Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปใบงาน

สรุปใบงาน

Published by Guset User, 2021-12-25 16:35:36

Description: สรุปใบงาน

Search

Read the Text Version

คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู รายวชิ า EDUC 291 การฝึกปฏิบตั วิ ิชาชีพครรู ะหว่างเรยี น 2 (Practicum 2) คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม

คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 (Practicum 2) ซึ่งได้ รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับ สถานศึกษา การวิเคราะห์แนวทางในการพัฒนาตนเอง การรายงานการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมอนุรักษ์ วฒั นธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นในสถานศกึ ษา และมีสว่ นรว่ มในโรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำรายงานฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษา และต้องการประสบการณใ์ นการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครูเปน็ อย่างดี นางสาวปิยมาศ พลวี ผู้จัดทำ

สารบญั เรอ่ื ง การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา หนา้ การประกนั คุณภาพการศึกษาทีส่ อดคล้องกบั สถานศึกษา คำนำ การวเิ คราะหแ์ นวทางในการพฒั นาตนเอง ก สารบญั รายงานโครงการโครงการส่งเสริม อนุรักษ์วฒั นธรรม ข ข้อมูลผู้จัดทำ และภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ของสถานศึกษา ค ใบงานที่ 1 5 ใบงานที่ 2 32 ใบงานที่ 3 38 ใบงานที่ 4 41 ภาคผนวก 45

ขอ้ มูลทว่ั ไปของนกั ศึกษา ชื่อ-สกลุ นางสาวปยิ มาศ พลวี รหสั ประจำตัวนักศกึ ษา 6312106043 ว.ด.ป.เกิด 8 พฤศจกิ ายน 2544 อายุ 20 ปี ภูมิลำเนาของนักศึกษาบ้านเลขท่ี 83 หมู่ 8 ตำบลไผร่ อบ อำเภอโพธ์ิประทับชา้ ง จงั หวดั พิจิตร สงั เกตการณ์ ณ โรงเรยี นเฉลิมขวญั สตรี ท่ีอยู่โรงเรยี นเฉลมิ ขวัญสตรี เลขที่ 28 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก รหัสไปรษณยี ์ 65000 นกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์ (ชุดสงั เกตการณ์ ปี 63) ที่ร่วมสังเกตการณใ์ นสถานศึกษาเดยี วกัน 1. นางสาวประภาพร ษรจนั ทร์ สาขาคณติ ศาสตร์ 2. นางสาวปยิ มาศ พลวี สาขาคณิตศาสตร์ 3. นางสาวสุกัญญา แสงสุข สาขาคณิตศาสตร์ 4. นางสาวโชติกา ชวดีโชตหิ ิรญั สาขาคณิตศาสตร์ 5. นายเกรยี งศักด์ิ ฤกษ์อดุ ม สาขาสังคมศึกษา 6. นางสาวอญั ชิษฐา พ่วงเกิด สาขาสังคมศกึ ษา 7. นางสาวอารสิ า อุดพ้วย สาขาสงั คมศึกษา 8. นายวรพงศ์ แสงท่านัง่ สาขาสงั คมศึกษา 9. นางสาวนลนีย์ โมออ่ น สาขาสังคมศกึ ษา 10. นางสาวสธุ ิกานต์ เพชรออ่ น สาขาสังคมศึกษา 11. นายจกั รพันธ์ อ่อนโยน สาขาภาษาอังกฤษ 12. นางสาวกชกร แกว้ เขียว สาขาจิตวทิ ยาและการแนะแนว 13. นางสาวธิดารตั น์ ศิรพิ รม สาขาจติ วทิ ยาและการแนะแนว 14. นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ จนั ทร์ผ่อง สาขาภาษาอังกฤษ

ใบงานท่ี 1 การวเิ คราะห์หลกั สตู รสถานศกึ ษา วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือใหน้ ักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการวเิ คราะห์หลักสูตร ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ท่ีตรงกับวชิ าเอกของตน 2. เพอื่ ใหน้ กั ศึกษาสามารถฝึกปฏบิ ตั วิ ิเคราะห์หลักสตู รได้ตามขัน้ ตอน 3. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษาสามารถเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ตามกลุ่มสาระท่ีตรงกบั วิชาเอกได้ อย่างเหมาะสม 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานการณ์ในชั้นเรยี นจรงิ ได้ ขอบข่ายของงาน 1. ใหน้ กั ศึกษาศึกษาหลักสตู รกลุ่มสาระที่ตรงกับวชิ าเอกของตนแล้วทำการวเิ คราะหห์ ลักสูตรตาม ขั้นตอนท่ีกำหนดให้ 2. เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรยี นรู้ 3. วางแผนการจดั การเรียนรู้ทีจ่ ะนำไปทดลองปฏบิ ัติการสอนในชัน้ เรยี น 4. ทดลองปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรียนรู้ ผู้เกี่ยวข้อง/แหล่งข้อมูล 1. ครนู เิ ทศก์ / ครพู ่ีเล้ยี ง 2. เอกสารหลักสตู รสถานศกึ ษาตามกลุม่ สาระ 3. เอกสารหลกั สตู ร / เอกสารประกอบหลกั สตู ร 4. แผนการจัดการเรยี นรู้

การวิเคราะหห์ ลักสตู รกลมุ่ สาระ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 2 ช่ือสถานศกึ ษา โรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี อำเภอ เมือง จงั หวัด พิษณุโลก ***************************************************************************************** ขน้ั ท่ี 1 การวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ งมาตรฐานการเรยี นรู้กลุ่มสาระกับตวั ช้ีวดั ช้นั ป/ี ตัวชี้วดั รายภาค มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระ ตัวชี้วดั ชน้ั ปี / ตัวช้ีวดั รายภาค ชั้น ม.1 มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลาย ม.1/3 เข้าใจและประยุกตใ์ ช้อตั ราสว่ น สัดสว่ น และรอ้ ย ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ ละ ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปญั หาในชีวติ จริง ดำเนนิ การของจำนวน ผลทีเ่ กิดขึ้นจาก การดำเนนิ การ สมบัตขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทาง ม.1/1 เขา้ ใจและใชค้ วามรทู้ างสถิติในการนำเสนอข้อมลู สถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการ และแปลความหมายข้อมลู รวมท้งั นำสถิติไปใช้ในชวี ติ จรงิ แก้ปัญหา โดยใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ขัน้ ที่ 2 การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งสาระการเรยี นรชู้ ว่ งชั้นกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชว้ี ดั ชนั้ ปี / รายภาค สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.1/3 เขา้ ใจและประยุกตใ์ ช้อัตราสว่ น อตั ราสว่ น - อตั ราสว่ นของจำนวนหลายๆจำนวน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปญั หา - สัดสว่ น คณิตศาสตร์และปญั หาในชีวติ จรงิ - การนำความรเู้ กย่ี วกับอัตราส่วน สัดสว่ น และรอ้ ยละไป ใช้ในการแก้ปญั หา ม.1/1 เข้าใจและใชค้ วามรู้ทางสถติ ใิ น สถติ ิ การนำเสนอขอ้ มลู และแปลความหมาย - การตงั้ คำถามทางสถิติ ขอ้ มูลรวมท้ังนำสถติ ิไปใชใ้ นชีวิตจรงิ โดย ใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม - การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู - การนำเสนอข้อมลู  แผนภูมริ ปู ภาพ  แผนภูมิแทง่  กราฟเสน้  แผนภมู ริ ูปวงกลม - การแปลความหมายข้อมูล - การนำสถติ ไิ ปใชใ้ นชีวิตจริง

ข้นั ท่ี 3 การวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ตัวชีว้ ดั กับ ความรู/้ ทักษะ/คณุ ลกั ษณะฯ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตัวชวี้ ดั ทักษะ / คณุ ลกั ษณะฯ ความรู้ กระบวนการ ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้ อัตราสว่ น เขา้ ใจและประยุกต์ใช้ - ทำงานอย่างเป็นระบบ อัตราสว่ น สัดสว่ น และรอ้ ยละ สัดสว่ น และ ในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์ ร้อยละ อัตราส่วน สดั ส่วน - มีวินัย และปญั หาในชีวิตจริง และร้อยละ - มีความรอบคอบ - มวี ิจารณญาณ - มคี วามเชอ่ื ม่ันในตนเอง - ใฝร่ ู้ - มีเจตคติทีด่ ีต่อคณติ ศาสตร์ ม.1/1 เข้าใจและใช้ความรู้ สถติ ิและการ เข้าใจและใช้ความรู้ - ทำงานอยา่ งเป็นระบบ - มีวินัย ทางสถิติในการนำเสนอข้อมลู นำเสนอข้อมูล ทางสถติ ใิ นการ - มคี วามรอบคอบ นำเสนอข้อมูลและ - มวี จิ ารณญาณ และแปลความหมายข้อมลู - มคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง แปลความหมาย - ใฝ่รู้ รวมทง้ั นำสถิติไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ - มีเจตคตทิ ี่ดตี ่อคณติ ศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม

ข้นั ที่ 4 การจดั ทำคำอธิบายรายวิชา คำอธิบายรายวิชา รายวิชา............คณติ ศาสตร์...........กลุ่มสาระการเรยี นรู้...........คณติ ศาสตร์............ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่1 จำนวนเวลาเรียน.................40.................ชั่วโมง/ภาค จำนวน..............2................ช่วั โมง/สัปดาห์ ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ์ นั การแก้ปัญหา การสือ่ สารและการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชอ่ื มโยง การใหเ้ หตุผล และการคดิ สร้างสรรคใ์ นสาระตอ่ ไปน้ี อัตราสว่ น อตั ราสว่ นของจำนวนหลาย ๆ จำนวน สัดสว่ น การนำความรเู้ กยี่ วกับอตั ราส่วน สดั สว่ นและรอ้ ยละไปใช้ในการแก้ปัญหา สถติ ิ การตั้งคำถามทางสถิติ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การนำเสนอขอ้ มลู ไดแ้ ก่ แผนภมู ิรูปภาพ แผนภูมแิ ทง่ กราฟเสน้ และแผนภมู ิรปู วงกลม การแปลความหมายข้อมลู การนำสถติ ิไปใช้ในชวี ติ จรงิ การใช้ขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื พัฒนาทกั ษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแก้ปัญหาการใหเ้ หตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทักษะและ กระบวนการทไ่ี ด้ไปใช้ในการเรียนรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ และใช้ในชีวติ ประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ รวมท้ังเหน็ คุณค่า และมเี จตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วาม รับผิดชอบมีวจิ ารณญาณ และมคี วามเช่อื ม่ันในตนเอง การวัดและประเมนิ ผลใชว้ ธิ ีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจรงิ ใหส้ อดคล้องกบั เนื้อหาและ ทกั ษะที่ต้องการวัด ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจและประยุกตใ์ ช้อตั ราสว่ น สดั สว่ น และร้อยละ ในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์และปัญหาใน ชีวิตจริง 2. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมลู และแปลความหมายข้อมลู รวมท้ังนำสถติ ไิ ปใชใ้ นชวี ติ จรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสม

ขน้ั ท่ี 5 การจดั ทำโครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวชิ าคณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ 2 .............................................................. ระดับ  ประถมศกึ ษา ชั้น...................................................เวลา........................................  มธั ยมศกึ ษา ชัน้ .......ม.1.....เวลา............40........... ช่ัวโมง จำนวน........1.0......หนว่ ยกิต ลำดับ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ (ชั่วโมง) คะแนน - การเขียนอัตราส่วน 1 ชือ่ หน่วย อตั ราส่วน สัดส่วน และร้อยละ - อัตราสว่ นทเี่ ทา่ กนั 3 10 - สดั สว่ น 1.1 ชือ่ เรอ่ื ง อัตราส่วน ขอ้ 1 - รอ้ ยละ 7 20 10 20 1.2 ชือ่ เรื่อง สดั สว่ น ขอ้ 1 - คำถามทางสถติ ิ 20 50 1.3 ช่ือเรื่อง รอ้ ยละ ข้อ 1 - การนำเสนอข้อมูล 2 5 รวมหน่วยท่ี 1 - การแปลความหมาย 12 25 ขอ้ มลู 2 ชื่อหน่วย สถิติ 1 - การนำสถติ ไิ ปใชใ้ น 4 10 ชีวติ จริง 2.1 ชอ่ื เร่อื ง การเกบ็ ขอ้ 2 2 10 รวบรวมขอ้ มูล 20 50 40 100 2.2 ชื่อเรื่อง การ ขอ้ 2 นำเสนอข้อมลู 2.3 ช่อื เรื่อง การแปล ข้อ 2 ความหมายข้อมูล 2.4 ชื่อเร่อื ง การนำสถติ ิ ข้อ 2 ไปใช้ในชวี ติ จริง รวมหน่วยท่ี 2 รวมตลอดภาคเรยี น

ขน้ั ท่ี 6 การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระ คณติ ศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี1 ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ชอื่ หน่วย อัตราส่วน แผนท่ี 1 เร่อื ง อัตราส่วนทเ่ี ทา่ กนั เวลาสอน 1 ชัว่ โมง สอนวันท่ี 2 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ 2564 ช่ือผู้สอน นางสาวปิยมาศ พลวี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ************************************************************************************ สาระสำคญั อัตราส่วนเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณ ซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกันหรือ ต่างกันก็ได้ การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้สามารถทำได้โดยใช้การคูณหรือการหารด้วย จำนวนเดียวกนั และการตรวจสอบการเท่ากนั ของอัตราสว่ นอาจทำได้โดยวิธีการคูณไขว้ มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่ี เกิดข้นึ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด ม.1/3 เข้าใจและประยุกตใ์ ชอ้ ตั ราส่วน สดั สว่ น และรอ้ ยละ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปัญหาในชวี ิตจริง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1)ตรวจสอบการเท่ากนั ของอัตราส่วนทกี่ ำหนดให้ได้ (K) 2) เขยี นแสดงขั้นตอนการหาอตั ราสว่ นทเี่ ทา่ กนั ของอัตราสว่ นท่กี ำหนดให้ได้ (P) 3)รบั ผิดชอบต่อหน้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย (A) สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน อตั ราส่วนทเ่ี ท่ากัน พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem Solving)

สมรรถนะสำคัญ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินยั 2.ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ - ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 3.ความสามารถในการแก้ปญั หา คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำ 1. ครูกล่าวทกั ทายกบั นักเรยี น แลว้ แจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ใหน้ กั เรียนทราบ จากนัน้ ให้นักเรยี นทำ แบบทดสอบก่อนเรยี น 20 ข้อ 2. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี น ให้นักเรียนดภู าพหนา้ ที่ 2 ของหนงั สือเรียน จากน้ันครูยก สถานการณ์ ห้องนอนมีพน้ื ที่ประมาณ 35 ตางรางเมตร โดยในห้องจะมเี ฟอรน์ เิ จอรต์ า่ ง ๆ เชน่ เตยี งนอน ตู้เสื้อผา้ โตะ๊ วาง ทีวี หรอื เครอื่ งแป้ง เปน็ ต้น จากนัน้ ครถู ามคำถามนกั เรียนดังนี้ • จากหอ้ งนอนข้างต้น นกั เรยี นคิดวา่ ถ้าเตียงนอนมีพืน้ ที่ 3.6 ตารางเมตร เมื่อเทียบกับพ้ืนทีข่ อง หอ้ งนอนทง้ั หมด อยากทราบว่าอตั ราส่วนจะมคี ่าประมาณเปน็ เทา่ ไร แล้วใหน้ กั เรียนร่วมกันแสดง ความคิดเหน็ 3. ครูใหน้ ักเรยี นดรู ูปครอบครวั หน้า 3 จากนนั้ ให้นักเรยี นตอบคำถามเกี่ยวกับอตั ราสว่ น ดังนี้ • ครอบครัวน้มี จี ำนวนท้ังหมด 6 คน เปน็ เดก็ จำนวน 2 คน และผใู้ หญจ่ ำนวน 4 คน ดงั น้นั เขียนอัตราส่วนของจำนวนเดก็ ตอ่ จำนวนผ้ใู หญเ่ ป็นเท่าไหร่ • เขยี นอัตราสว่ นของจำนวนเด็กต่อจำนวนคนในครอบครัวเป็นเทา่ ไหร่ • เขยี นอัตราส่วนของจำนวนผใู้ หญต่ อ่ จำนวนคนในครอบครัวเปน็ เท่าไหร่ • เขยี นอัตราส่วนของจำนวนผ้ใู หญ่ตอ่ จำนวนคนในครอบครัวเป็นเท่าไหร่ ครยู กตวั อย่าง ถา้ เป็นอัตราส่วนของจำนวนไส้กรอกเป็น 2 ถุงต่อ 84 ราคาเป็นบาท นักเรียนจะสามารถ เขียนอตั ราส่วนทแ่ี สดงความสัมพนั ธไ์ ด้วา่ อยา่ งไร 1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรทู้ ี่ได้ทบทวนเร่ือง “อตั ราส่วน”

ข้นั สอน 1. ครใู ห้นกั เรยี นจับคู่ศึกษาเนื้อหาในหนงั สอื เรียน หนา้ 4 หัวข้อ 1 อตั ราสว่ นทเ่ี ทา่ กนั แลว้ แลกเปล่ยี น ความรู้กับคู่ของตนเอง จากน้ันครูถามคำถาม ดงั น้ี • ร้านสหกรณ์ของโรงเรยี น ขายน้ำราคาขวดละ 5 บาท ซึ่งสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ ง จำนวน นำ้ เปน็ ขวดและราคาเปน็ บาท ได้อย่างไร (แนวตอบ 1 : 5) • ถา้ ซอ้ื 2 ,3 ,4 ,5 ขวดตามลำดบั จะต้องจ่ายเงินท้งั หมดกบี่ าท (ตามลำดับ) (แนวตอบ 2 : 10, 3 : 15, 4 : 20 และ 5 : 25 ตามลำดบั ) • ใหน้ กั เรยี นเขยี นอตั ราสว่ นของจำนวนนำ้ (ขวด) และราคา (บาท) ของคำตอบทไ่ี ด้ในข้อก่อนหน้า (แนวตอบ และ ตามลำดบั ) • ให้นักเรียนพิจารณาว่า “อัตราสว่ นดงั กล่าวท่ีไดม้ าจากการซอ้ื น้ำในราคาเดียวกัน คือ น้ำ 1 ขวดตอ่ ราคา 5 บาท และกล่าวไดว้ ่าอตั ราสว่ นเหลา่ นน้ั มคี วามสมั พันธ์กนั อย่างไร (แนวตอบ มีความสมั พันธก์ นั เรยี กอัตราสว่ นที่ไดว้ ่า “อตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากัน”) • จากอตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากนั ในสถานการณข์ ้างตน้ สามารถเขียนแสดงได้ อย่างไร (แนวตอบ 1 : 5 = 2 : 10 = 3 : 15 = 4 : 20 = 5 : 25 หรือ ) • ให้นกั เรียนสังเกตความสมั พนั ธ์ระหว่างอตั ราสว่ น กบั มีความเกย่ี วข้องกันหรือไม่ (แนวตอบ 1. และ 2. และ นัน้ คอื มคี วามสมั พันธ์กัน ดงั นน้ั )

2. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ หลักการหา ดงั น้ี กำหนดอตั ราส่วน a : b และ c จำนวนใด ๆ ทไ่ี ม่เทา่ กับศูนย์ 1) หลักการคณู a : b = 2) หลกั การหาร a : b = 3. ครกู ลา่ วถึงหัวข้อ “คณติ นา่ รู้” ในหนังสอื เรยี นหน้า 5 วา่ นักเรยี นสามารถเขียนอตั ราสว่ นตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ ในรูปเศษสว่ นได้เสมอ ขั้นสรปุ 1. ครถู ามคำถามเพื่อสรปุ ความรู้รวบยอดของนักเรยี น ดังนี้ • อัตราสว่ นที่เท่ากนั หาได้อย่างไร (แนวตอบ การหาอัตราสว่ นท่ีเทา่ กนั ทำได้โดยหลกั การคูณและหลักการหาร) • การตรวจสอบการเทา่ กนั ของอตั ราสว่ นทำได้อยา่ งไร (แนวตอบ สามารถตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนได้ 3 วิธี ไดแ้ ก่ 1. ใชห้ ลกั การคูณ 2. ใชห้ ลักการหาร 3. ใชห้ ลกั การคูณไขว้) สื่อและแหล่งเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 อตั ราสว่ น 2. แบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 อัตราสว่ น 3. ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง อัตราสว่ นทเี่ ท่ากัน แหลง่ การเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องสมุด 3. อินเทอร์เนต็

การวัดผลและประเมินผล รายการวดั วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์การ ประเมนิ 7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น - ประเมนิ - แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ย - ตรวจแบบทดสอบ กอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อน ตามสภาพ การเรยี นรทู้ ี่ 1 อัตราสว่ น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรยี น จริง 7.2 การประเมินระหว่าง - ตรวจ Exercise 1.1 - Exercise 1.1 ร้อยละ 60 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ตรวจแบบฝกึ ทกั ษะ 1.1 - แบบฝึกทักษะ 1.1 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 1. อตั ราสว่ นท่เี ท่ากัน - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 2. นำเสนอขนั้ ตอนการ - ประเมินการนำเสนอผลงาน - แบบประเมนิ การ ผา่ นเกณฑ์ แสดงวธิ ีทำของ นำเสนอผลงาน - ระดับ อัตราส่วน - สังเกตพฤติกรรม การ คุณภาพ 2 ทำงานรายบุคคล - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ 3. พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการทำงาน - ระดบั รายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรม การ คุณภาพ 2 ทำงานกลุ่ม รายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 4. พฤติกรรมการทำงาน - แบบสังเกต - ระดับ กลุ่ม - สังเกตความมีวินัย ใฝ่ พฤติกรรมการทำงาน คุณภาพ 2 เรยี นรู้ และม่งุ มัน่ ใน การ ผ่านเกณฑ์ 5. คุณลักษณะ กลุม่ - ระดับ อันพงึ ประสงค์ ทำงาน - แบบประเมิน คณุ ภาพ 2 คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………. บนั ทึกความคดิ เหน็ ของครพู ่ีเล้ยี งก่อนสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื นางสาวปยิ มาศ พลวี วัน/เดือน/ปี 2 ธันวาคม 2564

บันทึกความคิดเหน็ ครูพ่ีเลี้ยงหลังสอน .......................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................................ วนั /เดอื น/ป.ี ........................... บันทึกผลหลงั สอน ผลการสอน .......................................................................................................................................................................... ปัญหา/อุปสรรค .......................................................................................................................................................................... แนวทางแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... ลงชือ่ .......................................................นกั ศึกษา วนั /เดือน/ปี.......................... ลงช่อื ……………………………………….. (ครพู เี่ ล้ียง / ครนู เิ ทศ / ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา)

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระ คณติ ศาสตร์ วชิ าคณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ชื่อหนว่ ย อัตราสว่ น แผนท่ี 2 เรื่อง อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน เวลาสอน 1 ชัว่ โมง สอนวันที่ 7 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2564 ชื่อผู้สอน นางสาวปิยมาศ พลวี สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ************************************************************************************ สาระสำคญั การเขียนอัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ทำได้โดยทำจำนวนที่เป็นตัวร่วมในแต่ละอัตราส่วนให้ เท่ากันโดยการหา ค.ร.น. มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ ตวั ชวี้ ดั ม.1/3 เขา้ ใจและประยกุ ต์ใช้อัตราส่วน สดั ส่วน และร้อยละ ในการแกป้ ญั หาคณิตศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ิต จรงิ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1)เปรียบเทยี บอัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวนให้ได้ (K) 2)เขยี นข้นั ตอนแสดงวธิ กี ารเปรียบเทียบอตั ราสว่ นของจำนวนหลาย ๆ จำนวนได้ (P) 3)รบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ที ี่ไดร้ ับมอบหมาย (A) สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem Solving)

สมรรถนะสำคัญคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำ 1. ครกู ลา่ วทักทายกับนักเรยี น แลว้ ทบทวนความรเู้ ดมิ เรื่องอตั ราสว่ นทีเ่ ท่ากนั ในหนงั สือเรยี นหนา้ 2-7 พอสังเขป 2. จากนน้ั ครูถามคำถามเพื่อในนักเรยี นเชื่อมโยงความรรู้ อบตัว ดังน้ี • ในชวี ติ ประจำวัน นกั เรียนคดิ วา่ เคยเหน็ อัตราสว่ นท่มี ากกวา่ สองอัตราสว่ นข้ึนไป (อัตราส่วนของ จำนวน หลาย ๆ จำนวน) หรอื ไม่ ถ้าเคยให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ ง (แนวตอบ เคย ตัวอย่างเชน่ ในการทำขนมเค้ก ,การผสมเครือ่ งปรงุ ต่าง ๆ ในการทำกบั ข้าว หรือจะเปน็ สูตรการทำขนม A มีอตั ราสว่ นของปริมาณแป้งสาลที ีใ่ ชต้ ่อปริมาณนำ้ ตาลทรายทีใ่ ช้เปน็ 5 : 3 และอตั ราสว่ นของปริมาณน้ำตาลทรายท่ใี ชต้ ่อปรมิ าณเกลือทใี่ ช้เปน็ 6 : 1 เปน็ ต้น) • จากคำตอบข้างต้น นกั เรยี นสังเกตเห็นหรือไม่วา่ อัตราส่วนทัง้ สองชุดมีบางปริมาณทปี่ รากฏซำ้ ถา้ มี ให้ นกั เรียนระบปุ รมิ าณท่ีซำ้ ดงั กล่าว (แนวตอบ จากตัวอย่างคำตอบในคำถามก่อนหน้า พบว่าปรมิ าณน้ำตาลทรายทีใ่ ชป้ รากฏซำ้ ระหวา่ ง สอง อตั ราสว่ นท่เี กดิ ข้ึน) • นักเรียนรหู้ รือไมว่ า่ “ปรมิ าณซ้ำ” มีชื่อเรยี กอีกชื่อวา่ อะไร (แนวตอบ ปรมิ าณซำ้ มชี ื่อเรียกอีกชอ่ื ว่า “ตัวร่วม” ) • นกั เรยี นคดิ วา่ ควรใช้วิธีการใดในการเขยี นอตั ราสว่ นของจำนวนหลายๆ จำนวนใหเ้ ปน็ อตั ราสว่ นชดุ เดยี ว (แนวตอบ นกั เรยี นอาจตอบว่าใช้หลักการคูณ, หลักการหาร หรือ ค.ร.น แลว้ ปริมาณทปี่ รากฏซำ้ นั้น จะต้องมีอัตราส่วนทีเ่ ทา่ กันดว้ ย จึงจะทำใหเ้ ป็นอตั ราส่วนชดุ เดยี วกนั ได)้ ขน้ั สอน 1. ครูใหน้ ักเรยี นจบั คู่ศึกษาในหนังสือเรียน หนา้ 8 หวั ข้อ “อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน” และ ให้ แลกเปล่ยี นความรู้กับคูข่ องตนเองได้ และใหน้ ักเรียนชว่ ยกันพิจารณาตวั อย่างที่ 4 หน้า 9 ดังนี้ ร้านขนมตาลของริสา ใชป้ ริมาณสว่ นผสมหลกั ในการทำขนมตาล ดงั น้ี เน้อื ลกู ตาล 170 กรมั น้ำกะทิ 520 กรมั แปง้ ขา้ วจา้ ว 235 กรมั นำ้ ตาลทราย 275 กรมั • อยากทราบว่า อัตราสว่ นของเนือ้ ลกู ตาลต่อน้ำกะทติ ่อแป้งข้าวจ้าวต่อนำ้ ตาลทรายเป็นเท่าใด

(แนวตอบ อัตราสว่ นของเนื้อลกู ตาลตอ่ น้ำกะทิต่อแปง้ ขา้ วจา้ วตอ่ น้ำตาลทราย เท่ากบั 170 : 520 : 235 : 275 ตามลำดบั ) • อยากทราบว่า อัตราสว่ นของเน้อื ลูกตาลผสมแป้งข้าวจา้ วต่อน้ำกะทิผสมนำ้ ตาลทรายเป็นเทา่ ใด (แนวตอบ อัตราสว่ นของเน้ือลูกตาลผสมแปง้ ข้าวจ้าวต่อน้ำกะทผิ สมนำ้ ตาลทรายเทา่ กับ 170 + 235 = 405 : 520+275=795 ตามลำดับ) • อยากทราบวา่ อัตราส่วนของเนอ้ื ลูกตาลต่อเน้อื ลูกตาลผสมนำ้ กะทิผสมแปง้ ข้าวจา้ วผสมน้ำตาล ทราย (แนวตอบ อัตราสว่ นของเนื้อลกู ตาลตอ่ เน้ือลูกตาลผสมน้ำกะทิผสมแป้งขา้ วจ้าวผสมนำ้ ตาลทราย เท่ากับ 170 : 170+520+235+275=1,200) 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ หลกั การเขยี นอตั ราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนดังนี้ 1) พิจารณาจำนวนท่ีปรากฏในอัตราสว่ นทีละคู่ เฉพาะในส่วนที่เปน็ ตัวร่วม 2) ถ้าจำนวนท่เี ปน็ ตัวรว่ มในข้อ 1) เทา่ กนั เขียน อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนได้ทนั ที 3) ถา้ จำนวนท่ีเป็นตัวรว่ มในข้อ 2) ไมเ่ ท่ากัน ต้องทำตัวร่วมนนั้ ให้เทา่ กนั โดยใชห้ ลักการคูณ หลักการ หาร หรอื ค.ร.น. ขั้นเขา้ ใจ (Understanding) 3. ครใู หน้ ักเรียนลองทำหัวข้อ “ลองทำดู” ในหนังสอื เรียน หน้า 9 แลว้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลย 4. จากนนั้ ครูยกตวั อย่างในตวั อย่างที่ 5 หนา้ 9 ร้านคา้ มีไข่ไก่ ไขเ่ ป็ด และไขห่ ่าน โดยท่ีอัตราส่วนของจำนวน ไข่ เป็ดตอ่ ไข่ไกเ่ ป็น 3 : 5 อตั ราส่วนของจำนวนไขห่ ่านตอ่ จำนวนไขไ่ กเ่ ปน็ 2 : 3 อยากทราบวา่ อัตราสว่ น ของ จำนวนไข่เป็ดต่อจำนวนไข่ไก่ตอ่ จำนวนไขห่ ่านเป็นอย่างไร และก่อนให้นกั เรียนตอบคำตอบโจทย์ข้อนี้ ครูถาม นักเรียนดังนี้ • จากโจทย์ขอ้ น้ีมีตัวรว่ มหรอื ไม่ ถ้ามีจงบอกว่าเปน็ คำใด (แนวตอบ มี คอื จำนวนไขไ่ ก่) เมือ่ หาตัวรว่ มของประโยคได้ และตวั ร่วมมีคา่ ต่างกันจะมวี ธิ ไี หนท่ีทำใหอ้ ัตราส่วนรว่ ม มคี า่ เทา่ กันหรอื ไม่ (แนวตอบ มี ใชก้ ารคูณรว่ มน้อย (ค.ร.น.) ในการหา หรือใช้หลักการคูณ หลักการหาร แลว้ แต่ความ ถนดั ของนักเรียน) • ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคำตอบ (แนวตอบ อัตราสว่ นของจำนวนไขเ่ ปด็ ต่อไข่ไก่เปน็ 3 : 5 อัตราส่วนของจำนวนไขห่ ่านต่อจำนวนไขไ่ กเ่ ปน็ 2 : 3 ตัวรว่ ม คือ จำนวนไข่ไก่ นั้นคอื ไปหา ค.ร.น. ของ 5 , 3 คอื 15 นั้นคอื อตั ราสว่ นจำนวนไข่เป็ด : จำนวนไข่ไกเ่ ปน็ 3  3 : 5  3 = 9 : 15 และจำนวนไขห่ า่ น : จำนวนไขไ่ กเ่ ป็น 2  5 : 3  5 = 10 : 15 ดังน้นั จำนวนไข่เปด็ : จำนวนไขไ่ ก่ : จำนวนไขห่ ่านเป็น 9 : 15 : 10)

5. ครใู ห้นักเรียนลองทำหัวข้อ “ลองทำดู” ในหนงั สือเรียน หนา้ 10 แล้วครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลย 6. จากนั้นครแู จกใบงานที่ 1.2 เร่ือง อัตราสว่ นของจำนวนหลาย ๆ จำนวน ให้นกั เรยี นทำ และจากน้ันครแู ละ นักเรียนรว่ มกนั เฉลยคำตอบ 7. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ ทกั ษะ 1.1 (หน้า 11) หวั ข้อ “ระดับกลาง” จากนน้ั ครู และนักเรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะ 1.1 ครูให้ทำ Exercise 1.1 หน้า 7-10 เปน็ การบา้ น 8. ครใู หน้ ักเรยี นจดั กลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน คละความสามารถทางคณติ ศาสตร์ แล้วทำกิจกรรม ดงั น้ี ทำกิจกรรม “อตั ราสว่ นผสมอาหารโปรดกลุ่มฉนั ” โดยครใู ห้นกั เรียนจดลงในสมุดของตัวเอง และเพื่อน ๆ ในกลุม่ จากนน้ั ใหน้ ักเรียนเขยี นชื่ออาหารจานโปรดคนละ 1 อย่าง พร้อมท้งั บอกปรมิ าณของสว่ นผสมแตล่ ะ อยา่ งที่ใช้ พรอ้ มทัง้ เขยี นสรปุ อตั ราสว่ นของปริมาณของส่วนผสมหลักทง้ั หมด และให้แต่ละกลุ่มนำเสนอของกลมุ่ ตวั เอง 9. ครใู หน้ ักเรียนเขียนอตั ราส่วนของอาหารจานโปรดกลุ่มตวั เองลงในสมดุ ของแตล่ ะคน ขนั้ สรุป 1. ครถู ามคำถามนักเรียนเพ่อื ทบทวนความร้ดู งั น้ี • บอกขั้นตอนการเขยี นอัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน จากอัตราสว่ นตัง้ แตส่ องอัตราส่วนขน้ึ ไป (แนวตอบ 1. พจิ ารณาจำนวนทปี่ รากฏในอัตราสว่ นทีละคู่ เฉพาะในสว่ นที่เปน็ ตัวร่วม 2. ถา้ จำนวนท่ีเปน็ ทเี่ ปน็ ตวั รว่ มในขอ้ 1) เท่ากนั เขียนอัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนได้ทนั ที 3. ถ้าจำนวนทีเ่ ปน็ ตวั รว่ มในข้อ 1) ไม่เท่ากัน ต้องตัวร่วมให้น้นั ใหเ้ ท่ากัน โดยใช้หลกั การ คณู หลกั การหาร หรอื ค.ร.น ) ส่ือและแหล่งเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 อัตราสว่ น 2. แบบฝกึ หัดคณิตศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 อัตราสว่ น 3. ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง อตั ราส่วนทเี่ ท่ากนั แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องสมดุ 3. อนิ เทอร์เนต็

การวดั ผลและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ รายการวัด - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 รอ้ ยละ 60 ผ่าน 7.1 การประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจแบบฝึกทกั ษะ - แบบฝึกทกั ษะ 1.1 เกณฑ์ การจัดกิจกรรมการ 1.1 - Exercise 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ น - ตรวจ Exercise 1.1 เกณฑ์ เรยี นรู้ ร้อยละ 60 ผา่ น 1. อัตราสว่ นของจำนวน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ เกณฑ์ หลายๆจำนวน ผลงาน นำเสนอผลงาน - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 2. นำเสนอข้ันตอน การแสดงวธิ ที ำของ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คณุ ภาพ 2 อตั ราส่วนหลาย ๆ จำนวน การทำงานรายบคุ คล พฤติกรรมการทำงาน ผา่ นเกณฑ์ 3. พฤตกิ รรมการทำงาน รายบคุ คล รายบุคคล - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 4. พฤตกิ รรมการทำงาน กลมุ่ การทำงานกลุ่ม คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ 5. คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มัน่ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ กจิ กรรมเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... บนั ทึกความคิดเหน็ ของครูพี่เลี้ยงก่อนสอน .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .............................................................. วัน/เดอื น/ปี............................

บนั ทึกความคดิ เห็นครพู เี่ ลี้ยงหลังสอน .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................................ วนั /เดอื น/ปี............................ บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการสอน .......................................................................................................................................................................... ปัญหา/อปุ สรรค .......................................................................................................................................................................... แนวทางแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... ลงช่อื นางสาวปิยมาศ พลวี นักศกึ ษา วัน/เดอื น/ปี 7 ธนั วาคม 2564 ลงชือ่ ……………………………………….. (ครูพี่เลยี้ ง / ครนู ิเทศ / ผู้บรหิ ารสถานศึกษา)

กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ ภาคเรยี นที่ 2 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 วชิ าคณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี1 เร่อื ง สัดสว่ น เวลาสอน 1 ชวั่ โมง ชือ่ หนว่ ย อตั ราส่วน แผนที่ 3 ชื่อผู้สอน นางสาวปยิ มาศ พลวี สอนวนั ท่ี 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2564 สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ ************************************************************************************ สาระสำคัญ อตั ราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน สัดส่วน และรอ้ ยละสามารถนำไปใชใ้ นการแก้โจทย์ปัญหา ทพี่ บในชีวิตจริงได้อย่างหลากหลาย มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกดิ ขึ้นจากการดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวช้ีวดั ม.1/3 เขา้ ใจและประยุกตใ์ ชอ้ ตั ราสว่ น สัดส่วน และร้อยละ ในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์และปัญหา ในชีวติ จริง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.อธิบายความหมายคำวา่ สัดสว่ นไดอ้ ย่างถูกต้อง (K) 2.อธิบายการนำความรูเ้ กีย่ วกับเรื่องสดั สว่ นไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ (K) 3.ใชค้ วามรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ญั หาได้อยา่ งเหมาะสม (P) 4.รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีท่ไี ดร้ ับมอบหมาย (A) สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถนิ่ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พิจารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา สัดส่วน ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา(Critical Thinking and Problem Solving)

สมรรถนะสำคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูทบทวนความรเู้ รื่องอตั ราส่วนที่เทา่ กนั โดยให้นกั เรยี นในช้ันเรยี นยกตัวอยา่ งอตั ราส่วนทเ่ี ทา่ กนั สอง อัตราสว่ น โดยอาจเรียกชื่อนักเรยี นหรอื เรียงตามลำดับการนั่ง ออกมาเขียนบนกระดานจากน้ันครแู ละนกั เรียน คนอนื่ ๆรว่ มกนั ตรวจสอบ ตัวอยา่ งอตั ราส่วนทเี่ ท่ากันสองอัตราส่วนของเพื่อน ๆ จนครบทุกคน 4. .ครูใช้โจทย์ใหมถ่ ามนักเรยี น ดังน้ี 1) A , 2) 45 , 3) 21 : 13 , 4.) 23p , 5) 7: 1 2 75 5 • อยากทราบวา่ ขอ้ 1) – 5) ข้อใดบ้างทเ่ี ป็นอัตราส่วน เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ อัตราส่วน ไดแ้ ก่ 2) 7455 , 3) 1 : 1 , 5) 7: 15 เพราะอัตราส่วน หมายถงึ ความสัมพันธ์ 2 3 ที่แสดงการเปรียบเทยี บปริมาณสองปรมิ าณ) • จากโจทย์เดิม ครูอยากได้อัตราสว่ นทีเ่ ท่ากันของข้อที่นกั เรยี นเลือกตอบเปน็ อัตราสว่ นข้อ ละ 3 อัตราสว่ น (แนวตอบ 2) 7455 จะได้วา่ 1) 7455 = 4755  55 = 195  2) 7455 = 4755  1155 = 35  3) 7455 = 4755  22 = 19500  นั้นคือ 45 = 9 = 3 = 90 75 15 5 150 3) 12 : 13 จะได้วา่ 1) 1 : 1 = 1  4 : 1  4 = 2: 34 2 3 2 3 2) 21 : 13 = 12  2 : 13 2 =1:32

3) 1 : 1 = 1  3 : 1  3 = 3 : 1 2 3 2 3 2 น้ันคือ 12 : 13 =2 : 43 =1: 23 = 23 :1 5) 7: 1 5 จะไดว้ ่า 1) 7 : 1 =72: 1  2 =14 : 2 5 5 5 2) 7: 15 =75 : 15 5 = 35:1 3) 7: 15 =7 7: 15 7 =1: 315 น้ันคอื 7: 15 = 14: 25 =1.4: 05.2 =1: 315 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายสรุปเน้อื หาอัตราสว่ นท่ีเท่ากนั (แนวตอบ การหาอัตราส่วนท่เี ทา่ กันจะมหี ลักการต่อไปนี้ คอื หลักการคูณ-หลกั การหารเขา้ มาช่วย และจะ สังเกตไดว้ า่ ทั้ง 2 หลกั การนั้นจะใช้ตัวเลขตวั เดียวกระทำกับอตั ราสว่ นในข้อนัน้ ๆ ) 3. ครูใหน้ กั เรยี นจบั คู่ศึกษาเนื้อหาในหนงั สือแบบเรียน (หนา้ 12) เรื่องสดั ส่วน ก่อนข้ึนตัวอย่างที่ 7 4. หลังจากนน้ั ครใู ห้นักเรียนสังเกตบนกระดานตรงทน่ี ักเรียนไดเ้ ขยี นอัตราสว่ นสองอัตราสว่ นลงไป นนั้ ครจู ะ เชื่อมโยงมาส่คู วามรู้ใหม่ โดยครจู ะใส่เครื่องหมาย“เท่ากับ” ใหร้ ะหว่างอัตราส่วนสอง อตั ราสว่ นท่เี ก่ียวข้องกัน พรอ้ มทง้ั กระตนุ้ ความคดิ นักเรียนโดยใชค้ ำถาม ดังน้ี • นักเรยี นทราบหรอื ไม่วา่ ประโยคทีแ่ สดงการเท่ากันของอัตราสว่ นสองอตั ราส่วนทน่ี ักเรียน ได้เขยี น ลงไปเรยี กวา่ อะไร (แนวตอบ สดั สว่ น (ถ้านกั เรียนตอบไมไ่ ด้ ให้นักเรยี นกลบั ไปศึกษาเนือ้ หาในหนังสอื แบบเรยี นหนา้ 12 แลว้ จงึ สรุปคำตอบอีกครงั้ ) • นกั เรยี นคิดวา่ “สดั สว่ น” เหมือนหรือต่างกับ “อัตราส่วน” หรอื ไม่ อย่างไร (แนวตอบ ตา่ งกัน , “อัตราสว่ น” หมายถงึ ความสมั พันธ์ที่แสดงการเปรยี บเทยี บปริมาณสองปรมิ าณ แต่ “สัดสว่ น” หมายถงึ ประโยคท่แี สดงการเทา่ กันของอตั ราสว่ นสองอัตราส่วน) • ให้นกั เรียนพจิ ารณาประโยคสัญลักษณ์ต่อไปน้ี 22 : 32 = 11 : 16 แล้วระบวุ า่ ส่วนใด เรียกวา่ อตั ราสว่ น และสว่ นใดเรียกว่าสัดสว่ น (แนวตอบ อัตราสว่ น ได้แก่ 22 : 32, 11 : 16 และสัดสว่ น ได้แก่ 22 : 32 = 11 : 16) ขนั้ สอน 1.ครยู กตวั อยา่ งการตรวจสอบว่า โจทยต์ ่อไปน้ีเปน็ สัดสว่ นหรอื ไม่ แลว้ อธิบายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ ดังนี้ • ให้นักเรยี นพจิ ารณาประโยคสัญลักษณ์อัตราสว่ น 39.6 และ 13.2 แล้วระบวุ า่ เป็นสัดสว่ นหรอื ไม่

(แนวตอบ 39.6 และ 13.2 ผลการคณู ไขว้ของ 39.6 และ 13.2 คือ 9×1.2 = 10.8 และ 3.6×3 = 10.8 จะได้วา่ 39.6 = 11.32 น้นั คือ 39.6 = 11.32 เปน็ สัดสว่ น) 2. ครูจะเร่ิมยกตวั อยา่ งสัดสว่ นที่มีตัวแปร (หรือจำนวนที่ไมท่ ราบค่า) โดยเขยี นลงบนกระดาน เชน่ 36 : 42 = y : 7 จากน้ันใหน้ กั เรยี นร่วมกันคดิ วา่ หลักการใดบ้างที่สามารถนำมาใชใ้ นการหาคา่ ของ ตัวแปร ในประโยคขา้ งต้นได้ (โดยในขั้นตอนนยี้ งั ไม่ให้นักเรียนดตู วั อยา่ งที่ 7 ในหนงั สือเรียนหน้า 12 (แนวตอบ 36 : 42 = y : 7 วิธีที่ 1 4362 และ y วธิ ีที่ 2 ใชห้ ลักการคูณไขว้และการแก้ 7 สมการ หาอตั ราส่วนที่เทา่ กันโดยใช้หลกั การหาร จาก 4362 = 7y จาก 4362 = 36  6 = 76 จะได้ 36  7 = 42  y 42  6 36 7 จะได้ 6 = y 42 = y 7 7 y =6 y=6 ดงั นน้ั คา่ ของ y คือ 6 ดังน้นั คา่ ของ y คอื 6 3. หลงั จากนั้นใหน้ กั เรียนศึกษาตวั อยา่ งท่ี 7 - 8 ในหนงั สอื เรียน หน้า 12 – 13 หลังจากท่ีศึกษาเสรจ็ แล้ว ให้ครู สอบถามนักเรยี นอีกครั้งหน่ึงวา่ หลักการทัง้ หมดที่นำมาใชใ้ นการหาคา่ ของตัวแปรในประโยค ข้างต้นได้แก่ หลักการใดบ้าง (แนวตอบ ใช้ “หลกั การคูณ”, “หลักการหาร” หรือ “การคูณไขว้” ก็ได้) 4. ครูใหน้ กั เรยี นจับคู่ลองทำหัวข้อ “ลองทำดู” หนา้ 13 แลว้ แลกเปล่ียนความรู้กบั คูข่ องตนเองเมื่อเสรจ็ แล้วครู และนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำตอบ 5. ครูใหแ้ บบฝึกทักษะ 1.2 หน้า 20 หัวข้อ “ระดับพื้นฐาน” เป็นการบ้าน 6. ครูและนักเรียนเฉลยการบ้านแบบฝึกทักษะ 1.2 หน้า 20 หัวข้อ “ระดับพื้นฐาน” หลังจากนั้นครูทบทวน ความรูใ้ ห้แกน่ ักเรียนเรอ่ื งการหาค่าของตัวแปรในสดั สว่ น 7. ครูใหน้ ักเรียนจับคู่อ่านหัวข้อ “การแก้โจทย์ปัญหาโดยใชส้ ัดสว่ น หนา้ 13” และให้นักเรียนแต่ละคู่สามารถ แลกเปลีย่ น/หารือ/ปรกึ ษากนั เองได้ 8. ครูยกตัวอยา่ งใหน้ กั เรียนวเิ คราะหอ์ อกมาเป็นลำดบั ขั้นตอนของการแสดงวธิ ีทำไว้ ดงั น้ี นักศึกษากลุ่มหนึ่งร่วมมือกับชาวบ้านในหมู่บ้านที่ใกล้ป่าชายเลนด้วยต้นลำพูป่าและต้นโกงกาง โดยให้ จำนวน ต้นโกงกางต่อจำนวนต้นลำพูเป็น 5 : 7 เมื่อปลูกต้นโกงกางและต้นลำพูเสร็จแล้ว พบว่ามี จำนวนต้นลำพู ทั้งหมด 63 ต้น อยากทราบว่านักศึกษาและชาวบา้ นกลุ่มนี้ปลูกตน้ โกงกางทั้งหมดก่ี ตน้

9. หลังจากนั้นครูใช้การถามตอบและใช้แนวคิดของโพลยาเข้ามาเกี่ยวด้วยเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดงั น้ี • สิง่ ทีโ่ จทยถ์ าม (แนวตอบ นกั ศกึ ษาและชาวบ้านกลุ่มน้ีปลูกต้นโกงกางท้ังหมดก่ีตน้ ) • สง่ิ ทีโ่ จทย์กำหนด (แนวตอบ 1) จำนวนตน้ โกงกางต่อจำนวนต้นลำพูเปน็ 5 : 7 2) จำนวนตน้ ลำพทู ง้ั หมด 63 ต้น) • ตัวแปร X แทนดว้ ย (แนวตอบ จำนวนตน้ ปลกู ต้นโกงกางทง้ั หมด) • อตั ราส่วนในโจทยข์ อ้ นี้คอื อะไร (แนวตอบ จำนวนต้นโกงกาง ) จำนวนตน้ ลำพู • จะสามารถเขียนเป็นสดั สว่ นได้วา่ อยา่ งไร (แนวตอบ จำนวนตน้ โกงกาง 5 = X ) 7 63 จำนวนต้นลำพู • นกั เรยี นจะมีวิธกี ารแก้โจทย์ข้อน้ไี ด้อยา่ งไร (แนวตอบ ใชก้ ารคณู ไขวแ้ ละการแกส้ มการ จาก 75 = 6X3 จะได้ 5 763 = X ดังนนั้ X = 45 นนั้ คือ นกั ศึกษาและชาวบ้านกลุม่ น้ีปลูกต้นโกงกางทงั้ หมด 45 ตน้ ) • นกั เรยี นจะมีวธิ กี ารตรวจสอบคำตอบได้อย่างไร (แนวตอบ 1) นกั ศึกษาและชาวบ้านปลกู ตน้ โกงกางท้ังหมด 45 ตน้ และจำนวนตน้ ลำพทู ้ังหมด 63 ตน้ 2) จำนวนตน้ โกงกางต่อจำนวนต้นลำพเู ป็น 45 = 45  9 = 5 ซ่ึงเปน็ ไปตามทโ่ี จทย์ 63 63  9 7 กำหนด ดังนั้น นกั ศกึ ษาและชาวบา้ นกลุ่มนี้ปลกู ตน้ โกงกางทง้ั หมด 45 ต้น 10. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอธบิ ายสรปุ ขนั้ ตอนวธิ ีการแกโ้ จทยป์ ัญหาโดยใช้สดั ส่วน ไวด้ งั นี้ (แนวตอบ ขนั้ ตอนวธิ ีการแกโ้ จทยป์ ญั หาโดยใช้สัดส่วนโดยใชแ้ นวคดิ ของโพลยา มี 4 ขั้นตอน ดงั นี้ 1) ข้ันท่ี 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ปัญหา

1.1 สง่ิ ที่โจทยถ์ าม 1.2 สิ่งทโ่ี จทย์กำหนด 2) ข้ันที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา  =  3) ขั้นท่ี 3 ดำเนินการตามแผนที่วางไวเ้ พ่ือค่าหาค่าตัวแปร (ใชค้ วามรู้เรอื่ งสัดสว่ นและการแก้สมการ) 4) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ 11. ครใู หน้ ักเรยี นทำ Exercise 1.2 หน้า 11-14 เป็นการบ้าน 12. ครูทบทวนความรู้ให้แกน่ ักเรียน เร่อื งขนั้ ตอนวิธกี ารแก้โจทยป์ ัญหาโดยใชส้ ดั ส่วนด้วยแนวคิดโพลยา ในหนังสือแบบเรียน (หน้า 14) 13. ครยู กตวั อย่างโจทย์ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์และชว่ ยกันตอบคำถาม ดงั ต่อไปน้ี นำ้ หนกั ของพลอยใสต่อน้ำหนักของแพรวดาวมอี ัตราสว่ นเป็น 6 : 5 และน้ำหนกั ของเพชรพราวต่อ พลอยใส เป็น 7 : 6 ถา้ แพรวดาวมีนำ้ หนกั เป็น 45 กโิ ลกรมั อยากทราบวา่ พลอยใสและเพชรพราวมีน้ำหนัก กีก่ ิโลกรมั • สิ่งท่ีโจทยถ์ าม (แนวตอบ พลอยใสและเพชรพราวมนี ้ำหนกั กก่ี โิ ลกรมั ) • สิ่งที่โจทย์กำหนด (แนวตอบ 1) นำ้ หนกั ของพลอยใสต่อนำ้ หนักของแพรวดาวมีอัตราส่วนเป็น 6 : 5 2) นำ้ หนักของเพชรพราวต่อพลอยใสมีอตั ราส่วนเป็น 7 : 6 3) ถา้ แพรวดาวมีน้ำหนักเป็น 45 กโิ ลกรัม) • ตวั แปร x แทนด้วย, y แทนดว้ ย (แนวตอบ x แทนดว้ ย นำ้ หนกั ของพลอยใส, y แทนด้วย น้ำหนกั ของเพชรพราว ) • อตั ราสว่ นในโจทยข์ ้อน้ีคืออะไร (แนวตอบ 1) น้ำหนักของพลอยใส และ2) น้ำหนกั ของเพชรพราว ) น้ำหนกั แพรวดาว น้ำหนักของพลอยใส • จะสามารถเขียนเปน็ สดั ส่วนไดว้ า่ อยา่ งไร นำ้ หนกั เพชรพราว (แนวตอบ น้ำหนักของพลอยใส

1) 6 = x 5 45 น้ำหนกั แพรวดาว นำ้ หนกั พลอยใส 2) 7 = y ) 6 54 • นกั เรยี นจะมีวิธกี ารแก้โจทย์ข้อน้ไี ด้อยา่ งไร (แนวตอบ ใชก้ ารคณู ไขวแ้ ละการแก้สมการ 2) จาก 75 = 5y4 จะได้ 7 554 = y 1) จาก 6 = x ดังนัน้ y = 63 5 45 จะได้ 6 545 = x ดงั นั้น x = 54 นนั้ คือพลอยใสมีน้ำหนัก 54 กโิ ลกรมั และเพชรพราวมีน้ำหนัก 63 กโิ ลกรัม) • นกั เรียนจะมวี ิธีการตรวจสอบคำตอบได้อยา่ งไร (แนวตอบ 1.) พลอยใสมนี ้ำหนกั 54 กโิ ลกรัม และเพชรพราวมนี ำ้ หนัก 63 กโิ ลกรัม 2.) ถา้ แพรวดาวมนี ำ้ หนักเป็น 45 กโิ ลกรมั จะได้น้ำหนกั ของพลอยใสต่อน้ำหนักของแพรวดาวเปน็ 54 : 45 = 54 9 : 45 9 = 6:5 น้ำหนกั ของเพชรพราวต่อพลอยใสมีอตั ราส่วนเปน็ 63 : 54 = 63 9 : 54 9 = 7 : 6 ซึ่งเป็นไปตามที่โจทย์กำหนด ดังนน้ั พลอยใสมีน้ำหนกั 54 กิโลกรมั และเพชรพราวมีน้ำหนกั 63 กิโลกรัม) 14. ครใู หน้ กั เรยี นจับคู่ศึกษาตวั อย่างที่ 9 - 10 (หน้า 15-16) และให้นักเรียนแต่ละคู่แลกเปล่ียน/หารอื /ปรกึ ษา กนั เองได้ 15. หลังจากน้ันให้นักเรียนลองทำหวั ข้อ “ลองทำดู (หนา้ 17-18)” แลว้ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลย 16. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ ทักษะ 1.2 ระดับกลาง (หนา้ 20) ทำขอ้ 2-3 ใหญ่ หลงั จากนนั้ ครแู ละ นักเรียน ร่วมกันเฉลย 17. ครใู หแ้ บบฝกึ ทักษะ 1.2 ระดับกลาง (หนา้ 20) ทำข้อ 4-6 ใหญ่ เป็นการบา้ น 18. ครเู ฉลยแบบฝกึ ทักษะ 1.2 ระดบั กลาง (หน้า 20) ทำข้อ 4-6 ใหญ่ และครูทบทวนความรู้ให้แก่ นกั เรียน โดย ใหน้ กั เรียนจับคู่ศึกษาเนือ้ หาในหนงั สือเรยี น (หน้า 18 -19) 19. เมือ่ อา่ นเสรจ็ แล้วครูจะให้นักเรยี นลองทำหวั ข้อ“ลองทำดู (หน้า 18, 20)”แลว้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกัน เฉลย

20. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ ทักษะ 1.2 ขอ้ 7-10 ใหญ่ แลว้ ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึก 21. ครูให้นกั เรยี นทำ Exercise 1.2 หน้า 15-16 เปน็ การบ้าน 22. ครแู จกใบงานที่ 1.3 เร่ือง สัดสว่ น ใหน้ กั เรียนทำลงในสมดุ โดยใหจ้ บั กล่มุ ๆ ละ 4-5 คนต่อกลุม่ แล้ว ให้ กลมุ่ เลขค่ีทำข้อค่ี และกลุ่มเลขคทู่ ำขอ้ คู่ เม่อื เสร็จแลว้ แตล่ ะกลุ่มใหส้ ่งตัวแทนออกมานำเสนอ และ แสดงวธิ ี ทำของงานกลุ่มตัวเองใหค้ รู และนกั เรียนตา่ งกลมุ่ ตรวจสอบให้ 23. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ เขยี นแสดงวิธีทำในข้อทร่ี ับผิดชอบลงในสมุดกระดาษ ข้นั สรปุ 1. ครตู งั้ คำถามกับนักเรียนเพือ่ ทบทวนความร้ดู ังต่อไปน้ี • สัดสว่ นคอื อะไร ? (แนวตอบ ประโยคทีแ่ สดงการเท่ากนั ของอัตราสว่ นสองอตั ราสว่ น ) • หลกั การทใ่ี ช้ในการแก้ปญั หาสัดสว่ น (แนวตอบ หลกั การคูณ,หลักการหาร หรือ การคูณไขว้) 2. ครูนักเรียนจดความคดิ รวบยอดลงในสมดุ ส่อื และแหล่งเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 อตั ราสว่ น 2. แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 อัตราสว่ น 3. ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง อัตราส่วนทีเ่ ท่ากนั แหล่งการเรียนรู้ 4. ห้องเรยี น 5. หอ้ งสมดุ 6. อนิ เทอรเ์ น็ต การวัดผลและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ รายการวัด 7.1 การประเมนิ ระหว่าง - ตรวจ Exercise 1.2 - Exercise 1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ น การจดั กจิ กรรมการ - ตรวจแบบฝกึ ทักษะ - แบบฝึกทักษะ 1.2 เกณฑ์ เรียนรู้ 1.2 - ใบงานที่ 1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่าน 1) สดั สว่ น - ตรวจใบงานท่ี 1.3 เกณฑ์

รายการวัด วธิ ีการ เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ 2) นำเสนอขน้ั ตอน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2 การแสดงวิธีทำของ ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ สดั ส่วน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2 3) พฤติกรรมการทำงาน การทำงานรายบคุ คล พฤตกิ รรมการ ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล ทำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกต - ระดบั คุณภาพ 2 4) พฤตกิ รรมการทำงาน การทำงานกลุม่ พฤตกิ รรมการ ผ่านเกณฑ์ กลุ่ม ทำงานกลุ่ม - สังเกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 5) คณุ ลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ มั่น คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. บันทึกความคิดเหน็ ของครูพี่เล้ยี งก่อนสอน .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ลงช่อื .............................................................. วนั /เดอื น/ป.ี ........................... บันทึกความคิดเห็นครูพ่เี ลี้ยงหลงั สอน .......................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................................ วัน/เดอื น/ป.ี ...........................

บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ............................................. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. แนวทางแก้ไข .......................................................................................................................................................................... ลงช่อื นางสาวปยิ มาศ พลวี นักศึกษา วนั /เดือน/ปี 9 ธนั วาคม 2564 ลงช่ือ……………………………………….. (ครพู ี่เล้ียง / ครนู ิเทศ / ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา)

ใบงานที่ 2 การประกันคณุ ภาพการศึกษาทส่ี อดคล้องกบั สถานศึกษา วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้อง กับสถานศึกษาแต่ละระดับ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ระดับปฐมวัย, ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ) 2. เพ่ือใหน้ กั ศึกษามีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการศึกษา ในแตล่ ะระดบั (ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน , ระดบั ปฐมวยั , ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ) 3. เพอ่ื ให้นักศกึ ษาสามารถฝึกปฏบิ ตั งิ านประกันคณุ ภาพการศกึ ษาทีส่ อดคล้องกับสถานศึกษาได้จริง ขอบขา่ ยของงาน ให้นักศึกษา ศึกษาโครงสร้างระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับสถานศึกษา แต่ละระดบั ในแตล่ ะมาตรฐานตามท่ีกำหนดให้ ผู้เกีย่ วข้อง/แหล่งข้อมูล 1. ครูนเิ ทศก์ / ครูพี่เลยี้ ง 2. เอกสารประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

1. กรอบการประเมนิ คุณภาพการศึกษาท่สี อดคลอ้ งกับสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี รอบที่................................................ ประเด็น การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 1. แนวคดิ หลกั ในการประเมินคุณภาพ 1. การประเมนิ คุณภาพภายนอกต้องมีความเช่ือมโยง การศึกษาของสถานศกึ ษา กบั ระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา และ หน่วยงานตน้ สงั กัดในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ทร่ี บั ผดิ ชอบให้ บรรลถุ ึงเปา้ หมายมาตรฐานท่ีกำหนด และรว่ มรบั ผดิ ชอบ ตอ่ ผลการจดั การศกึ ษาทีเ่ กดิ ข้ึน (Accountability) 2. การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความท้าทาย และช่วยกระตุน้ หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งใหเ้ กดิ การสง่ เสรมิ การยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาสสู่ ากล ตามนโยบาย ปฏิรูปการศกึ ษาของรฐั บาล เพือ่ การบรรลเุ ป้าหมาย ท้ังในระดับชาติและระดับนานาชาติ (Empowerment) 2. วัตถุประสงคใ์ นการประเมนิ คุณภาพ 1. สรา้ งมาตรฐานการตรวจประเมิน (Quality Code/ การศึกษาของสถานศกึ ษา Criteria/ Guideline) และส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษาสรา้ ง มาตรฐานการจดั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพทุกระดบั และทุก กล่มุ ประเภท และสรา้ งผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นการประเมิน คุณภาพภายนอกสำหรบั สถานศึกษาทกุ ระดบั และทกุ กลุ่ม ประเภทเพื่อใหเ้ กิดกลไกการขับเคลื่อนจากผู้มหี น้าทีใ่ นการ สร้าง “วฒั นธรรมคณุ ภาพ” ภายในสถานศกึ ษา และการ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาสู่สากลตามแผนยทุ ธศาสตร์ ชาตแิ ละความคาดหวังของประเทศ 2. ประเมนิ คณุ ภาพภายนอกเพอ่ื สะท้อนคณุ ภาพการจัด การศกึ ษา พร้อมทง้ั รายงานสถานการณ์ด้านคุณภาพ การศึกษาเพ่ือให้ข้อมูลแกร่ ัฐบาลในการพิจารณากำหนด นโยบายการพัฒนา ทนี่ ำไปสู่การจัดสรรงบประมาณและ ทรพั ยากรในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของ สถานศกึ ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. เป้าหมายในการประเมนิ คุณภาพการศึกษา มีมาตรฐานสำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกตาม ของสถานศกึ ษา หลักเกณฑท์ ่กี ำหนดไว้ในกฎหมายท่เี กี่ยวข้องติดตามและ

4. วธิ ีการประเมิน ตรวจสอบคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา โดย คำนึงถงึ บริบทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาชาติ 5. ข้นั ตอนการดำเนินงานในการประเมนิ และมาตรฐานระดับสากล พร้อมทั้งรายงานผลการ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของชาตติ ่อ รัฐบาลอย่างต่อเน่ืองทุกปี เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพ การจัดการศกึ ษาของประเทศ การประเมนิ คุณภาพภายนอกจะเป็นการประเมนิ เชงิ คณุ ภาพ เน้นข้อมูลเชิงประจกั ษ์ (Evidence Based) ทส่ี ะท้อนผลลัพธ์การดำเนินงาน โดยใชก้ ารตดั สินใจของ ผเู้ ช่ียวชาญ (Expert Judgment) และการตรวจทานผล การประเมนิ โดยคณะกรรมการประเมนิ ในระดับเดียวกนั (Peer Review) ใหค้ รอบคลุมองคป์ ระกอบ ทั้งระบบแบบ องค์รวม (Holistic Approach) โดยองค์ประกอบของ วิธกี ารประเมนิ คุณภาพภายนอก ดังน้ี 1. การศกึ ษาข้อมลู ดา้ นบรบิ ทพนื้ ฐานของสถานศึกษา (Organization Context) 2. การศกึ ษารายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถาน ศึกษา (Self-Assessment Report: SAR) 3. การลงพน้ื ทีต่ รวจเยย่ี ม (Site Visit) 1. สถานศึกษาประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment) วิเคราะห์ สงั เคราะหผ์ ลการดำเนินงานตามระบบ การประกนั คณุ ภาพภายใน แล้วจัดส่งรายงานการประเมนิ ตนเองท่ีไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากต้นสงั กัดให้ สมศ. ตาม ระยะเวลาและเงอื่ นไขทกี่ ำหนด 2. สมศ. วเิ คราะหข์ อ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา (Pre-Analysis) จากฐานขอ้ มูลของหนว่ ยงานต้นสังกัด เพ่ือตรวจสอบความพรอ้ มดา้ นปัจจัยการดำเนนิ งานของ สถานศึกษาข้นั ตน้ ตามโปรแกรมการตรวจสอบท่ีกำหนด 3. คณะผปู้ ระเมินภายนอกประชุมพจิ ารณาผลการ ดำเนินงานของสถานศกึ ษาจากรายงานการประเมนิ ตนเอง ร่วมกบั ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู พ้ืนฐาน (Pre-Assessment) เพอื่ วางแผนการลงพ้นื ที่ตรวจเยย่ี มตามมาตรฐานและ

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายนอก รวมทง้ั ระบุประเดน็ จุดแขง็ ประเดน็ ปรับปรงุ และกำหนดวนั ลงพ้นื ที่ตรวจเยี่ยม 4. คณะผปู้ ระเมินภายนอกลงพ้ืนทต่ี รวจเยย่ี ม (Site Visit) เพอ่ื ประชุมเสวนาสร้างสรรคร์ ่วมกบั ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี และเกบ็ รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพกับบคุ ลากรหลักฐานเชิง ประจกั ษ์ และหนว่ ยงาน/บคุ คล ท่ีมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งเพ่ิมเติม รวมทั้งทำการรายงานผลประเมนิ ด้วยวาจา 5. คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก (EQA Report) พร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงพฒั นาคุณภาพการศึกษา แลว้ จัดส่ง ให้ สมศ. เพอ่ื พิจารณาให้การรบั รองผลการประเมนิ จากนัน้ สมศ. จะจัดส่งให้กับสถานศกึ ษาและหน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษานนั้ ๆ เพ่ือใช้ ประโยชน์ต่อไป ภายในระยะเวลา 7 วัน นบั ถัดจากวันที่ คณะกรรมการบรหิ าร สมศ. ใหก้ ารรบั รองผลการประเมิน 2. สรุปการประเมินคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับสถานศึกษา ตามกรอบมาตรฐานการศึกษา พทุ ธศกั ราช 2561 ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 2.1 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ระดบั คุณภาพ : ยอดเยยี่ ม 2.1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รยี น ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รยี น แยกตามประเดน็ พิจารณา ดงั น้ี ด้านความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ อยู่ในระดับคุณภาพดีเลศิ คิดเป็นรอ้ ยละ 73.73 และ ความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.18 ด้านความสามารถในการ คดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปัญหาอยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม คิดเป็นร้อยละ 82. 75 ดา้ นความสามารถในการสร้างนวตั กรรม อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.94 ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร อยูใ่ นระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม คิดเป็นรอ้ ยละ 90.35 ดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ผเู้ รยี นบรรลแุ ละมคี วามก้าวหน้า ในการเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษาจากพื้นฐานเดมิ ในดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่างๆ อยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเยยี่ ม คิดเปน็ ร้อยละ 84.01 มีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรือผลการ ทดสอบอน่ื ๆ อยู่ในระดบั คณุ ภาพดีเลศิ และด้านความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยยี่ ม คิดเป็นรอ้ ยละ 97.79 2.1.2 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน

ด้านคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนดอยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม คิดเป็นรอ้ ย ละ 95.14 ดา้ นความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทยอยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม คิดเป็นร้อยละ 92.99 ด้านยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม คิดเปน็ ร้อยละ 96.12 ดา้ นมสี ุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม อยู่ในระดับคณุ ภาพยอดเยยี่ ม คดิ เป็นร้อยละ 97.38 2.2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ยี ม จากการประเมนิ ตนเองในภาพรวมอยใู่ นระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม แยกตามประเดน็ พิจารณา ดังน้ี มีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย พฒั นา ครูและบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการ จดั การ เรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการเรียนรู้ ทุก ประเด็นพจิ ารณา อยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม เม่อื เทยี บกับเกณฑ์การศึกษาของโรงเรยี น 2.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ระดับคุณภาพ : ยอดเยย่ี ม จากการประเมินตนเองในภาพรวมอย่ใู นระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม คิดเป็นร้อยละ 89,54 แยกตาม ประเดน็ พจิ ารณา ดงั น้ี ต้านจัดการเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไประยกุ ติใชใ้ น ชวี ิตได้ อย่ใู นระดับคณุ ภาพยอดเย่ยี ม คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.19 ดา้ นใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหสง เรียนรูท้ เ่ี อื้อตอ่ การเรียนร้อู ยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม คิดเปน็ ร้อยละ 83.66 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ช้ันเรียน เชิงบวกอยใู่ นระดับคุณภาพยอดเยยี่ ม คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.81 ดา้ นตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่าง เป็น ระบบและนำผลมาพัฒนาผเู้ รียนอยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม คิดเป็นรอ้ ยละ 87.58 ด้านการ แลกเปล่ียน เรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม คิด เปน็ รอ้ ยละ 93.46 โดยสถานศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน วางแผนกำหนดแนวทางการ สถานศกึ ษาในอนาคต เพ่อื นำประเด็นมาพจิ ารณาจัดทำเป็นกจิ กรรม โครงการ ประกอบคุณภาพการจดั การศึกษา ให้ได้มาตรฐานที่สูงขึน้ ในปถี ดั ไป ดงั น้ี 1. ส่งเสรมิ ให้ครูวเิ คราะห์ และออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้แบบบูรณาการ สร้างนวัตกรรมทาง การสอน ใช้กระบวนการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาศักยภาพด้านการเรียนรู้ ทักษะการเรยี นรู้ และสมรรถะแห่งศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน โดยที่ครูจะต้องสามารถบูรณาการความรู้ตา่ งๆทม่ี ี มาใชใ้ นการสรา้ งสรรค์และพฒั นาองค์ความรู้ ใหมๆ่ มคี วามคิดวิเคราะห์และสรา้ งสรรค์ สอนให้เด็กมีทักษะกระบวนการคิด โดยสามารถ คดิ วเิ คราะห์ในเรอ่ื ง ต่างๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ เนน้ ใหเ้ ด็กเกิดการเรยี นรู้ โดยการสง่ เสริม การเรียนรแู้ บบ ผเู้ รียนเป็นสำคญั เพ่ือใหเ้ ด็กตกผลึกทางความคิดได้ด้วยตวั เอง และมีโอกาสแลกเปล่ียนความ คิดเหน็ ระหว่าง กนั รู้และเข้าใจเทคโนโลยใี หม่ มีทกั ษะใหม่ๆ พร้อมทง้ั ชแี้ นะข้อดขี ้อเสียใหผ้ ูเ้ รยี นได้ ครูจะตอ้ ง สามารถใช้

เทคโนโลยีสง่ เสริมการศกึ ษาไดห้ ลากหลาย และสามารถช้ใี หเ้ ดก็ เหน็ ถึงขอ้ ดีขอ้ เสยี และการใช้ เทคโนโลยีตา่ งๆ อย่างเหมาะสม 2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรสง่ ผลงาน แนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ นวตั กรรมด้านการเรียน การสอน เข้าประกวดในเวทรี ะดบั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ระดับภาค และระดบั ประเทศอยา่ งต่อเนื่อง 3. สง่ เสรมิ และสนับสนุนผู้เรยี นให้มที ักษะ ความสามารถ มีความพร้อมสำหรบั การแข่งขันทั้งในระดับ เขตพ้ืนท่ี ระดบั ภาค ระดับประเทศ และมีทกั ษะชวี ิต ดำรงชวี ติ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข 4. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้และการบริหารจดั การใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ลงชอื่ ……………………………………….. (ครูพเ่ี ลี้ยง / ครนู ิเทศก์ / ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา)

ใบงานที่ 3 การวิเคราะหแ์ นวทางในการพัฒนาตนเอง วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตนเองนำไปสู่การพัฒนาตนเองให้มี ความเปน็ ครมู อื อาชพี ท่ีเทา่ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทง้ั ทางดา้ นศาสตรว์ ชิ าชีพครู และศาสตรส์ าขาวชิ าเอก ขอบข่ายงาน 1. ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์ตนเอง SWOT นำไปสู่การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นครูมืออาชีพ ทีเ่ ทา่ ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงทง้ั ทางดา้ นศาสตรว์ ิชาชีพครูและศาสตรส์ าขาวชิ าเอก 2. สรุปการเคราะห์ตนเองเพื่อเป็นแนวทางนำไ ปสู่การเป็นครูมืออาชีพที่เท่าทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงท้ังทางดา้ นศาสตร์วิชาชพี ครแู ละศาสตร์สาขาวิชาเอก ผูเ้ กี่ยวข้อง / แหล่งข้อมูล 1. นกั ศกึ ษา 2. ครูพีเ่ ลี้ยง/เพ่ือนกั ศกึ ษา/อาจารยน์ เิ ทศก์

1.วิเคราะห์ SWOT ของตนเอง ชอ่ื ผู้วิเคราะห์ นางสาวปิยมาศ พลวี วิชาเอก คณติ ศาสตร์ วันท่ี 14 เดือน ธนั วาคม พ.ศ 2564 คำอธิบาย หมายความวา่ จดุ แขง็ S (Strength) หมายความวา่ จุดอ่อน W (Weakness) หมายความวา่ โอกาส O (Opportunity) หมายความวา่ อุปสรรค T (Threat) S W (จดุ แข็งของตนเอง) (จุดอ่อนของตนเอง) - มคี วามรับผิดชอบ - คิดมาก - มคี วามขยนั หม่ันเพยี ร - ไม่รอบคอบในการทำงาน - มคี วามอดทน T - มีความม่งุ มน่ั ในการทำงาน (อุปสรรคที่พบเจอ) O - สถานการณ์การแพรร่ ะบาด (โอกาสท่ีตนเองไดร้ ับ) covid-19 ทำใหฝ้ กึ - มผี ใู้ หญค่ อยแนะนำ ช่วยเหลือ ประสบการณ์วิชาชีพครูได้ไม่ เตม็ ที่ และให้การสนับสนนุ

2. สรุปการเคราะห์ตนเองเพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การเป็นครูมืออาชีพที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทง้ั ทางด้านศาสตรว์ ชิ าชพี ครู และศาสตร์สาขาวชิ าเอก จากการวเิ คราะหต์ นเองเพ่ือเปน็ แนวทางนำไปสู่การเปน็ ครูมอื อาชีพสามารถสรุปได้ดังนี้ ข้าพเจา้ เปน็ คนขยนั หม่ันเพียรอดทนมีความรบั ผิดชอบมุ่งม่ันในการทำงานแต่มจี ุดบกพร่องของตนเอง คอื คิดมากและมีความรอบคอบในการทำงานแต่ข้าพเจ้าพร้อมทจ่ี ะพัฒนาตนเองเพื่อเปน็ แนวทาง นำไปสู่การ เปน็ ครูมืออาชพี ที่เทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทัง้ ทางดา้ นศาสตร์วชิ าชีพครูและศาสตรส์ าขาวชิ าเอกโดยจะกลา้ แสดงออกให้มากขึน้ มคี วามรอบคอบมากยิ่งขน้ึ และพัฒนาตนเองให้ มีความเหมาะสมตามหลักจรรยาบรรณ วิชาชพี ครู เพอื่ ให้เป็นท่ียอมรับของบุคคลท่วั ไป หมนั่ ศึกษาและพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ ฝกึ ฝนทักษะในการใช้ เทคโนโลยีเพือ่ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพฒั นา ตัวเองให้เปน็ คนทมี่ ีมนุษย์สมั พนั ธ์ดี กบั บุคคลอ่ืนสามารถ ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ ลงช่อื ปิยมาศ พลวี นกั ศึกษา วัน/เดือน/ปี 14 ธันวาคม 2564 ลงชอ่ื .............................................................. (ครูพี่เลี้ยง/ ครนู ิเทศก)์

ใบงานที่ 4 แบบรายงานโครงการส่งเสริม อนุรกั ษว์ ัฒนธรรม และภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ของสถานศกึ ษา จุดประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจลักษณะของโครงการที่ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ 2. เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถเขยี นโครงการพัฒนาผเู้ รียนตามรปู แบบท่ีกำหนดได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาเขียนรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการเมื่อโครงการเสร็จสิ้นแล้วได้ อย่างถกู ต้อง ขอบขา่ ยของงาน 1. ให้นักศึกษาเขยี นโครงการท่ีส่งเสรมิ อนุรกั ษว์ ัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถนิ่ หรือเขียนโครงการที่ บูรณาการตามเนื้อหาวิชาของตนเองท่สี ่งเสริม อนุรกั ษ์วัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน โดยเขียนตามรูปแบบ ทกี่ ำหนด 2. ให้นักศึกษาดำเนินและเขา้ ร่วมโครงการที่ส่งเสรมิ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ 3. ให้นักศึกษานำผลจากการเรียนรู้โครงการที่ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ของสถานศึกษาเขียนรายงาน และนำไปประเมนิ สะท้อนกลบั (AAR) โดยนำผลมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ทันสมัยและทันต่อ การเปล่ียนแปลง ในวนั สมั มนาหลังฝึกประสบการวชิ าชพี ครู ผเู้ กยี่ วข้อง/ แหล่งข้อมูล 1. ครพู ี่เลีย้ ง 2. ครูผูร้ ับผดิ ชอบโครงการทสี่ ่งเสรมิ อนุรักษ์วฒั นธรรม และภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินของสถานศกึ ษา 3. แผนปฏบิ ัตกิ าร 4. รายงานการประเมินตนเอง (SAR)

1. โครงการส่งเสรมิ อนรุ ักษ์วฒั นธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ชื่อโครงการ การพฒั นาแหล่งเรียนรู้กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวนษิ ฎาพร พรหมวัชรานนท์ โครงการสังกดั กลุ่มงาน/ฝา่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ******************************************************************************* หลักการและเหตผุ ล นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กลา่ วว่า หวั ใจ สำคัญของการจดั กรศึกษาชัน้ พน้ื ฐานคือการสรา้ งและพัฒนาคนไทยเพ่ืออนาคตของประเทศ สร้างคนไทยให้ เปน็ คนดแี ละคนเก่ง มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามคำนยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ มีความเขม้ แข็งทงั้ ร่ายการและจติ ใจ เน้นการอา่ นออก เขยี นไดค้ ดิ วเิ คราะหเ์ ป็น สามารถสร้างวิสยั ทัศน์และวางแผนอนาคตทดี่ ี ของตนเองได้ รวมถงึ รักษาขนบธรรมเนยี มประเพณีอนั ดงี ามของคนไทยและคำนึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมและ ประเทศชาตเิ ป็นหลัก และข้อ 6 กล่าวถึง เรง่ รดั ปรับปรงุ โรงเรียนให้เป็นองคก์ รท่ีมคี วามเขม้ แข็ง มีคุณภาพและ ไดม้ าตรฐานระดบั สากล ตลอดจนตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่ชาติ พ.ศ.2542 ได้กล่าวถึง บรรยากาศของ โรงเรยี นเปน็ สถานอนั เกิดจากการมปี ฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลกบั ส่ิงแวดลอ้ มในโรงเรยี น แลว้ ส่งผลถงึ ความ รูส้ ึกของบุคคล โรงเรียนเฉลมิ ขวญั สตรี โดยกลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษาฯ จึงพฒั นาศนู ย์การเรียนรูอ้ าเซียน สารานุกรมและศูนยก์ ารเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพอ่ื พัฒนาสถานที่ สิ่งแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การ จดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พัฒนาศนู ย์อาเซยี นของโรงเรียนเฉลมิ ขวญั สตรีให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ในการพัฒนาทักษะ กระบวนการและ ศักยภาพของผเู้ รียน 2. เพ่อื พัฒนาหอ้ งสมุดสารานุกรมให้มีประสิทธิภาพและทนั สมัย 3. เพอื่ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามีการจัดสภาพแวดลอ้ มและการบริการท่สี ง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนพฒั นาเตม็ ศักยภาพ โดยประยกุ ต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพ่อื สนบั สนนุ สถานศึกษาใหม้ กี ารสร้าง ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ เปา้ หมาย 1. เชงิ ปริมาณ - ศนู ยก์ ารเรียนรสู้ งั คมศึกษาและสารานกุ รม ศนู ย์การเรียนรู้อาเซยี น มีส่ือการเรียนการสอนสำหรบั ครู และนักเรยี นอยใู่ นสภาพใชก้ ารได้ดี คิดเป็นร้อยละ 90 - นักเรียนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นเฉลมิ ขวญั สตรใี ช้บริการศูนย์การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 80 - นักเรียนไดร้ บั การส่งเสริมหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ร้อยละ 90

2. เชงิ คณุ ภาพ - ผ้ใู ช้บรกิ ารศูนย์สงั คมศึกษามีความพึงพอใจในระดับดี คิดเป็นรอ้ ยละ 90 - โรงเรยี นมีแหล่งเรยี นรู้ในการศึกษาคน้ คว้าเกี่ยวกบั ประชาคมอาเซยี นและมหี อ้ งสมุดสารานกุ รม วิธีดำเนินการ ระยะเวลา ที่ กิจกรรม 2564 2565 หมายเหตุ 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 1 การวางแผน (Plan -P) 1. ศกึ ษาสภาพปจั จุบัน ปญั หา การจัด กจิ กรรม 2. กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 3. ประชมุ ช้ีแจงเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจแนว ทางการดำเนินการ 2 การนำไปปฏิบัติ (Do-D) 1. จดั ซอื้ จัดหาวสั ดุอปุ กรณ์ 2. ปรบั ระบบการบันทึกข้อมูล การรับสง่ หนังสอื ให้เป็นปัจจบุ ัน และทันสมยั 3. จดั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 4. สร้างส่ือการเรยี นการสอน สอนเสรมิ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 5. มลู นธิ ิครอบครวั พอเพียงใหก้ ารอบรม 6. เชิญวิทยากรถอดบทเรียนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 การเรยี นรู้ (Study - S) 1. ประเมินผลการจดั กจิ กรรม 2. วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงาน 3. จัดกิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนร้ถู อด บทเรยี น 4 การปรบั ปรุง (Act -A) 1. ปรับปรุง/แก้ไข เพื่อเปน็ แนวทางในปี ต่อไป 2. สรปุ รายงานผลและเผยแพร่ 3. บรู ณาการกับฐานการเรียนรู้ สารานุกรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

งบประมาณ 36,500 บาท สถานท่ี โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 1. ศนู ย์การเรยี นรู้สังคมศกึ ษามสี ื่อการเรยี นการสอนสำหรบั ครูและนกั เรียนอยใู่ นสภาพใช้การได้ดี 2. ศนู ย์การเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษาเป็นส่วนหน่งึ ของการสร้าง ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศกึ ษาเปน็ สังคม แหง่ การเรยี นรู้ 3. นกั เรยี นนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การประเมนิ โครงการ วิธีประเมินผล เคร่อื งมือประเมินผล ตวั บง่ ชีค้ วามสำเร็จ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินความพงึ พอใจ 1. รอ้ ยละ 90 ของผเู้ กย่ี วข้องมีความพึงพอใจใน สงิ่ แวดล้อมและการจดั สถานศกึ ษาให้เป็นสงั คม - การลงชอ่ื เขา้ รว่ ม - แบบลงทะเบียน แห่งการเรยี นรู้ กิจกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม 2. นักเรียนไดร้ ับการสง่ เสริมความร้ดู ้านปรชั ญา - การสังเกตพฤตกิ รรม - รูปถา่ ย เศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งน้อย 200 คน - การบูรณาการจดั การ - ชิน้ งาน เรียนการสอน - แบบสอบถาม

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook