๔. นางสาวรุงทิวา หอมทอง กรรมการ ๕. นางสาวภชั ภิชา บวรวราโชติ กรรมการและเลขานุการ มหี นาท่ี ใหค ำปรึกษา คำแนะนำแกคณะกรรมการฝายตางๆใหเปนไปดว ยความเรียบรอ ย ๒. คณะกรรมการดำเนนิ การ ระดับชัน้ อนุบาล ๑- ๓ ๑. นางรสชงค แกวกา ครู คศ.๑ ประธานกรรมการ ๒. นางสาวกาญจนา สวนเพชร ครูอัตราจาง กรรมการ ๓. นางสาวจันเพ็ญ จนั ทเสน ครู คศ.๑ กรรมการและเลขานุการ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ ๑. นางสาวณฐั กานต บุญเสริฐ ครู คศ.๑ ประธานกรรมการ ๒. นางสาวภญั รตั น อนิ ตะฮอง ครู คศ.๒ กรรมการ ๓. นางสาวมณฑริ า เทยี บทอง ครู คศ.๒ กรรมการ ๔. นางสาวทิพยว มิ ล สุขเสาร ครู คศ.๑ กรรมการ ๕ จ.ส.ต.ธนิษฐน นั ท วราสินธุ ครู คศ.๑ กรรมการ ๖. นางสาววชิ ุดา ลุยตนั ครู คศ.๑ กรรมการ ๗. นางมยรุ า เลขพร ครู คศ.๒ กรรมการ

๘. นางสาวฐิตา ไชยอาษา ครู คศ.๑ กรรมการ ๙. นางสาวภชั ภิชา บวรวราโชติ ครู คศ.๒ กรรมการและเลขานุการ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑-๓ ๑. นางสาวรงุ ทิวา หอมทอง ครู คศ.๒ ประธานกรรมการ ๒. นางสาวบญุ อนนั ต สวางใจ ครู คศ.๒ กรรมการ ๓. นายอดุลย ชัยคำภา ครู คศ.๑ กรรมการ ๔. นางสาวรัตนยี  บญุ ชว ย ครู คศ.๑ กรรมการ ๕. นางสาวชตุ มิ า แลศลิ า ครผู ชู ว ย กรรมการ ๖. นางสาวเสาวนี ศรีจนั ทึก ครู คศ.๑ กรรมการ ๗. นางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ครู คศ.๒ กรรมการและเลขานุการ ทำหนาท่ี วางแผน ดำเนนิ งาน วิเคราะหแ ละสะทอนสภาพปญหาการเรยี นการสอน หาแนวทางการแกป ญหา รวมกำหนดแผนการดำเนนิ งาน รว มออกแบบกจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นการสอน และวดั ประเมนิ ผลการใชส่ือ และนวัตกรรม ทัง้ นี้ ตั้งแตบ ันนเ้ี ปน ตน ไป สงั่ ณ วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม พ. ศ. ๒๕๖๔ (นางสาวณัฐกาญจน นชุ ประเสริฐ) ผูอำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญาแพรก

สรุปสารสนเทศ รายการชมุ ชนแหง การเรียนรูท างวชิ าชีพ : PLC ปก ารศึกษา 2564 ปก ารศกึ ษา รอบท่ี วนั เดือนป วนั เดือนป เรือ่ ง จำนวน (วนั แรก) (วนั สดุ ทาย) ชั่วโมง 2564 การใช Google Classroom 1 1 ม.ิ ย. 64 26 ส.ค. 64 ในการจดั การเรยี นการสอน 43 สถานการณโ ควิด-19 2 2 ก.ย. 64 23 ก.ย. 64 การแกไขปญ หานักเรียนไมส ง 12 งาน ลงชื่อ..............................................ผสู รุป ลงชื่อ..............................................ผูรับรอง (นางสาวสกุ ัญญา แตงเกตุ) (นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสรฐิ ) ผูอำนวยการโรงเรยี นวัดบางหญาแพรก ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

แผนการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC โรงเรยี นวดั บางหญาแพรก ปก ารศกึ ษา 2564 ช่ือกลมุ “มัธยมรวมใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พฒั นาเดก็ ไทย” ครัง้ ที่ วัน เดอื น ป เวลา ข้ันตอน จำนวน(ชว่ั โมง) 1 1 ม.ิ ย. 64 2 ชวั่ โมง 2 2 ม.ิ ย. 64 15.30 – 17.30 ดำเนนิ การ PLC คร้ังท่ี 1 รอบที่1 3 4 ม.ิ ย. 64 - ประชมุ ชี้แจงฝายบรหิ ารและทีมนำ เพ่ือวาง 2 ช่วั โมง 4 8 มิ.ย. 64 แผนการขบั เคลื่อนการดำเนินงาน PLC ในโรงเรยี น รอบที่1 5 9 มิ.ย. 64 2 ชว่ั โมง 6 11 ม.ิ ย. 64 15.30– 17.30 ดำเนินการ PLC ครั้งที่ 2 รอบท่ี1 7 15 มิ.ย. 64 - จัดทำโมเดลการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งาน PLC 2 ชั่วโมง 8 17 ม.ิ ย. 64 รอบท่ี1 12.30 – 16.30 ดำเนินการ PLC ครั้งท่ี 3 2 ชวั่ โมง - คน หาปญ หาการจดั การเรียนการสอน รอบท่ี1 2 ชว่ั โมง 15.30 – 17.30 ดำเนนิ การ PLC ครงั้ ที่ 4 รอบท่ี1 - สรปุ ปญ หาการจดั การเรียนการสอน 2 ช่วั โมง รอบที่1 15.30 – 17.30 กลุม ดำเนนิ การ PLC ครั้งที่ 5 3 ชว่ั โมง - รปู แบบขัน้ ตอนการแกไ ขปญหาพฒั นาการเรยี นรู 15.30 – 17.30 กลมุ ดำเนนิ งาน PLC ครั้งที่ 6 - นำเสนอรปู แบบนวัตกรรมในการแกปญหา 15.30 – 17.30 กลุม ดำเนนิ งาน PLC คร้ังท่ี 7 15.30 – 18.30 - การนำสูการวางแผนปฏิบตั ิและการแลกเปล่ียน เรียนรู กลุม ดำเนินงาน PLC ครั้งท่ี 8

- การนำสกู ารวางแผนปฏิบตั ิและการแลกเปล่ียน รอบที่1 เรียนรู 2 ชว่ั โมง 9 22 ม.ิ ย. 64 15.30 – 17.30 กลมุ ดำเนินงาน PLC คร้ังท่ี 9 รอบท่ี1 การนำสกู ารปฏบิ ตั ิและการแลกเปลยี่ นเรยี นรู 3 ชวั่ โมง รอบท่ี1 10 24 มิ.ย. 64 15.30 – 18.30 กลุม ดำเนินงาน PLC ครั้งที่ 10 3 ชว่ั โมง - การนำสูการปฏิบัตแิ ละการแลกเปล่ยี นเรยี นรู รอบที่1 3 ชัว่ โมง 11 1 ก.ค. 64 15.30 – 18.30 กลุม ดำเนินการ PLC คร้ังท่ี 11 รอบท่ี1 - การนำสูก ารปฏบิ ตั แิ ละการแลกเปลี่ยน 3 ชั่วโมง รอบที่1 12 8 ก.ค. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนินการ PLC ครง้ั ที่ 12 3 ชว่ั โมง - ปฏิบัติและสังเกตการเรียนรู รอบที่1 3 ชัว่ โมง 13 15 ก.ค. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนนิ การ PLC คร้ังท่ี 13 รอบท่ี1 - การแกไขปญ หาพัฒนาการเรยี นรู 3 ชั่วโมง รอบที่1 14 22 ก.ค. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนินการ PLC คร้ังท่ี 14 - ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรียนรู 3 ช่ัวโมง รอบท่ี1 15 5 ส.ค. 64 15.30 – 18.30 กลุม ดำเนินการ PLC ครงั้ ที่ 15 -การสะทอนผลการปฏิบตั ขิ องครรู ว มเรยี นรู 43 ชว่ั โมง 16 19 ส.ค. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนินงาน PLC คร้ังที่ 16 -การสรุปผล และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา กลมุ ดำเนินงาน PLC ครั้งที่ 17 17 26 ส.ค. 64 15.30 – 18.30 -สรปุ รายงานผลการใช Google Classroom ใน การจัดการเรยี นการสอนสถานการณโ ควดิ -19 รวมชั่วโมง

18 2 ก.ย. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนินงาน PLC ครั้งท่ี 18 3 ชั่วโมง คน หาปญ หาการจดั การเรียนการสอน วงรอบท่ี 2 19 9 ก.ย. 64 15.30 – 18.30 กลมุ ดำเนนิ งาน PLC ครั้งท่ี 19 3 ชวั่ โมง - การนำสกู ารปฏบิ ตั ิและการแลกเปลย่ี น วงรอบที่ 2 20 16 ก.ย. 64 15.30 – 18.30 กลุม ดำเนนิ งาน PLC ครั้งที่ 20 3 ชว่ั โมง - การนำสกู ารปฏิบตั ิและการแลกเปลยี่ น วงรอบที่ 2 กลมุ ดำเนินงาน PLC ครั้งที่ 17 3 ชั่วโมง 21 23 ก.ย. 64 15.30 – 18.30 -การสะทอนผลการปฏิบตั ิของครรู วมเรยี นรู วงรอบที่ 2 -สรปุ รายงาน 12 ชวั่ โมง รวมช่วั โมง 55 ชั่วโมง รวมชวั่ โมง ตลอดปการศึกษา 2564 ลงช่ือ ผสู รปุ ลงช่ือ ผรู ับรอง (นางสาวสุกญั ญา แตงเกต)ุ ( นางสาวณัฐกาญจน นชุ ประเสริฐ) ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ ผอู ำนวยการโรงเรียนวดั บางหญาแพรก

คำนำ รายงานผลการดำเนนิ งานการจัดกจิ กรรมชุมชนแหงการเรยี นรูทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำขึน้ เพื่อนำเสนอแนวทางในการดำเนนิ งานของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พัฒนาเด็กไทย” ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน เพ่ือพฒั นาการใช Google Classroom ในการ จัดการเรยี นการสอนสถานการณโ ควิด-19 จากความรว มมือของครูเปนการสรางความรูความเขาใจ เร่ืองการ ปฏบิ ตั ดิ ว ยกระบวนการ PLC เพ่ือแกไขปญหาดาน พฤตกิ รรม รวมทั้งแลกเปล่ยี นเรียนรู การติดตามและ ประเมินผล ในการดำเนินงานของโรงเรียนวัดบางหญา แพรก ของครูผสู อนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตนหวัง เปน อยา งยิ่งวา เอกสารเลมน้ี จะเกิดประโยชนต อผูค รผู ูส อน ผบู ริหารสถานศกึ ษาและ บคุ ลากรทางการศึกษา รวมทัง้ ผูสนใจทวั่ ไป ในการนำไปใชเพ่ือศึกษาเรียนรูสรางความเขา ใจและปฏิบตั ติ าม แนวทางดังกลา วไดเ ปน อยา งดี กลุม“มัธยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย”

ผลการดำเนนิ กจิ กรรมชุมชนแหง การเรียนรูทางวชิ าชพี 1. หลกั การและเหตุผล ชมุ ชนแหง การเรียนรเู ชงิ วิชาชพี (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การ รวมกลมุ กนั ของครูผสู อนและบคุ ลากรทางการศึกษา ในลกั ษณะของชมุ ชนเชิงวิชาการที่มีเปา หมาย เพ่ือพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา โดยใชกระบวนการเรียนรจู ากการปฏบิ ัติ การถอดบทเรยี น และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู รวมกันอยางตอเนื่อง จากผลการวิจยั ของ สุรพล ธรรมรมดี (2553) ยืนยันวา การดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู การเปล่ียนแปลงเชงิ คุณภาพทั้งดานวิชาชพี และผลสัมฤทธขิ์ องนักเรียน โดยมผี ลดที ้ังตอครผู สู อนและ นักเรยี น ในแงผ ลดีตอครผู สู อนพบวา PLC สงผลตอครูผูส อนกลาวคือลดความรสู ึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพ่ิมความรสู กึ ผูกพนั ตอ พันธกิจและเปาหมายของโรงเรยี นมากขึน้ โดยเพ่ิมความกระตือรือรน ที่จะปฏิบตั ิให บรรลพุ ันธกจิ อยา งแข็งขัน จนเกิดความรูสึกวา ตองการรว มกันเรียนรแู ละรับผดิ ชอบตอ พัฒนาการโดยรวมของ นกั เรยี น ถอื เปนพลังการเรียนรซู ึง่ สงผลใหการปฏิบตั กิ ารสอนในช้นั เรียนใหม ผี ลดยี ิ่งข้ึน รวมท้ังเขาใจบทบาท และพฤติกรรมการสอนท่จี ะชวยใหนักเรียนเกดิ การเรียนรไู ดดที สี่ ุด ซึง่ จะเกิดจากการคอยสังเกต อยางใสใจใน แงของผลดีตอ ผูเ รยี นพบวา PLC สามารถลดอตั ราการตกซ้ำชั้นและจำนวนช้ันเรยี นท่ีตองเลอื่ น หรอื ชะลอการ จัดการเรียนรูใหน อยลงอัตราการขาดเรยี นลดลงมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นอยางเดนชดั สดุ ทา ยคือมี ความแตกตา งดา นผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ระหวา งกลุมนักเรยี นทมี่ ีภมู หิ ลังไมเ หมอื นกนั ลดลงอยางชดั เจน จาก การศกึ ษาประโยชนของกระบวนการดงั กลา ว ผจู ดั ทำจึงเกิดความคิดทจี่ ะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพ่ือเปน การปรบั ปรุงแกปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรรู วมกันและ รว มกนั พฒั นา นวตั กรรมท่ใี ชในการแกปญหาเกี่ยวกบั การจัดการเรยี นรแู กนกั เรียนในแตละกจิ กรรมการเรียนรู โดยไดเริ่ม ดำเนินกิจกรรมกบั นักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 - 3 เพอื่ แกไ ขปญ หาทเี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ในหองเรยี น คือ การใช Google Classroom ในการจดั การเรยี นการสอนสถานการณโ ควิด-19 จำเปนตอ งมกี ารเวนระยะหา งทาง สงั คม เนือ่ งจากสถานการณโควดิ -19 ทำให จำเปน ตองมีการเวน ระยะหางทางสังคม นักเรียนจงึ ไดเรียน ออนไลนอยบู า น 2. วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื แกปญ หาโรงเรียนไมส ามารถจัดการเรียนการสอนในหองเรียนไดตามปกติ จากปญหาชวง สถานการโควดิ 19 2. เพอ่ื ใหนักเรยี นสามารถเรียนรูตามสถานการณโควิด 19 ได 3. เพิ่มโอกาสในการเขาถึงเน้ือหาการเรยี นไดจ ากส่ือตางๆ ทางออนไลน 4. มีนวัตกรรมทม่ี ีความเหมาะสมและเราความสนใจของผเู รยี น 3. วธิ กี ารดำเนินงาน  แนวทางการปฏบิ ตั ิกิจกรรมการสรา งชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) 1. แบง กลุมยอ ย ตามความเหมาะสม

2. ใหแ ตละกลุมคิดแนวทางแกไ ขปญหา 1 เร่อื งจากประเด็นตอ ไปน้ี 2.1 ปญหาการเรยี นรูข องนกั เรยี น 1 เร่ือง/กลมุ 2.2 ปญหาดานการจดั การเรียนการสอนของครู หรอื เทคนคิ วธิ ีการสอนที่ครคู วรพฒั นา จำนวน 1 เรอ่ื ง/กลมุ 3. จดั ทำโครงการ/กิจกรรม การสรางชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC)  กระบวนการของ PLC ขัน้ ตอนที่ 1 Community สรา งทมี ครู ขัน้ ตอนที่ 2 Practice จดั การเรยี นรูเชน การวเิ คราะหหนวยการเรยี นรรู วมกนั ออกแบบ กจิ กรรม การเรียนรูในการจัดทำแผนการเรยี นรู เพื่อแกปญหาหรือพฒั นาและนำสูการปฏิบัติ โดยมกี ารเปด หอ งเรยี น เพ่ือการสังเกตการณส อน เครอื่ งมือในการประเมนิ หองเรียน Google Classroom ขนั้ ตอนที่ 3 Reflection สะทอ นคิดเพ่ือการพฒั นาการปฏิบตั ิ ขน้ั ตอนท่ี 4 Evaluation ประเมนิ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะครู ขนั้ ตอนท่ี 5 Network Development สรา งเครือขา ยการพัฒนา  บทบาทหนาทีข่ องสมาชิกกลมุ ตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถงึ ครผู รู ับการนเิ ทศ หรือ ครผู ูสอน - Buddy Teacher หมายถึง ครคู ูนิเทศ หรือ ครูรว มเรียนรู - Mentor หมายถงึ หวั หนา กลุม สาระการเรยี นรู - Expert หมายถึง ผูเช่ียวชาญ เชน ครู คศ.3 นักวิชาการ อาจารยม หาวทิ ยาลยั ศึกษานเิ ทศก - Administrator หมายถึง ผบู รหิ ารโรงเรยี น - Recorder หมายถงึ ผบู ันทึกรายงานการประชมุ 4. วนั เวลา สถานท่ี ในการดำเนนิ งาน ระยะเวลา : ต้ังแต วันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564 – 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 สถานท่ี : โรงเรยี นวัดบางหญาแพรก 5. สรุปผลการดำเนินงาน  ประเด็นดานผเู รยี น - นกั เรยี นมแี รงจงู ใจในการเรียนและสามารถศกึ ษาคน ควา ดวยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียน ออนไลนทค่ี รูแนะนำ ทำใหการจดั การเรยี นการสอนครอบคลมุ ตามเน้อื หาการเรยี นรู - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มคี วามกระตือรอื รน ในการเรียนมากกวา ปกติมีความตงั้ ใจใฝห าความรู ใหมๆ ตรงกบั ระบบการเรียนรทู ่ีเนนผูเรยี นเปนศูนยก ลาง โดยมีผสู อนเปน เพยี งผูแนะนำ ท่ีปรกึ ษา และแนะนำ แหลง ความรใู หมๆ ที่เกี่ยวของกบั การเรยี น ผเู รยี นสามารถทราบผลยอนกลบั ของการเรียน รคู วามกา วหนา ได จากหอ งเรยี นออนไลน Google Classroom การประเมินผล การประเมินยอย โดยใชหองเรียน Google Classroom เปน ทีท่ ดสอบและการประเมนิ ผล

- สงเสริมใหน กั เรียนเกิดการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมการใชสื่อสงั คมออนไลนแ ละเครือขายอนิ เทอรเ น็ต ในทางท่เี หมาะสม เปนการสรางภมู คิ ุมกันใหก บั ตวั นักเรยี น เปรียบเสมอื นเปนตวั กรองที่คอยชวยใหน ักเรยี น สามารถ แยกแยะขา วสารหรอื ขอมูลท่ีมีการเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเร็วใหร ับรูไดอยา งมีคุณภาพ - นักเรียนมีแรงจงู ใจในการเรียนและศึกษาคนควาดว ยตนเอง เรยี นอยางมคี วามสุขและมีปฏิสมั พนั ธ ระหวางครกู ับนักเรียน และนักเรียนกบั นักเรยี นดว ยกันเองเพิ่มมากขึ้น - นักเรยี นมพี ฤติกรรมทพ่ี ึงประสงคหลายประการ เชน ไดพูดคุย ถกเถยี ง อยางมีเหตผุ ล และยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผูอ ื่นมากข้ึน  ประเดน็ ดา นกิจกรรม - ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหอ งเรียน Google Classroom ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เปนลกั ษณะการเรียนรจู ากแหลง เรยี นรนู อกช้นั เรียนท่ีทำใหผเู รยี นสามารถเรียนรไู ดท ุกทท่ี ุกเวลา - การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนทำใหก ารเรยี นการสอนครอบคลุมตามเนื้อหา - ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นการสอนผา นหอ งเรียน Google Classroom ตลอดจนเอกสารประกอบการ สอน เปน ลกั ษณะการเรยี นรจู ากแหลงเรียนรูนอกชั้นเรยี นที่ทำใหผ ูเ รยี นสามารถเรียนรูไดทกุ ทีท่ ุกเวลา - ครูและผูเรยี นมปี ฏิสมั พันธ/ การแลกเปล่ยี นเรยี นรทู ำใหบรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไป โดยเนน ผูเ รียนเปน ศูนยก ลางการเรยี นรู  ประเด็นดานครู - ครูจะทำหนาเปนผูอำนวยที่คอยใหความชวยเหลอื คำปรึกษา และดงึ ศักยภาพของผูเรียนใหสามารถ เรียนรไู ดด ว ยตนเอง สรา งแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรียน  ประเดน็ ส่อื การสอน - ส่อื กิจกรรมและแหลง การเรียนรมู ีความถูกตองเหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพ (ดานคุณภาพ) - ส่อื มคี วามเพียงพอเหมาะสม (ดานปริมาณ) - ผเู รียน และผสู อนสามารถเขาถงึ ส่ือการเรยี นการสอนไดงาย โดยจะใช Google Classroom - นกั เรียนไดใชเ ครื่องมือที่ตนถนดั คือ เทคโนโลยกี ารสื่อสารสมยั ใหม เครือขา ยอินเตอรเ น็ตและสังคม ออนไลนเ ม่ือไดใชหรือทำอะไรท่ีตนชอบหรอื ถนัด จึงทำใหผูเ รยี นศกึ ษา คนควาเรยี นดว ยตนเองไดอยางอัตโนมัติ ผูเ รียนเกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมเปนไปตามทคี่ รตู องการใหเ กดิ ข้นึ ในตวั ผเู รียน  ประเด็นดา นบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในหองเรยี นแบบออนไลนเปน ส่ิงทสี่ ำคัญที่จะทำใหผ เู รียนใหความสนใจใคร รู และพรอมท่ีจะรวมพดู คยุ แลกเปลย่ี นเรยี นรอู ยา งมีสว นรวมมากขึน้ 6. อภปิ รายผลการดำเนนิ งาน 6.1 ผลลัพธทเ่ี กิดจากกระบวนการ 1) มีองคความรูนวตั กรรม และประเดน็ ความรทู ่นี า สนใจทเ่ี กิดขึ้นจากการแลกเปลย่ี นเรียนรู ของสมาชิกเครือขา ยทีเ่ ปนประโยชนก ับครู และครูสามารถนำไปใชในการพฒั นาใหเกดิ ประโยชนก ับผเู รียน ได อยา งเปนรปู ธรรม (สมาชิกเครอื ขายมีการนำไปใชไ ดอยางชัดเจน)

2) มีรองรอยการรายงานผลการนำองคความรนู วัตกรรม และประเด็นความรทู ีน่ า สนใจ ท่ี เกดิ ขึ้นของ สมาชิกเครือขายไปใชต ลอดระยะท่ดี ำเนินโครงการทุกครัง้ ท่ีมีการแลกเปล่ียนเรยี นรโู ดยสมาชิกทุก คน 3) ผสู อนหลกั และสมาชิกในกลุม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมการเรยี นรูมา อภิปราย เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดโดยมคี รผู สู อนหลกั เปน ผูสะทอนความคิดเก่ยี วกบั ความสำเร็จ จุดเดนและจดุ ทตี่ องพัฒนา ในการจดั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6.2 ผลลัพธท ีเ่ กิดกับผูเรียน / ครู/ สมาชกิ ท่เี ขารว มเครือขา ย PLC 1) ผเู รียนไดก ารเรียนรูตามเปาหมาย และวตั ถปุ ระสงคท่ีกำหนดไวทกุ ประการ และมีความ ชัดเจน ท้งั เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 2) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผูเรยี นดขี ้ึน และทำใหผ ูเ รียนไดพัฒนาและเกิดคุณลกั ษณะ อยา งชัดเจน 3) ผสู อนไดร ับความรูและประสบการณ ซึ่งเปน ประโยชนต อการปรับปรุงและพฒั นาแผนการ จัดการเรียนรู และผูสอนไดร ับนวัตกรรมและเร่ิมวางแผนจัดทำวจิ ัยปฏิบัติการในชัน้ เรียน 4) ผสู อนสามารถนำความรูแ ละประสบการณที่ไดรบั จากการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู ป ประยกุ ตใ ช ในการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู และสามารถนำวตั กรรมการเรียนรูที่ไดร ับจากการทำวจิ ัย ปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี นไปใชพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู 6.3 คณุ คาที่เกิดตอวงการศึกษา 1) มีเครือขายที่ชัดเจน และการขยายเครือขายแลว และมคี วามชดั เจน เปนรปู ธรรมและมี แนวโนม การเกิดเครือขายเพ่ิมข้นึ 2) การรว มกันรบั ผดิ ชอบตอการเรยี นรขู องนักเรยี น ใหผ ลการเรียนรูท่ีตองการใหเ กดิ ขึ้นในตวั นักเรียน โดยครูท่ีเปน สมาชิกในชุมชนการเรยี นรูทางวชิ าชีพทุกคนวางเปาหมายรว มกัน 7. ผลทเ่ี กิดจากการดำเนนิ งาน 7.1 ไดน วัตกรรมในการแกไ ขปญ หา 7.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีข้ึน หรอื เปน ไปตามเกณฑท ี่ตกลงกนั ไว 7.3 พฤติกรรมของนักเรยี นที่มปี ญ หาเปล่ยี นไปในทางท่ีดีข้ึนตามขอตกลงทต่ี ง้ั ไว 7.4 นำไปสูการอบรมคปู องพัฒนาครแู ละรวบรวมสง เพื่อเกบ็ เปน หลักฐานในการรายงานตอไป 8. รอ งรอย/หลกั ฐาน 8.1 แผนการจัดการเรยี นรู พรอมบันทึกหลงั การสอน 8.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชกิ กลุม PLC 8.3 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน

9. บทเรยี นทีไ่ ดจ ากการดำเนินงาน ครผู ูส อนไดเลง็ เหน็ ถงึ ปญหาในชวงสถานการณโควดิ 19 และพฤติกรรมของนักเรยี นท่ีแตกตา งกันใน แตล ะบคุ คล รวมไปถงึ เรยี นรูทจี่ ะหาแนวทางในการแกปญหาในสถานการณท่ีแตกตา งกันผานการอภิปราย รวมกนั กบั เพอ่ื นครูและนักเรียน ชมุ ชนการเรียนรวู ชิ าชพี (Professional Learning Community) เปน กระบวนการทีม่ ปี ระโยชนแ ละคุมคา สะทอนผลเชงิ วชิ าชพี โดยการพูดคยุ สนทนากนั ระหวางสมาชกิ ในชุมชน การเรียนรทู จี่ ะกอใหเกิดผลทางบวกตอการเรยี นการสอนและคณุ ภาพการจดั การศึกษาในสถานศึกษา หรือ ชวยพัฒนาการจัดการเรียนรแู ละ สง ผลใหนักเรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงข้นึ 10. สงิ่ ทจ่ี ะดำเนนิ การตอไป การจัดการเรยี นการสอนออนไลนม าใชใ นการแกไขปญหา และเพ่ิมศักยภาพในการจัดการเรยี นการ สอน เพื่ออำนวยความสะดวกใหผ สู อนสามารถจัดเตรียมการสอนดวยสอ่ื การเรยี นรูทห่ี ลากหลาย นา สนใจ โดย พัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนเปน แบบออนไลน ใชสื่อการเรียนออนไลน เชน Google classroom แอพพลเิ คชนั่ ตา งๆ มาชวยเพ่ิมเติมจากการเรียนในหอ งเรยี นปกติ ทำใหผูเรียนสามารถอา น ทบทวนเนอ้ื หายอนหลงั ไดและยังเปด โอกาสใหผเู รียนเขา ถึงแหลง เรยี นรูไ ดทุกที่ทกุ เวลา จงึ ตอ งการเผยแพร เทคนิคในการดแู ลและบรหิ ารช้นั เรยี นใหกับเพื่อนครใู นช้นั เรียนอนื่ ๆ และผทู ่ีสนใจตอไป 11. ปญหา /อุปสรรค ปการศึกษา 2564 จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019(COVID -19) จำเปน ตอ งมีการเวน ระยะหา งทางสงั คม จึงทำใหการรวมกลุมนนั้ ยากยิง่ ข้นึ 12. ขอเสนอแนะ พฒั นาการใช Google Classroom ในการจัดการเรียนการสอนสถานการณโ ควิด-19 ในการติดตอ แลกเปล่ยี นประสบการณร ะหวางครทู ท่ี ำงานรว มกนั เชน กลุม Line หรอื Facebook และควรมีการวจิ ยั เพ่อื หารูปแบบของบทเรยี นออนไลนท เ่ี หมาะสมกับการเรียน การสอนในระดบั ชัน้ ตา ง ๆ เพ่ือรองรบั การเรียนการ สอน เพราะผเู รียนแตละชว งวัยมดี า นความรแู ละทักษะทแี่ ตกตา งกัน

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวัดบางหญา แพรก ชอื่ กลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ครง้ั ท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 วนั /เดอื น/ป : 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิน้ 2 ชัว่ โมง กิจกรรมครัง้ น้ีอยคู วามสอดคลองกับการพฒั นาบทเรียนรว มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ลงในชอง )  ข้ันท่ี 1 วิเคราะหและวางแผนการจัดการเรียนรู (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ขารว มกิจกรรม 7 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทตอ กิจกรรม ดังนี้ ชื่อ-สกุล บทบาทหนาที่ ลายมอื ชื่อ 1. นางสาวรุงทวิ า หอมทอง หวั หนาชวงชนั้ มัธยมศึกษา 2. นางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ผูบันทกึ รายงานการประชมุ /ครผู สู อน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู ว มเรยี นรู 4. นางสาวรัตนีย บญุ ชวย ครูรว มเรยี นรู 5. นายอดุลย ชยั คำภา ครูรวมเรียนรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจนั ทกึ ครรู ว มเรยี นรู 7 นางสาวชุติมา แลศิลา ครูรวมเรยี นรู 1. งาน/กิจกรรม ประชุมช้ีแจง วางแผนการขบั เคล่อื นการดำเนินงาน plc 2. ประเดน็ ปญหา/ส่ิงทต่ี องการพฒั นา จดั ตงั้ กลมุ PLC จัดทำปฏทิ ินการดำเนินการงาน สมาชิกพูดคยุ ในเรื่องของระเบียบการจัดต้งั ชุมชนการ เรยี นรวู ิชาชีพและแบงหนาที่ใหค รูแตละทานชว ยกนั ดำเนนิ การเพ่ือนำเสนอ ขออนมุ ตั ิจัดต้งั กลมุ กับฝายบริหาร ของโรงเรยี นวดั บางหญา แพรกตอไป

3. สมาชิกในกลุมนำเสนอปญหา ครูรุงทิวา ชีแ้ จงแนวทางรูปแบบการประชมุ การนดั หมาย เนือ่ งจากปการศึกษา2564 เกิดการแพร ระบาดของเชือ้ โควดิ 19 ทางกระทรวงศกึ ษาธิการและเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครมีประกาศ หยุดเรยี นเพื่อลดการแพรระบาดของเชอื้ โรคโควิด 19 ทำใหโรงเรียนไมส ามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ไดอ ยา งปกติ ซง่ึ คณะครตู องมาทำหนา ท่ที ่ีโรงเรียนและออนไลนเปนชว ง จึงเปนการมารวมประชมุ เพื่อ ปรกึ ษาหารือเรอื่ งการจัดตง้ั กลุมของป 2564  ครสู กุ ัญญา เพม่ิ เตมิ เรื่องการจัดตัง้ กลมุ เหน็ ควรรวมกลุมเพ่ือชว นกันแกป ญ หา และเพิ่มเติม ความรูในครูและนกั เรยี นไปพรอ มๆกนั เน่อื งจากการจดั การเรยี นรูอยใู นรูปแบบออนไลนเปนสวนใหญ ซึ่งครูสุ กัญญา อาสาแลกเปลีย่ นเรียนรเู นอ่ื งจากพอมีความรเู ร่ืองใชส ือ่ ออนไลนพ อสมควร  ครูบญุ อนันต ในสถานการณก ารจัดการเรียนการสอนรปู แบบนค้ี รูบุญอนนั ตไ มค อยถนัด จึงขอให ครูทานอน่ื ชวยแนะนำ  ครชู ุติมา เนอ่ื งจากสถานการณใ นชวงนีก้ ารจดั การเรียนการสอนออนไลนใ หเ นน เนื้อหาทจ่ี ำเปน และการจัดการเรยี นการสอนใหร ะยะเวลาสน้ั ๆเพอ่ื ลดความเครียสของนักเรยี น เพราะนักเรยี นตองเรยี นทุก รายวิชาจอ งหนาจอส่อื เทคโนโลยีนานๆอาจทำใหมผี ลกระทบตอสขุ ภาพนนั้ เรยี นดวย  ครอู ดุลย จากการแบงกลุมจัดตั้งกลมุ เอกสาร จะบันทึกขอ ความเสนอหลงั การประชุมครั้งน้ี และ แตงต้งั คำสง่ั เพ่ือการจัดตง้ั กลุม ขอเวลาชวงหลังจากการสอนออนไลนมารวมแลกเปล่ียนเรยี นรูห รอื ออนไลนก ัน ในการปญ หา  ครรู ัตนยี  สามาชกิ ผูรวมเรยี นรทู ีบ่ า นไกล ที่ไมส ามารถมาไดในการเดินทางท่ีไมส ะดวก เพอ่ื ลด ระยะเวลา เสนอ ครึง่ วันบายของทุกวนั พฤหัสบดี เพราะมีการนัดประชุมวชิ าการ จงึ ทำใหก ารเดนิ ทางออก จากบา นในคร้ังเดยี วเพ่ือความปลอดภัยในสถานการณ ครรู งุ ทวิ า หัวหนาระดับช้ัน สรุป การจดั ตัง้ กลุม plc ในปการศึกษา 2564 ในเนนการจดั การเรียนการ สอนรูปแบบออนไลนเ ปน หลกั และนำเสนอใหครผู ูสอนหลักคอื นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ซึ่งมคี วามถนัดเรือ่ ง เทคโนโลยี ในการจดั ทำบันทึกขอความ และประกาศมอบหมายใหครผู สู อนหลักไดจดั ทำพรอ มบันทกึ การ ประชมุ แลกเปลีย่ น ในการประชุมเราจะนดั หมายในทุกวนั พฤหัสบดี หรอื อาจมีการเปลี่ยนแปลงใดทางกลุม จะแจง ใหทราบโดยทว่ั กัน 4. สมาชิกเลือกปญ หาท่ีจะนำมาแกไขรว มกนั จำนวน 1 ปญหา - 5. สมาชิกรว มกันวิเคราะหสาเหตุของปญหา – 6. ผลทีไ่ ดจ ากการจดั กิจกรรม ผรู วมประชุมไดรับมอบหมายใหค รูรวมเรียนรแู ตละคนคดิ แนวทางแกไขปญหา 1 เรื่องจากประเด็น ตอ ไปนป้ี ญหาการเรยี นรูของนกั เรียนหรือครูคนละ 1 เร่ือง หรอื เทคนคิ วธิ กี ารสอนที่ครูควรพัฒนาจำนวน 1 เรอื่ ง เพ่ือนำมาวิเคราะหปญหาและคดั เลือกปญหาในการประชมุ คร้ังตอไป และจัดทำกิจกรรมการสรางชมุ ชน

การเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) ไปศกึ ษาแนวทางการแกไขปญหาจากงานวจิ ัย หรอื รูปแบบที่มีผพู ัฒนาแลว เพ่ือ นำมารวม ประชมุ ครั้งตอไ และนำผลการประชุมไปบนั ทกึ เพือ่ เกบ็ เปน หลักฐานในการรายงานตอ ไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชือ่ .......................................................... ผบู นั ทกึ ( นางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ) ลงช่ือ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณัฐกาญจน นุชประเสริฐ) ผูอำนวยการโรงเรยี นวัดบางหญาแพรก

ภาพการจดั กิจกรรม PLC ของกลมุ “มัธยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ขนั้ ท่ี 1 ประชุมชีแ้ จง วางแผนการขับเคล่ือนการดำเนนิ งาน plc โดยดำเนนิ การในวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหงการเรียนรทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวัดบางหญาแพรก ชอื่ กลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พฒั นาเด็กไทย” ครั้งที่ 2 ปการศึกษา 2564 วนั /เดือน/ป : 2 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ ส้นิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมครัง้ น้ีอยคู วามสอดคลอ งกับการพฒั นาบทเรียนรว มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ลงในชอ ง )  ขน้ั ที่ 1 วิเคราะหแ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู (Analyze & Plan)  ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรียนรู (Do & See) ขั้นท่ี 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่เี ขา รวมกจิ กรรม 7 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอกิจกรรม ดงั นี้ ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา ท่ี ลายมือช่อื 1. นางสาวรงุ ทิวา หอมทอง หัวหนาชวงชน้ั มัธยมศกึ ษา 2. นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ผูบนั ทึกรายงานการประชุม/ครูผูสอน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู ว มเรียนรู 4. นางสาวรัตนีย บญุ ชว ย ครรู วมเรยี นรู 5. นายอดุลย ชัยคำภา ครูรว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรจี ันทึก ครูรวมเรยี นรู 7 นางสาวชตุ มิ า แลศลิ า ครูรวมเรยี นรู 1. งาน/กิจกรรม จัดทำโมเดลการขบั เคล่ือนการดำเนินงาน 2. ประเด็นปญ หา/สง่ิ ทีต่ องการพฒั นา สมาชิกรว มกันเสนอปญ หารปู แบบในการพัฒนาการจดั การเรียนการ สอนปการศึกษา 2564 จากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 3. สมาชกิ ในกลมุ นำเสนอรูปแบบโมเดล ครรู ุงทิวาสอบถามรูปแบบขั้นตอนการขับเคลื่อนจากสมาชิก ครสู ุกัญญา เสนอรูปแบบจัดทำโมเดลการขับเคลอื่ นการดำเนนิ งาน ดังนี้

รวมกลมุ PLC วิธีการ/นวตั กรรม คน หาปญหา/ความตองการรวมกลุม ออกแบบกจิ กรรมการแกปญ หา แลกเปล่ยี น/เสนอแนะ นำไปสกู ารปฏิบัติ/สังเกตสอน สะทอ นผล นวตั กรรม/Best Practices 4. ผลทไ่ี ดจ ากการจดั กจิ กรรม จากการเสนอรปู แบบแนวทางในข้นั ตอนการนำ PLC ไปสูการปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษา สมาชิกไดร ปู แบบ ข้นั ตอนการ plc เพื่อแกปญหาการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบตางและพัฒนาผลสัมฤทธขิ์ องนกั เรียน รวมทั้งการพฒั นาส่ือ / นวตั กรรมของครูผูสอน และนัดหมายประชมุ ครั้งตอไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอื่ .......................................................... ผูบันทกึ ( นางสาวสกุ ัญญา แตงเกตุ ) ลงช่ือ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสรฐิ ) ผอู ำนวยการโรงเรียนวดั บางหญาแพรก

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC ของกลุม “มัธยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ขน้ั ที่ 1 จดั ทำโมเดลการขบั เคลอ่ื นการดำเนินงาน โดยดำเนินการในวันที่ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแหงการเรยี นรูท างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวัดบางหญาแพรก ช่ือกลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พฒั นาเดก็ ไทย” ครั้งท่ี 3 ปการศึกษา 2564 วัน/เดอื น/ป : 4 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครง้ั น้ีอยูความสอดคลอ งกับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ลงในชอ ง )  ข้ันท่ี 1 วเิ คราะหและวางแผนการจัดการเรียนรู (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรยี นรู (Do & See) ขนั้ ท่ี 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เขา รว มกิจกรรม 7 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทตอ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหนา ที่ ลายมือชื่อ 1. นางสาวรุงทวิ า หอมทอง หวั หนาชว งช้นั มธั ยมศกึ ษา 2. นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ผูบนั ทกึ รายงานการประชมุ /ครผู สู อน 3. นางสาวบุญอนนั ต สวางใจ ครูรวมเรียนรู 4. นางสาวรตั นีย บญุ ชว ย ครรู ว มเรียนรู 5. นายอดุลย ชัยคำภา ครรู ว มเรียนรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจันทกึ ครรู ว มเรียนรู 7 นางสาวชุตมิ า แลศลิ า ครูรว มเรยี นรู 1. งาน/กจิ กรรม คน หาปญ หาการจัดการเรยี นการสอน 2. ประเด็นปญหา/ส่ิงท่ีตองการพัฒนา สมาชิกรวมกันเสนอปญ หารูปแบบในการพัฒนาการจดั การเรียนการ สอนปก ารศึกษา 2564 จากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 3. สมาชกิ ในกลุมนำเสนอปญหา ครรู ุงทวิ า ชแ้ี จงรูปแบบปญหาท่จี ะดำเนนิ การแกไ ข ซึ่งเปนปญหาเรง ดว นทค่ี วรนำมาแกไ ขกับ นักเรียน จึงขอใหคณุ ครเู สนอปญ หาเพอื่ เลือกปญหาเรง ดวนมาแกป ญ หาในการจัดการเรียนการสอนใหมีแนว ทางการพฒั นาไดด ที ่ีสดุ

 ครสู ุกญั ญา การใชส อื่ ออนไลนในการจดั การเรียนการสอน เนอื่ งจากการแพรระบาดของโควดิ - 19 ซึ่งนกั เรียนสามารถเขา ถงึ ไดงา ย ครสู ามารถนำเน้ือหาความรมู าวางไวแ ละแบบทดสอบตา ง จึงเสนอใหค รู ใช Google Classroom ในการจัดการเรยี นการสอน  ครบู ญุ อนันต ในรายวชิ าวิทยาศาสตร มีเนื้อหาเยอะและครไู มม ีความสามรถจดั ทำสอื่ ได ขาด ความรูทจ่ี ะทำสือ่ ในออนไลน และขอความชว ยเหลอื จากครสู ุกญั ญา ท่มี คี วามรเู รอ่ื งคอมพิวเตอรในการชว ย สอนการใชส ือ่ ออนไลน  ครูชุติมา เสนอเรือ่ ง วิชาภาษาไทยเปน วิชาท่ีใชเนอื้ หา นกั เรยี นไมสามารถเขา มาเรียนพรอ มกัน และเรยี นรูพรอมๆกันได จงึ เสนอทางแกใ นชวงสถานการณแพรร ะบาดโควดิ 19 ใหใชส ื่อการจัดการเรยี นการ สอนรปู แบบออนไลนที่งาย และนักเรียนสามารถทบทวนไดตลอดเวลา  ครอู ดลุ ย เสนอเพ่ิมเติม ครตู อ งมคี วามรูกอ นจงึ จะสามารถสรางรูปแบบเน้ือหาและส่ือตางให นกั เรยี นไดเขาไปเรียนได โดยวิชาสงั คม สามารถนำสือ่ วีดโี อจากชองทางตางๆ  ครรู ตั นีย เสนอเพมิ่ เติม เนอ่ื งจากมนี ักเรยี นบางสว นทไี่ มส ามารถเขา เรียนพรอมเพื่อนๆได เน่ืองจาก พอโรงเรียนหยุดเรียน นักเรียนตองติดตามผปู กครองไปทำงานนอกบาน จงึ หาสือ่ ท่ที บทวน บทเรยี นและสามารถขยายเวลางานในการสง ไดใหน านข้ึน เรียนแลวประเมนิ ทนั ที 4. สมาชิกเลอื กปญ หา ที่จะนำมาแกไขรว มกัน จำนวน 1 ปญหา ผลจากปญหาการจดั การเรยี นการสอน ชว งสถานการโควดิ 19 โรงเรยี นไมสามารถจดั การเรียนการ สอนในหองเรียนไดต ามปกติ จึงรวมกันเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทน่ี ักเรยี นสามารถเขา ถึงไดง า ย และสะดวก สามารถเรียนรุไ ดต ลอดเวลา จงึ เสนอการใช Google Classroom ในการจัดการเรยี นการสอน สถานการณโ ควิด-19 และเลอื ก ครูสุกัญญา แตงเกตุ เปน Model Teacher เนอ่ื งจากมคี วามรเู ร่อื งการ จดั การเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน การสรางสอ่ื และการใช Google Classroom 5. สมาชกิ รวมกันวเิ คราะหส าเหตขุ องปญ หา ครสู กุ ัญญา แตงเกตุ เปน Model Teacher นำเสนอปญหาเกดิ การแพรร ะบาดของโรคตดิ ตอทำให การเรียนการสอนในหองเรยี นหยุดชะงัก ครูและนักเรียนตองเรียนแบบออนไลนอยูกบั บานของนักเรยี นเอง จึงทำใหก ารเรยี นการสอนไมสามารถดำเนนิ ไดอยางครบถว น กลมุ มธั ยมศึกษาจึงเหน็ วา การใชสื่อออนไลน เพื่อการเรยี นการสอนในชว งสถานการณโ ควดิ 19 นั้น สะดวกและงา ยตอการเรยี นรูของนักเรียนโรงเรียนวดั บางหญา แพรกเปนอยางมาก จงึ ไดสรุปการการพัฒนาหองเรยี นที่สามารถเรียนรูไดตลอดเวลาและตอเน่ืองเปน ทมี าของการจดั การเรียนการสอนออนไลนโดยใชห องเรียน classroom สถานการณโควิด-19

6. ผลท่ีไดจ ากการจดั กจิ กรรม จากการประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรเู พือ่ แกปญ หาการจดั การเรียนการสอนในชวงแพรระบาด ครู มธั ยมศกึ ษาตอนตน ไดส รปุ ผลการแกป ญหาในการจดั การเรียนรโู ดย เลอื กปญหาจัดการเรยี นการสอนรูปแบบ ออนไลน การสรางสือ่ และการใช Google Classroom เพือ่ นำไปเรยี นรแู ละศึกษาเพ่มิ เติมในการประชุมplc ครงั้ ตอ ไป โดยครสู กุ ัญญาเปนผูน ำเสนอการจัดการเรียนการสอนรปู แบบออนไลนในกบั ครูมธั ยม เนอ่ื งจากสถานการณโควิดนักเรยี นไมเรียนในรูปแบบปกติ จึงนัดหมายการประชมุ คร้งั ตอ ไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผูบนั ทกึ ( นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ) ลงชือ่ ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสริฐ) ผอู ำนวยการโรงเรียนวดั บางหญาแพรก

ภาพการจัดกิจกรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเด็กไทย” ขั้นท่ี 1 คนหาปญ หาการจดั การเรยี นการสอน โดยดำเนินการในวันที่ 4 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง การเรียนรูทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวัดบางหญา แพรก ชอื่ กลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญ หา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” คร้ังท่ี 4 ปก ารศึกษา 2564 วนั /เดือน/ป : 8 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสนิ้ 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยคู วามสอดคลองกับการพฒั นาบทเรียนรว มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ลงในชอ ง )  ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะหและวางแผนการจดั การเรียนรู (Analyze & Plan)  ขั้นที่ 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู (Do & See) ข้นั ท่ี 3 สะทอนความคิดและปรับปรงุ ใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูทีเ่ ขารว มกจิ กรรม 7 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทตอกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา ที่ ลายมือช่อื 1. นางสาวรงุ ทิวา หอมทอง หัวหนา ชวงชัน้ มัธยมศึกษา 2. นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ผูบันทึกรายงานการประชุม/ครูผูสอน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู ว มเรียนรู 4. นางสาวรัตนีย บญุ ชว ย ครรู วมเรยี นรู 5. นายอดลุ ย ชยั คำภา ครรู ว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจันทึก ครรู วมเรียนรู 7 นางสาวชุติมา แลศิลา ครูรว มเรยี นรู 1. งาน/กจิ กรรม สรปุ ปญ หาการจดั การเรยี นการสอน 2. ประเด็นปญหา/สง่ิ ที่ตองการพฒั นา สมาชกิ รว มกันเสนอปญ หารูปแบบในการพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนปการศึกษา 2564 จากสถานการณการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 3. สมาชิกในกลุมนำเสนอปญหา  ครสู ุกญั ญา จากการประชมุ แลกเปลีย่ นเรยี นรู คร้ังท่ี 3 ไดเ สนอปญ หาการจดั การเรียนการสอน ชว งสถานการโควดิ 19 โรงเรียนไมสามารถจดั การเรียนการสอนในหอ งเรยี นไดต ามปกติ จึงรว มกนั เสนอ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนทนี่ กั เรยี นสามารถเขา ถึงไดงา ยและสะดวก สามารถเรียนรูไ ดต ลอดเวลา จงึ เสนอการใช Google Classroom ในการจัดการเรียนการสอนสถานการณโควดิ -19 และสอบถามจะจัดการ เรียนการสอนในรายวชิ าใดบาง

 ครูบญุ อนนั ต รายวชิ าวทิ ยาศาสตร  ครูชุตมิ า รายวิชาภาษาไทย  ครูอดลุ ย รายวิชาสงั คมศกึ ษา  ครรู ัตนยี  รายวชิ าภาองั กฤษ 4. ผลที่ไดจากการจดั กิจกรรม จากการประชมุ เพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรูเพื่อแกปญ หาการจดั การเรียนการสอนในชวงแพรระบาด ครู มัธยมศึกษาตอนตน ไดสรุปผลการแกป ญหาในการจัดการเรียนรูโ ดย เลือกปญ หาจัดการเรยี นการสอนใน รายวชิ าตางมลี ักษณะที่แตกตางกันออกไป รูปแบบออนไลน การสรางส่ือ และการใช Google Classroom เปน ทางเลอื กท่ีดี เพอ่ื นำไปเรียนรแู ละศึกษาเพม่ิ เติมในการประชมุ plc ครงั้ ตอไป โดยครสู ุกัญญาเปนผู นำเสนอการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบออนไลนในกบั ครูมัธยม จงึ นัดหมายการประชุมครัง้ ตอไป เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่ือ.......................................................... ผูบ ันทึก ( นางสาวสกุ ัญญา แตงเกตุ ) ลงชอ่ื ........................................................ผูรบั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสริฐ) ผอู ำนวยการโรงเรียนวดั บางหญาแพรก

ภาพการจัดกิจกรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเด็กไทย” ข้นั ท่ี 1 สรปุ ปญหาการจดั การเรียนการสอน โดยดำเนินการในวนั ที่ 8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแหงการเรยี นรูท างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวดั บางหญาแพรก ชอ่ื กลุม “มัธยมรวมใจ ใสใจปญหา PLC นำพา พฒั นาเดก็ ไทย” ครง้ั ที่ 5 ปการศึกษา 2564 วัน/เดือน/ป : 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสนิ้ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมครัง้ นี้อยคู วามสอดคลอ งกับการพัฒนาบทเรียนรว มกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ลงในชอง )  ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะหและวางแผนการจัดการเรยี นรู (Analyze & Plan)  ขั้นที่ 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะทอนความคิดและปรับปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ขารวมกิจกรรม 7 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ กิจกรรม ดงั นี้ ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหนา ท่ี ลายมือชือ่ 1. นางสาวรุงทิวา หอมทอง หัวหนาชวงช้นั มธั ยมศกึ ษา 2. นางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ผบู นั ทกึ รายงานการประชุม/ครูผสู อน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู ว มเรียนรู 4. นางสาวรตั นีย บุญชว ย ครูรว มเรียนรู 5. นายอดลุ ย ชัยคำภา ครรู ว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรจี ันทึก ครูรวมเรยี นรู 7 นางสาวชุตมิ า แลศลิ า ครรู วมเรยี นรู 1. ชือ่ กิจกรรม รูปแบบข้ันตอนการแกไขปญ หาพัฒนาการเรียนรู 2. ประเดน็ ปญหา/ส่ิงทต่ี องการพฒั นา การใช Google Classroom ในการจดั การเรียนการสอนสถานการณโควดิ -19 3. สมาชกิ ในกลมุ นำเสนอแนวทางแกไ ขปญ หา เน่อื งจากการเรยี นการสอนในชวงสถานการณ โควิด – 19 การใชห อ งเรียน classroom เปนส่ิงท่ี สะดวกและรองรบั ความตอ งการของการจดั การเรียนไดด ีทส่ี ุด จงึ ดำเนินการใหความรแู ละพัฒนาครใู นชวงช้ัน มัธยมในการผลิตหอ งเรียนหอ งเรยี น classroom  ครสู ุกญั ญา นำเสนอรปู แบบการใช หองเรียน Google Classroom แกเ พ่อื นสมาชิกทุกทาน เพ่อื ใหเห็นแนวทางรปู แบบการทำงาน เพื่อใหค รูไดเ ตรยี มขอมูลในการสรา งหอ งเรียนโดยการวางแผนดงั น้ี

1. เรียนรูขน้ั ตอนการใชง าน หอ งเรยี น classroom 2. สรา งหองเรียนของครแู ตละรายวชิ า 3. จัดการเรียนการสอนดวยหองเรยี น classroom กับนักเรียน 4 สรปุ ผลการจัดการเรียนการสอนหนา เดยี ว  ครูบญุ อนันต สอบถามเพ่ิมเตมิ การใชงาน Google Classroom และการลงเน้อื หา และสอื่ ตา ง โดยวิธแี ละขั้นตอนการใชงานของนักเรียนตอ งเตรียมอะไรบา ง โดยครสู ุกญั ญาไดเ พ่ิมเตมิ ขอ มูลทนี่ กั เรยี นตอ ง เตรียม 1.อปุ กรณท ่สี ามารถใชi nternetทุกชนดิ 2. นักเรียนตองมี mail เพื่อเขาใช Google Classroom  ครเู สาวนี เสนอรปู แบบส่อื ที่สามารถนำมาใชรว มกับ Google Classroom เชน วิดโี อจากสื่อ YouTube สามารถโหลดออกมาใชง านในการจัดเปนส่ือการเรยี นการสอนไดอีกทางหนึ่งและนำลงไปไวใ น Google Classroom เพือ่ ใหนกั เรียนไดเขา มาเรียนรูไดสะดวกมากยิ่งขึ้น  ครอู ดุลย เสนอเพ่มิ เตมิ เรื่องการใชแบบทดสอบ ท่ใี ชgoogle forms ในการออกแบบทดสอบ ใหแ กน กั เรียนเขา ไปทำไดและสามารถตรวจผลคะแนนไดท ันที ซ่ึงสามารถนำไปใชรวมกับ Google Classroom ไดเ ปนอยางดี 4. สมาชกิ รวมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไขปญหา ลำดบั ข้นั ตอนการติดตาม จากแนวทางการแกป ญหาโดยสมาชกิ เสนอแนวทางการแกไข แบบเปน ลำดบั ข้นั ตอน ดงั นี้ 1. ออกแบบแผนการจดั การเรียนรู (ปรบั เปลี่ยนเนนเนื้อหาที่สำคญั ในการจดั การเรยี นการสอนชว ง สถานการณโควดิ 19) 2. เรียนรูขนั้ ตอนการใชงาน หอ งเรียน classroom 3. สรางหองเรียนของครูแตล ะรายวิชา 4. จัดการเรยี นการสอนดวยหองเรยี น classroom กบั นกั เรยี น 5 สรุปผลการจัดการเรียนการสอน 5. ประเด็น/ ความรแู ละขอเสนอแนะทไ่ี ดรบั จากการแลกเปล่ยี นเรียนรูครง้ั น้ี สมาชกิ ไดรวมกันนำเสนอ เพมิ่ เติมรปู แบบทีจ่ ะทำใหการจดั การเรียนการสอนในชว งสถานการณโื ควดิ 19 ผา นพน ไปใหไดมากทสี่ ุด และนักเรยี นสามารถไดเ รยี นอยา งทว่ั ถึง สะดวกงา ยสามรถเพ่ิมเตมิ ความรูได อยา งไมจำกดั แตส งิ่ ท่ีครูสุกัญญาไดนำเสนอเพมิ่ เตมิ จากการแลกเปลย่ี นของการใชง าน Google classroom คือความนา สนใจรว มถึงความรว มมือของนักเรยี นดวย เพราะนกั เรยี นจะขาดความรบั ผดิ ชอบในการจดั การ เรียนการสอยรปู แบบออนไลนเ ปน อยา งมาก ครูทุกทา นจึงควรแจง ผูปกครองหรือนักเรียนใหด งึ ความใสใ จใน การเรยี นในสถานการณช ว งนี้ไปใหไ ด

6. ผลท่ไี ดจากการจดั กจิ กรรม สมาชกิ ไดวางแผนรูปแบบการจัดการเรยี นออนไลน โดยใช google classroom เปน หอ งเรยี นหลัก ในการจดั การเรยี นการสอน และครูสุกญั ญาไดมอบหมายรูปแบบการวางแผนใหครทู กุ วิชาไปเตรยี มเนื้อแบบ สรปุ นกั เรียนเขาใจงา ย พรอมทง้ั ศึกษาแนวทางการแกไขปญหาจากงานวิจัย หรือรูปแบบ ทีม่ ีผพู ฒั นาแลว เพอื่ นำมารวมประชมุ ครั้งตอไป และนำผลการประชุมไปบันทึก เพื่อเกบ็ เปน หลกั ฐานในการรายงานตอไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ.......................................................... ผบู นั ทึก ( นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ) ลงชื่อ........................................................ผรู ับรอง ( นางสาวณัฐกาญจน นชุ ประเสรฐิ ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญาแพรก

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใจปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ข้นั ท่ี 1 รูปแบบขน้ั ตอนการแกไ ขปญหาพฒั นาการเรยี นรู โดยดำเนนิ การในวันท่ี 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง การเรียนรูทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวัดบางหญาแพรก ชอื่ กลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใ จปญ หา PLC นำพา พฒั นาเดก็ ไทย” ครัง้ ที่ 6 ปก ารศกึ ษา 2564 วัน/เดือน/ป : 11 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิน้ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครง้ั นีอ้ ยคู วามสอดคลองกับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ลงในชอง )  ขัน้ ท่ี 1 วิเคราะหและวางแผนการจดั การเรยี นรู (Analyze & Plan)  ขัน้ ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู (Do & See) ขั้นที่ 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ขา รวมกิจกรรม 7 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทตอกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนาท่ี ลายมือชือ่ 1. นางสาวรงุ ทวิ า หอมทอง หวั หนาชว งชนั้ มัธยมศกึ ษา 2. นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ผบู ันทกึ รายงานการประชมุ /ครูผูสอน 3. นางสาวบญุ อนนั ต สวางใจ ครรู วมเรยี นรู 4. นางสาวรตั นยี  บุญชวย ครรู ว มเรยี นรู 5. นายอดุลย ชัยคำภา ครูรว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจันทกึ ครรู วมเรยี นรู 7 นางสาวชตุ มิ า แลศิลา ครรู ว มเรยี นรู 1. ช่อื กิจกรรม การนำเสนอรูปแบบนวตั กรรมในการแกปญ หา 2. ประเด็นปญ หา/ส่งิ ที่ตองการพฒั นา การใช Google Classroom ในการจดั การเรียนการสอนสถานการณโ ควดิ -19 3. สมาชิกในกลุม นำเสนอแนวทางแกไ ขปญหา รวมศึกษาปญหา แนวทางแกไขปญหา หรอื กระบวนการทจี่ ะใชในการแกไขปญหาดังนี้ ครุสุกัญญญา นำเสนอ Classroom เปนบริการสำหรับ Google Apps for Education ซ่ึง เปนชุดเครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพ ไดรับการออกแบบมาเพื่อชวยใหผูสอนสามารถสรางและเก็บงานไดโดยไม ตองสิ้นเปลอื ง กระดาษ มีคุณลักษณะที่ชวยประหยดั เวลา เชน สามารถทำสำเนาของ Google เอกสารสำหรับ ผูเรียนแตละ คนไดโดยอัตโนมัติ โดยระบบจะสรางโฟลเดอรของไดรสำหรับแตละงานและผูเรียนแตละคนเพื่อ

ชวยจัด ระเบียบใหผูเรียนสามารถติดตามวามีอะไรครบกำหนดบางในหนางาน และเริ่มทำงานไดดวยการคลิก เพยี ง คร้งั เดียว ผสู อนสามารถดไู ดอ ยางรวดเรว็ วาใครทำงานเสรจ็ หรอื ไมเ สรจ็ บาง ตลอดจนสามารถแสดงความ คิดเห็นและใหค ะแนนโดยตรงไดแ บบเรียลไทมใ น Google Classroom ประโยชนข องการใชงาน Google Classroom 1. ต้งั คาไดงายดาย ผูสอนสามารถเพ่ิมผูเ รยี นไดโดยตรง หรอื แชรร หัสเพื่อใหผเู รียนเขา ชั้นเรยี นได การ ต้งั คาใชเ วลาเพียงครูเ ดียว 2. ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรียบงาย ไมส ิ้นเปลืองกระดาษ ทำใหผ สู อนสรา ง ตรวจ และ ให คะแนนงานไดอ ยางรวดเร็วในที่เดี่ยวกนั 3. ชวยจัดระเบียบ ผูเรียนสามารถดูงานทั้งหมดของตนเองไดในหนางาน และเนื้อหาสำหรับชั้นเรียน ทงั้ หมดจะถกู จัดเก็บในโฟลเดอรภายใน Google ไดรฟโดยอัตโนมัติ 4. สื่อสารกันไดดียิ่งขึ้น Classroom ทำใหผูสอนสามารถสงประกาศและเริ่มการพูดคุยในชั้นเรียนได ทนั ที ผเู รียนสามารถแชรแหลงขอ มลู กนั หรือตอบคาถามในสตรีมได 5. ประหยัดและปลอดภัย เชนเดียวกับบริการอื่นๆ ของ Google Apps for Education คือ Classroom จะไมแสดงโฆษณา ไมใชเนื้อหาหรือขอมูลของผูเรียนในการโฆษณา และใหบริการฟรีสำหรับ มหาวทิ ยาลยั 4. สมาชิกรวมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไ ขปญ หา ออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบตางๆ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช Classroom เปนวิธีการสอนรูปแบบหนึ่งโดยที่ครูผูสอนสามารถเปนผูสรางเกมขึ้น เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตาม วัตถปุ ระสงคท กี่ ำหนด สำหรับการใชงาน Google Classroom ในบทบาทของผสู อนนั้นสามารถทำไดด ังนี้ 1. สรา งชนั้ เรียนออนไลนส าหรบั รายวิชานัน้ ๆ ได 2. เพ่มิ รายชอ่ื ผูเรียนจากบัญชขี อง Google เขามาอยใู นชนั้ เรยี นได 3. สามารถก าหนดรหัสผา นใหผูเ รียนน าไปใชเพ่อื เขาชัน้ เรียนเองได 4. สามารถตัง้ โจทย มอบหมายการบานใหผูเรียนทำ โดยสามารถแนบไฟลและกำหนดวันที่สงการบาน ได 5. ผูเรียนเขามาทำการบานใน Google Docs และสงเขา Google Drive ของผูสอน โดยจะจัดเก็บ ไฟลง านใหอยา งเปน ระบบภายใต Folder “Classroom” 6. สามารถเขามาดจู ำนวนผูเรียนที่สงการบา นภายในกำหนดและยังไมไ ดส งได 7. ตรวจการบา นของผเู รยี นแตล ะคน พรอ มทัง้ ใหคะแนนและคำแนะนำได 8. สามารถเชญิ ผสู อนทา นอนื่ เขา รว มในชน้ั เรียนเพอื่ รวมกันจัดการเรียนการสอนได 9. ปรับแตงรูปแบบของชน้ั เรียนตามธมี หรือจากภาพสวนตวั ได 10.สามารถใชงานบนมือถือ ท้ังระบบปฏิบัติการ Android และ iOS ได

5. ประเด็น/ ความรูและขอ เสนอแนะทไี่ ดร ับจากการแลกเปลีย่ นเรยี นรคู รัง้ น้ี จากการประชมุ ข้นั ตอกความรกู ารใชงาน ครเู ขาใจวธิ ีการเขาถงึ เบื้องตนและทดลองนำไปสมัครเขา ใช งานและปรับใหเขา กับวิชาของตนเอง เพ่ือนำมาประชมุ แลกเปลี่ยนในครั้งถัดไป เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่อื .......................................................... ผูบนั ทกึ ( นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ) ลงชือ่ ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณัฐกาญจน นชุ ประเสรฐิ ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญาแพรก

ภาพการจัดกจิ กรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใจปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ขนั้ ที่ 1 การนำเสนอรปู แบบนวัตกรรมในการแกปญ หา โดยดำเนินการในวันที่ 11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวดั บางหญาแพรก ชอ่ื กลุม “มธั ยมรว มใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” คร้งั ท่ี 7 ปก ารศึกษา 2564 วนั /เดือน/ป : 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เร่ิมดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมคร้ังน้อี ยูความสอดคลองกับการพฒั นาบทเรียนรวมกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ลงในชอง )  ข้ันท่ี 1 วิเคราะหและวางแผนการจดั การเรียนรู (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะทอนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เขา รว มกจิ กรรม 7 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทตอกิจกรรม ดงั น้ี ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหนา ที่ ลายมือชือ่ 1. นางสาวรุง ทวิ า หอมทอง หวั หนา ชวงชัน้ มัธยมศกึ ษา 2. นางสาวสกุ ัญญา แตงเกตุ ผบู ันทึกรายงานการประชุม/ครูผูสอน 3. นางสาวบุญอนันต สวางใจ ครูรว มเรยี นรู 4. นางสาวรตั นีย บญุ ชว ย ครรู วมเรยี นรู 5. นายอดุลย ชัยคำภา ครรู ว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจนั ทกึ ครรู ว มเรียนรู 7 นางสาวชุตมิ า แลศลิ า ครรู ว มเรียนรู 1. ช่อื กิจกรรม การนำสูการวางแผนปฏบิ ตั ิและการแลกเปล่ียนเรยี นรู 2. ประเด็นปญ หา/สงิ่ ท่ีตองการพฒั นา การใช Google Classroom ในการจัดการเรยี นการสอนสถานการณโ ควิด-19 3. สมาชกิ ในกลุม นำเสนอแนวทางแกไ ขปญ หา สมาชกิ ในกลุมรว มกนั จัดทำแผนกิจกรรม จากการประชมุ กลุมในกิจกรรม PLC ในสัปดาหท ่ีผานมาไดหวั ขอการพัฒนานักเรยี น คือการใช Google Classroom ในการจัดการเรยี นการสอนสถานการณโ ควดิ -19 เพื่อพัฒนาการจัดการของครูสุกัญญาจึง ไดมีการวางแผนงาน เพื่อจดั ทำแผนกจิ กรรม ดงั นี้ 1) ศึกษารูปแบบข้ันตอนการใชงาน Google Classroom เพื่อนำมาใชกบั รายวิชาตา งๆ

2) วางแผนผังการจัดการเรยี นรเู กี่ยวกับเนอ้ื เรอ่ื งทีจ่ ะสอน โดยตอ งหาความรูที่เช่อื มโยงกับ เนอ้ื เรอ่ื งในการกำหนดแผนการจดั การเรยี นรู โดยเนน ออกแบบกจิ กรรมการสอนแบบบรู ณาการรายวชิ า สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม 3) ออกแบบแผนการจัดการเรียนรูท ี่เหมาะสม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูอยางรดั กมุ ให รายละเอียดการจดั กจิ กรรมที่ชัดเจน 4) สอบถามความตองการในการเรยี น เพ่อื สำรวจความตองการของผูเรยี นไวเ ปนแนวทางใน การออกแบบการจดั การเรยี นรูใหสอดคลอ งระหวางหลกั สูตรและความตองการของนกั เรียน สมาชกิ ผรู วมเรียนรู เสนอความคิดเห็นเพม่ิ เติม  ครรู งุ ทิวา ในการสรางหองเรียน รปู แบบตอ งนา สนใจควรเพ่มิ ลักษระของปก หรือหัวขอ เพื่อ หอ งเรียนจะไดน าสนใจมากย่ิงข้นึ เพิ่มความหลากหลายใหนักเรียน และมีปญหาในการจัดทำแบบทดสอบจึงขอ เรียนรูเพม่ิ เตมิ จากครสู ุกญั ญา  ครชู ุตมิ า วิชาภาษาไทยสวนมาเนนเน้ือหา การใชห องเรียนนีด้ ี ตรวจสอบงา ย และกำลังพัฒนา รปู แบบของการสรา งเน้ือเรื่องนอกจากขอความ ไดทดลองนำรูปภาพและเสียงมาชวนในการจดั การเรยี นการ สอน  ครูอดลุ ย จากการใชหองเรียน Google Classroom นกั เรียนสามารถเขาถึงบทเรยี นไดส ะดวก และลดเวลาในการตรวจงานนักเรียน การนำวีดโี อท่ีเสริมเขาไปนกั เรียนสนใจมากยง่ิ ขน้ึ สามารถเขาใจ บทเรียนงา ยๆมากขึ้น  ครรู ตั นยี  เสนอเพิ่มเติม จากการสรางหองเรยี นนกั เรยี นสามารถเขา เรียนรูไดอยา งตอเน่อื ง มีการ ประกาศกำหนดการเรียนรูต า งๆ นกั เรียนใหค วามสนใจในการเรยี นรเู ปนอยา งมาก และไดเพ่ิมเติมรปู แบบ เกมสเ ลก็ ๆ จากคำแนะนำของครูสกุ ญั ญา เพอ่ื ละความนาเบือ่ ของเน้ือหาไดเ ปนอยา งดี 4. ประเด็น/ ความรแู ละขอเสนอแนะทไ่ี ดร ับจากการแลกเปลยี่ นเรียนรูครั้งน้ี การวางแผนรปู แบบเพอ่ื พัฒนากกระบวนการจกั ดการเรียนการสอนข้นั ตอนการใชงาน Google Classroom เพ่อื ใหส มาชิกกลุมออกแบบวางแผน เนื้อหาและรปู แบบ ในการสรางหอ งเรยี น และศึกษา ขอมลู เพิ่มเติมในการจดั กจิ กรรมใหเหมาะสมกับรายวิชา

5. ผลที่ไดจ ากการจัดกิจกรรม สมาชิกไดทราบถงึ ขั้นตอนในการเขาถงึ หอ งเรียนแลว นำเนอื้ หาเขาสูหองเรียนเผยแพรสนู ักเรยี นตอ ไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผบู ันทกึ ( นางสาวสกุ ญั ญา แตงเกตุ ) ลงชื่อ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสริฐ) ผูอำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญา แพรก

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ขน้ั ท่ี 2 การนำสูการวางแผนปฏบิ ตั ิและการแลกเปล่ียนเรียนรู โดยดำเนนิ การในวันที่ 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนวัดบางหญาแพรก ชือ่ กลุม “มัธยมรว มใจ ใสใจปญ หา PLC นำพา พัฒนาเด็กไทย” ครงั้ ที่ 8 ปการศึกษา 2564 วนั /เดือน/ป : 17 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 3 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้งั นีอ้ ยคู วามสอดคลองกับการพฒั นาบทเรียนรว มกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ลงในชอ ง )  ขัน้ ท่ี 1 วิเคราะหแ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะทอนความคิดและปรบั ปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เขา รวมกิจกรรม 7 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทตอกิจกรรม ดงั น้ี ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหนาที่ ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรงุ ทวิ า หอมทอง หัวหนา ชวงช้ันมัธยมศึกษา 2. นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ผูบ นั ทึกรายงานการประชุม/ครูผสู อน 3. นางสาวบญุ อนันต สวา งใจ ครูรวมเรียนรู 4. นางสาวรัตนีย บุญชวย ครรู วมเรียนรู 5. นายอดุลย ชยั คำภา ครรู วมเรียนรู 6. นางสาวเสาวนี ศรจี ันทกึ ครูรว มเรยี นรู 7 นางสาวชตุ มิ า แลศิลา ครูรว มเรยี นรู 1. ชอื่ กิจกรรม การนำสูการวางแผนปฏบิ ตั แิ ละการแลกเปลย่ี นเรียนรู 2. ประเด็นปญหา/สงิ่ ทต่ี องการพฒั นา การใช Google Classroom ในการจดั การเรยี นการสอนสถานการณโ ควดิ -19 3. สมาชิกในกลมุ นำเสนอแนวทางแกไขปญหา ครสู ุกญั ญา นำเสนอรปู แบบของนวัตกรรมเปนตัวอยา ง จากการอบรมเรยี นรูของเขตพ้ืนทจ่ี งั หวดั สมทุ รสาคร อธบิ ายรูปแบบการใชง านพรอมยกตวั อยา งใหแกสมาชิก

สมาชิกผูรวมเรียนรู เสนอความคิดเห็นเพ่ิมเติม  ครรู งุ ทวิ า เปน การเรยี นรทู ่สี ะดวกงายสำหรบั นักเรยี น และมกี ิจกรรมท่ีนาสนใจ  ครชู ุติมา สอบถามเรื่องการแทรกรูป สรางแบรน เนอรข องปก ครูสุกัญญาจึงนำเสนอการใช โปรแกรมงา ยๆ เชน powerpoint ในการสราง  ครรู ตั นยี  นำเสนอเร่อื งส่ือรูปแบบอน่ื ๆ เชน แบบทดสอบในการทำงานจะสามารถแทรกรูปให นกั เรียนไดไหม ครูสุกญั ญาไดเสนอเพ่ิมเตมิ ไดทง้ั หมด 4. ประเดน็ / ความรูแ ละขอ เสนอแนะท่ไี ดรับจากการแลกเปลยี่ นเรียนรูคร้ังน้ี การวางแผนรปู แบบเพื่อพฒั นากกระบวนการจกั ดการเรียนการสอนขั้นตอนการใชงาน Google Classroom เพอ่ื ใหสมาชกิ กลุมออกแบบวางแผน เน้อื หาและรปู แบบ ในการสรา งหอ งเรยี น และศึกษา ขอ มลู เพ่มิ เติมในการจัดกจิ กรรมใหเ หมาะสมกับรายวิชา 5. ผลท่ีไดจากการจดั กจิ กรรม สมาชิกไดทราบถงึ ข้ันตอนในการเขาถึงหอ งเรยี นแลวนำเนอื้ หาเขา สหู องเรยี นเผยแพรสนู ักเรียนตอ ไป เลิกประชุมเวลา 18.30 น. ลงชอื่ .......................................................... ผูบนั ทึก ( นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ) ลงช่ือ........................................................ผูรบั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นชุ ประเสริฐ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญา แพรก

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” ขน้ั ท่ี 2 การนำสูการวางแผนปฏบิ ตั ิและการแลกเปล่ียนเรียนรู โดยดำเนนิ การในวันที่ 17 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 18.30 น.

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหงการเรียนรทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวดั บางหญาแพรก ชือ่ กลุม “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญ หา PLC นำพา พฒั นาเดก็ ไทย” ครั้งท่ี 9 ปการศึกษา 2564 วนั /เดอื น/ป : 22 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสน้ิ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครั้งน้ีอยูความสอดคลองกับการพัฒนาบทเรียนรวมกนั (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ลงในชอ ง )  ข้ันที่ 1 วิเคราะหแ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู (Analyze & Plan)  ข้ันท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรียนรู (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ขารวมกิจกรรม 7 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอกิจกรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนาท่ี ลายมือช่อื 1. นางสาวรงุ ทิวา หอมทอง หัวหนา ชว งชั้นมัธยมศึกษา 2. นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ผูบนั ทกึ รายงานการประชุม/ครูผสู อน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู วมเรยี นรู 4. นางสาวรตั นีย บญุ ชวย ครรู ว มเรียนรู 5. นายอดลุ ย ชัยคำภา ครรู ว มเรียนรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจันทึก ครรู ว มเรียนรู 7 นางสาวชุติมา แลศลิ า ครูรวมเรียนรู 1. ชือ่ กจิ กรรม การนำสูการปฏบิ ัติและการแลกเปลี่ยนเรียนรู 2. ประเดน็ ปญ หา/ส่งิ ท่ตี องการพัฒนา การใช Google Classroom ในการจดั การเรยี นการสอนสถานการณโ ควิด-19 3. สมาชิกในกลุมรวมกันจดั ทำแผนกจิ กรรม สมาชกิ กลุม ไดป ระชุมแลกเปลี่ยนเรยี นรู ครั้งท่ี 8 ไดเหน็ ตัวอยา งรปู แบบและนำมาแลกเปล่ยี นในครง้ั ที่ 9

สมาชกิ ผูรวมเรยี นรู เสนอความคดิ เห็นเพิม่ เติม  ครบู ญุ อนันต ไดนำเสนอเน้ือหาของรายวิชาวิทยาศาสตรเ ก่ยี วกบั ระบบรา งกายมนุษย ระบบ หายใจ โครงสรางและหนาท่ีของอวยั วะในระบบหายใจ การ หายใจ การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ ระบบขบั ถาย โครงสรา งและหนาท่ขี องอวยั วะในระบบขับถาย กลไกการ กำจัดของเสยี การดูแลรกั ษาอวยั วะ ในระบบขับถา ย ระบบหมุนเวยี นเลือด โครงสรา งและหนาท่ีของอวัยวะในระบบ หมนุ เวยี นเลอื ด การทำงาน ของระบบหมุนเวยี นเลือด การดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมนุ เวยี นเลือด ระบบประสาท โครงสรา งและหนาที่ ของอวัยวะในระบบประสาท การทำงานของระบบประสาท การดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบ ประสาท ระบบ สบื พันธุ โครงสรา งและหนาที่ของอวยั วะในระบบสบื พนั ธุเ พศชายและเพศหญิง ฮอรโมนเพศ การปฏสิ นธิและ การต้ังครรภ การคุมกำเนดิ ศึกษาเกีย่ วกับการแยกสารผสม การระเหยแหง การตกผลกึ การกลน่ั โคร มาโทก ราฟแ บบกระดาษ การสกัดดว ยตัวทำละลาย การนำวิธีการแยกสารไปใชแกปญหาในชีวติ ประจำวัน โดยใช กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร  ครูรงุ ทวิ า เพมิ่ เตมิ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน อดั คลิปส้นั ลงในหองเรียน เพื่อนักเรยี นไดดู และฝ฿กปฏบิ ตั ติ าม 4. ประเดน็ / ความรูและขอ เสนอแนะทีไ่ ดร บั จากการแลกเปล่ียนเรียนรูค ร้งั น้ี ครสู มาชกิ ในกลุมไดป รับรปู แบบการใช Google Classroom ใหเ หมาะกับเนอื้ หาในรายวชิ าของแตละ คนพรอมใชใ นการจัดการเรียนการสอน 5. ผลทไ่ี ดจ ากการจัดกจิ กรรม นำผลการประชุมไปบันทกึ เพ่ือเกบ็ เปนหลักฐานในการรายงานตอไป เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผบู นั ทึก ( นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ) ลงช่ือ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณัฐกาญจน นุชประเสรฐิ ) ผอู ำนวยการโรงเรียนวดั บางหญาแพรก

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลมุ “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพาพัฒนาเด็กไทย” ขน้ั ที่ 2 การนำสูการวางแผนปฏบิ ัติและการแลกเปล่ียนเรียนรู โดยดำเนินการในวันท่ี 22 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง การเรียนรูท างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวดั บางหญาแพรก ช่อื กลุม “มัธยมรวมใจ ใสใจปญหา PLC นำพา พัฒนาเด็กไทย” ครั้งที่ 10 ปการศกึ ษา 2564 วนั /เดือน/ป : 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสน้ิ เวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 3 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้ังนอ้ี ยคู วามสอดคลองกับการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ลงในชอ ง )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะหและวางแผนการจัดการเรียนรู (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู (Do & See) ข้นั ท่ี 3 สะทอนความคดิ และปรบั ปรุงใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ขารวมกจิ กรรม 7 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหนา ท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรุงทวิ า หอมทอง หวั หนา ชว งชัน้ มธั ยมศกึ ษา 2. นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ผบู ันทึกรายงานการประชมุ /ครผู สู อน 3. นางสาวบญุ อนันต สวางใจ ครรู ว มเรียนรู 4. นางสาวรตั นีย บุญชวย ครูรว มเรยี นรู 5. นายอดุลย ชัยคำภา ครูรว มเรียนรู 6. นางสาวเสาวนี ศรีจันทกึ ครูรว มเรยี นรู 7 นางสาวชตุ มิ า แลศลิ า ครรู ว มเรยี นรู 1. ชอ่ื กิจกรรม การนำสกู ารปฏบิ ัตแิ ละการแลกเปลยี่ นเรยี นรู 2. ประเดน็ ปญ หา/ส่ิงทีต่ องการพฒั นา การใช Google Classroom ในการจัดการเรยี นการสอนสถานการณโควดิ -19 3. สมาชิกในกลุมรวมกนั จดั ทำแผนกิจกรรม จากการประชุมไดคัดเลอื กครูสกุ ัญญาเปน ครสู ุกญั ญา (Model Teacher) ในการใหคำแนะนำพัฒนา รปู แบบกระบวนการจดั การเรียนการสอนในการใช Google Classroom การเรยี นรูของครผู สู อนจึงไดมีการ รวมวางแผนงาน เพ่อื จัดทำและปรับปรงุ การจัดการเรียนรูรวมกัน ดังนี้ 1) คณะครูผูเขารว มประชุม ไดศกึ ษาข้นั ตอนวธิ ีการจากครตู น แบบรวมกันแสดงความคดิ เห็นพูดคุย เพ่ือนำไปจดั ทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรใู นรายวิชาของตนเอง

2) คณะครรู ว มแลกเปล่ียนเรียนรู ถึงวิธีการขั้นตอน เพ่อื ดำเนินการในข้นั ตอไป 3) คณะครแู ตละทา นไดรว มกันออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4) รว มกันกำหนดบทบาทสมาชิกในการสงั เกตการณทดลองใชรูปแบบกจิ กรรม 5) คณะครมู ีการนดั หมาย เพ่ือไปสงั เกตการณการสอนของครูตนแบบในการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอน โดยการสรา งส่อื การเรียนการสอนออนไลนไปใชใ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอน และนำผลทไี่ ดจ าก การ จัดกิจกรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลรวมกัน เพือ่ หาแนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นาตอ ไป สมาชิกผูรวมเรยี นรู เสนอความคดิ เหน็ เพมิ่ เติม  ครสู ุกัญญา สอบถามถึงปญหาของการสรา งหองเรยี น เพอื่ เตรียมพรอมในการจดั การเรยี นการ สอนออนไลนของนักเรยี น  ครูบญุ อนนั ต ในรายวิชาวิทยาศาสตร ไดจดั เตรียมเนอ้ื หารูปแบบการจัดการเรยี นการสอนท่ี นักเรยี นสามารถเขาถึงได ในสัปดาหแรก นักเรยี นมัธยมศึกษาปท่ี 1 เร่ือง ความหมายวิทยาศาสตรเปน ความรู เกี่ยวกบั ธรรมชาติซึ่งสามารถอธบิ ายไดด ว ยหลักฐานและความเปน เหตเุ ปนผล ความเชือ่ หรอื เรือ่ งราวที่เลาตอ ๆ กันมาไมส ามารถอธบิ ายไดดวยหลกั การและเหตผุ ลไมจัดเปนวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเก่ียวขอ งและสง ผลกระทบตอการดําารงชวี ิตของทุกคนจงึ จาํ เปนตอ งเรียนรูวิทยาศาสตร แมมิไดประกอบอาชพี เปน นักวิทยาศาสตรก็ตาม ใหน กั เรยี นไดศ กึ ษาจากหองเรียนและตอบคาํ ถามในใบงาน การนําเสนอ ผลการทํา กจิ กรรมและการตอบคาํ ถามในชน้ั เรียน เพื่ออธิบายวาขอความใดเปน หรอื ไมเ ปนวทิ ยาศาสตร ทำใบงาน  ครรู ุง ทวิ า เพิ่มเติมรปู แบบการจัดการเรยี นการสอน เสรมิ เรือ่ งใบงาน สามารถใช forms จาก googleได 4. ประเดน็ / ความรแู ละขอเสนอแนะที่ไดร ับจากการแลกเปลีย่ นเรียนรูคร้งั น้ี ครสู มาชกิ ในกลุมไดปรับรูปแบบการใช Google Classroom ใหเ หมาะกับเนื้อหาในรายวชิ าของแตล ะ คนพรอมใชในการจดั การเรียนการสอน 5. ผลท่ไี ดจ ากการจดั กจิ กรรม นำผลการประชุมไปบันทกึ เพ่ือเกบ็ เปน หลักฐานในการรายงานตอ ไป เลิกประชุมเวลา 18.30 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผูบนั ทึก ( นางสาวสุกญั ญา แตงเกตุ ) ลงชื่อ........................................................ผรู บั รอง ( นางสาวณฐั กาญจน นุชประเสริฐ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นวดั บางหญา แพรก

ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลมุ “มธั ยมรวมใจ ใสใ จปญหา PLC นำพาพัฒนาเด็กไทย” ขน้ั ที่ 2 การนำสูการวางแผนปฏบิ ัติและการแลกเปล่ียนเรียนรู โดยดำเนินการในวันท่ี 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 12.30 – 15.30 น.

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง การเรียนรทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นวัดบางหญาแพรก ชอ่ื กลุม “มัธยมรว มใจ ใสใจปญหา PLC นำพา พัฒนาเดก็ ไทย” คร้ังท่ี 11 ปการศกึ ษา 2564 วัน/เดอื น/ป : 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2564 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิน้ เวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสนิ้ 3 ชวั่ โมง กิจกรรมครัง้ น้ีอยูความสอดคลอ งกับการพฒั นาบทเรียนรว มกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ลงในชอ ง )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะหแ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู (Do & See) ขั้นที่ 3 สะทอนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเ่ี ขา รว มกจิ กรรม 7 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ กิจกรรม ดังนี้ ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหนาท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางสาวรุง ทิวา หอมทอง หวั หนาชวงชั้นมัธยมศกึ ษา 2. นางสาวสุกัญญา แตงเกตุ ผบู นั ทกึ รายงานการประชุม/ครูผสู อน 3. นางสาวบญุ อนนั ต สวางใจ ครูรว มเรยี นรู 4. นางสาวรตั นีย บญุ ชว ย ครรู ว มเรยี นรู 5. นายอดลุ ย ชยั คำภา ครรู ว มเรยี นรู 6. นางสาวเสาวนี ศรจี นั ทกึ ครูรว มเรยี นรู 7 นางสาวชุติมา แลศิลา ครรู วมเรียนรู 1. ชอ่ื กิจกรรม การนำสกู ารปฏบิ ัติและการแลกเปลีย่ นเรยี นรู 2. ประเดน็ ปญ หา/สิง่ ท่ีตองการพัฒนา การใช Google Classroom ในการจดั การเรยี นการสอนสถานการณโ ควิด-19 3. ครูผสู อนหลัก (Model teacher) สะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรขู องตนเอง จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรู ครูรุงทวิ าและครสู ุกญั ญา ไดน ำเสนอขัน้ ตอนและการสรา งบทเรียน ใน Google Classroom ครูไดแ ทรกเนือ้ หา รูปแบบ ปรบั หัวขอ ใหเ กิดความนา สนใจ นำไปใชจดั การเรยี นการ สอนกบั นักเรียนในรายวชิ าของสมาชกิ กลุม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook