Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 สนามประเภทเดยี่ ว พ้นื ท่สี นาม พน้ื ท่สี นามควรเปน็ ดนิ เหนยี วหรืออย่างอื่น บริเวณรอบสนาม 1. บริเวณรอบสนาม คือ ส่วนที่ล้อมรอบสนาม ซึ่งเป็นระนาบเดียวกัน และถูก กนั้ ดว้ ยรั้วตาข่ายหรือทีก่ ั้น ท้ังดา้ นหลัง ด้านข้าง โดยไมก่ ดี ขวางการเล่น 2. มีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 8 เมตร บริเวณหลังเส้นและไม่น้อยกว่า 6 เมตร บริเวณ เสน้ ขา้ ง 3. ถ้ามีสนามอยู่ติดกันหลายสนาม ต้องมีพื้นที่ระหว่างเส้นข้างของแต่ละสนาม ไมน่ อ้ ยกว่า 5 เมตร เสาคาํ้ ตาขา่ ย เสาทำจากไม้หรือเหล็ก ถ้าเป็นเสาไม้จะต้องเป็นจัตุรัสขนาด 12 x 12 เซนติเมตรถ้าเป็นเสาเหล็กต้องเป็นเสากลมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 เซนติเมตร ส่วน 45

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 ต่างๆ เช่น ตะขอที่ขึงตาข่ายและอุปกรณ์อื่นๆ ที่ส่วนประกอบของเสาคํ้าตาข่ายให้ถือ เป็นสว่ นหนง่ึ ของเสาคา้ํ ตาข่าย เสาค้ำตาข่าย ตำแหน่งเสาคํ้าตาขา่ ย เสาคํ้าตาข่ายจะติดตั้งอยู่ภายนอกสนาม ณ ตำแหน่งระหว่างกลางของเส้นข้าง ระยะระหวา่ งเสาค้าํ ตาข่ายท้งั สอง คอื 12.80 เมตร และเสามคี วามสงู 1.06 เมตร ตำแหน่งเสาค้ําตาขา่ ย เก้าอีผ้ ู้ตดั สนิ เก้าอี้ผู้ตัดสิน มีความสูง 1.50 เมตร และตั้งห่างออกเสาคํ้าตาข่าย 60 เซนติเมตร 46

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 ขยายความ ข้อกำหนดที่เกี่ยวกับระยะระหว่างเก้าอี้ผู้ตัดสินกับเสาคํ้าตาข่าย 60 เซนตเิ มตรน้นั เก้าอ้ผี ู้ตดั สนิ ตาขา่ ย จะต้องมีรายระเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สีดำ 2. สูง 1.06 เมตร ยาว 12.65 เมตร 3. ตาของตาข่ายไมก่ ว้างกว่า 3.5 เซนติเมตร 4. ลวดขึงตาข่าย มีความยาว 15 เซนติเมตร เสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 4.5 เซนตเิ มตร 5. แถบหุ้มลวดและขอบตาขา่ ยด้านบนเปน็ สขี าว กวา้ ง 5 - 6 เซนตเิ มตร ตาข่าย 47

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 สว่ นสูงของตาข่าย 1. ตาขา่ ยมสี ว่ นสูง 1.06 เมตร ณ บริเวณเสน้ ข้าง และขึงใหต้ งึ 2. ส่วนปลายของตาขา่ ยจะผูกติดกับเสาคํ้าตาขา่ ย ส่วนของตาข่าย จะติดอยู่กับ พ้ืนตลอดแนว 3. ตาข่ายอาจจะไม่สามารถขึงให้ตึงไดต้ ามกฎ แต่ต้องขึงให้ตึงไดม้ ากทีส่ ุดเทา่ ท่ี สามารถทำได้ ลกู ซอฟทเ์ ทนนสิ ลูกซอฟท์เทนนิส เป็นลูกบอลทำจากยางบรรจุอากาศอยู่ภายใน สีขาว และต้อง มีรายละเอยี ดดงั นี้ ลกู ซอฟทเ์ ทนนิส 1. เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 6.6 เซนติเมตร 2. นํ้าหนักระหว่าง 30.31 กรมั ขยายความ ลูกบอลที่จะใช้เป็นทางการจะเป็นสีขาวหรือสีเหลือง ถ้าไม่มีการ ระบุสีของลูกบอลในการแข่งขันให้ถือว่าลูกบอลสีขาว ในระหว่างการเล่นนั้นมีความ เปน็ ไปไดท้ ่สี ลี ูกบอลอาจจะจางลงได้ แต่ให้ถือวา่ ยังคงสภาพของสีดงั้ เดิมอยู่ การกระดอนของลกู ซอฟท์เทนนิส เมื่อปล่อยลูกบอลจากความสูง 1.50 เมตร ณ สนามที่จะใช้เล่นนั้น ลูกบอล จะตอ้ งกระดอนไดส้ งู ระหวา่ ง 65 - 80 เซนตเิ มตร 48

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 ไม้ซอฟทเ์ ทนนสิ ควรจะมีรายระเอียดดงั นี้ 1. ทำด้วยไม้ หรือโลหะ หรือวัสดุอื่นๆ มกี รอบซ่งึ ขงึ ด้วยเสน้ เอน็ 2. มีความยาว 69 เซนติเมตร 3. กรอบมีรูปทรงเปน็ วงรี ยาว 32 เซนติเมตร และกวา้ ง 22 เซนติเมตร 4. ดา้ นไม้ยาว 37 เซนตเิ มตร ขยายความ 1. ให้ใช้ไมซ้ อฟทเ์ ทนนสิ ตามท่ีไดร้ ะบุไวข้ า้ งต้นเทา่ นัน้ 2. ห้ามใชไ้ มซ้ อฟทเ์ ทนนสิ ท่ไี ดม้ กี ารขงึ เอ็นเปน็ รปู แบบอ่นื ทม่ี ี ผลกระทบตอ่ วถิ ีของลกู ผู้ตดั สินคอื ผู้ตรวจสอบและตดั สินวา่ จะอนุญาตให้ใช้ได้หรอื ไม่ ไมซ้ อฟทเ์ ทนนิส Racket X 1. ไมซ้ อฟทเ์ ทนนิสจะต้องถูกออกแบบมาใหบ้ รรลุผลเหมือนกนั ทัง้ สองด้าน โดย กรอบจะถูกขงึ ด้วยเสน้ เอน็ ซ่งึ เม่ือขึงแลว้ จะต้องเป็นหนา้ ราบและมสี มดุลทวั่ ท้งั หน้าไม้ นน้ั 2. หนา้ ไม้จะทำดว้ ยวสั ดุหรือน้าํ หนกั ใดๆ กไ็ ด้ รวมท้ังขนาดและรปู รา่ งดว้ ย 3. เสน้ เอน็ จะต้องถกู ขึงและถกู ยึดตดิ กับตวั ไม้ รวมท้งั เสน้ เอน็ ต้องขงึ ไขวก้ นั ดว้ ย 4. เสน้ เอ็นจะต้องไมท่ ำใหว้ ิถขี องลูกท่ีถกู ตอี อกไปผิดเพย้ี นได้ ประเภทของแรก็ เกต ไม้ซอฟท์เทนนิสมีไม้สองประเภท: ก้านเเดียว สำหรับมือหลัง และก้านคู่ สำหรับมือหน้า ไมซ้ อฟทเ์ ทนนสิ 49

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 กฬี าซอฟท์บอล มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอปุ กรณ์กฬี า 1. สนามแขง่ ขันเป็นพน้ื ที่ใชแ้ ข่งขันได้ย่างถูกกติกา สนามแข่งขันต้องเป็นพื้นที่ว่างที่ไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ อยู่ระหว่างเส้นฟาวล์ทั้ง สองและมีรัว้ กนั้ ด้านนอกอยู่ห่างจากโฮมเพลตเปน็ ระยะดงั นี้ - ไม่น้อยกว่า 60.96 เมตร (200 ฟุต) สำหรับการแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ (ทีมหญิง) - ไม่น้อยกว่า 68.58 เมตร (225 ฟุต) สำหรับการแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ (ทีมชาย) - ไม่น้อยกว่า 80.77 เมตร (265 ฟุต) สำหรับการแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ (ทมี หญงิ ) 50

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 - ไม่น้อยกว่า 83.82 เมตร (275 ฟุต) สำหรับการแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ (ทีมชาย) ให้มีพื้นที่ว่างซึ่งไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ ระหว่างโฮมเพลตกับแบกสต็อป ระหว่าง เส้นฟาวล์กับรั้วกั้นด้านข้าง โดยรั้วกั้นด้านข้างและแบกสต็อปอยู่ห่างจากเส้นฟาวล์และ โฮมเพลตเปน็ ระยะไมน่ อ้ ยกวา่ 7.65 เมตร (25 ฟตุ ) แตไ่ ม่เกิน 9.14 เมตร (30 ฟตุ ) ขนาดมาตรฐานของ สนามแข่งขนั ซอฟท์บอล เขตเตือนผู้เล่น (Warning Track) สนามแข่งขัน ที่มีรั้วกันถาวร ต้องมีเขต เตือนผู้เล่นซึ่งมีพื้นผิวที่แตกต่างจากพื้นผิวของสนามแข่งขัน แต่ต้องมีระดับเดียวกับ พื้นผิวของสนามแข่งขันโดยห่างจากทุกจุดของรั้วกั้นเป็นระยะไม่น้อยกว่า 3.65 เมตร (12 ฟตุ ) แต่ไม่เกิน 4.57 เมตร(15 ฟุต) กรณีที่สนามใช้รั้วกนั้ ชว่ั คราวไม่จำเป็นต้องมีเขต เตอื นผู้เลน่ 51

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 2. กรณีท่ีสนามแขง่ ขันไมไ่ ด้มาตรฐาน โดยมีแบกสต็อปรั้วกั้น อัฒจรรย์ ยานพาหนะ ผู้ชม หรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ไม่ เป็นไปตามระยะที่ระบุไวในข้อ 1 จะทำเป็นข้อตกลงโดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการจัดการแข่งขันหรือทีมคู่แข่งขันก็ได้ และทำเครื่องหมายไว้ให้ผู้ตัดสิน สงั เกตเห็นไดอ้ ย่างชัดเจน ถา้ สนามเบสบอลในการแข่งขนั ต้องดำเนินขวา้ งของพิตเชอรอ์ อกและปรับระยะ ระหวา่ งโฮมเพลตถึงแบกสต็อปให้เป็นไปตามทร่ี ะบุในข้อ 1 3. สนามแข่งขันทไ่ี ด้มาตรฐาน ให้มีระยะระหว่างเบส ระยะพิตซ์ และระยะรั้วกั้นด้านนอก ตามตารางกำหนด ระยะดงั นี้ ประเภท ระดับ ทีม ระยะเบส ระยะพิตซ ระยะร้ัว กั้นดานนอก ท่วั ไป เมตร (ฟุต) เมตร (ฟตุ ) สโลวพ์ ิตซ์ เยาวชนอายุ ไมเกนิ 18 ป ตํา่ สุด ชาย 19.51 (65) 15.24 (50) เมตร (ฟตุ ) เยาวชนอายุ ไมเกนิ 16 ป ชาย 19.81(65) 14.02 (46) ท่ัวไป ชาย 19.81 (65) 14.02 (46) 91.44 (300) เยาวชนอายุ ไมเกิน 18 ป หญงิ 19.81 (65) 14.02 (46) 83.82 (275) เยาวชนอายุ ไมเกิน 16 ป หญงิ 19.81 (65) 14.02 (46) 83.82 (275) ทว่ั ไป หญงิ 19.81(65) 14.02 (46) 83.82 (275) ผสม 19.81 (65) 15.24 (50) 68.58 (225) 68.58 (225) 83.83 (275) หมายเหตุ ในระหว่างการแข่งขัน ถ้าพบว่าระยะระหว่างเบส หรือระยะพิตซ์ไม่ถูกต้อง ตามที่กำหนดไว้ให้แก้ไขถูกต้องเมื่อจะเริ่มอินนิงใหม่แล้วดำเนินการแข่งขันต่อไป ตามปกติ 52

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 4. การทำสนามแขง่ ขัน คำอธิบายนี้เป็นตัวอย่างสำหรับสนามแข่งขันที่มีระยะระหว่างเบส 18.29 เมตร (60 ฟตุ ) และระยะพติ ซ์ 14.02 เมตร (46 ฟตุ ) - ในการกำหนดตำแหน่งของโฮมเพลตให้ลากเส้นตรงในทิศทางที่ต้องการจะให้ เป็นสนามแข่งขัน ตอกหมุดที่มุมของโฮมเพลตด้านไกกับแคตเชอร์มากที่สุด ผูกเชือกกับ หมุดนี้เป็นปมบอกตำแหน่งโฮมเพลตผูกเชือกเป็นปมที่ระยะ 14.02 เมตร (46 ฟุต) 18.29 เมตร(60 ฟุต) 25.86 เมตร (84 ฟตุ 10 1/4 นิ้ว) และ 36.58 เมตร (120 ฟตุ ) - วงเชือก (โดยไม่ต้องดึงให้ตึง) ไปตามทิศทางเส้นตรง และตอกหมุดที่ระยะ 14.02 เมตร (46 ฟุต) จุดนี้จะเป็นจุดกึ่งกลาง ของขอบหน้าของพิตเชอร์เพลต จากน้ัน เลื่อนไปตอกหมุดทีร่ ะยะ 25.86 เมตร (84 ฟตุ 10 1/4 นิ้ว) จุดน้จี ะเป็นกึง่ กลางของเบส สอง สำหรับระยะเบส 19.81 เมตร (65 ฟุต) เส้นตรงนี้จะยาว 28.02 เมตร (91 ฟุต 11 น้ิว) - ผูกปมเชือกที่บอกระยะ 36.58 เมตร (120 ฟุต) ไว้กับหมุดที่เป็นจุดบอก ตำแหน่งจุดกึ่งกลางของเบสสอง แล้วถือปมเชือกที่บอกระยะ 18.29 เมตร (60 ฟุต) ไว้ เดินทางขวาของเส้นตรงเดิมจนกระทั่งเชือกนอกของเบสหนึ่ง และเชือกจะทำให้เกิด เส้นตรงเชื่อมระหว่างเบสหนึ่งกับเบสสองถือปมเชือกที่บอกระยะ 18.29 เมตร (60 ฟุต) แล้วข้ามไปทางด้านซ้ายของเส้นตรงทำแบบเดิมจะได้จุดที่เป็นมุมด้านนอกของเบสสาม โฮมเพลต เบสหนึ่ง และเบสสามทั้งหมดจะอยภู่ ายในเสน้ แสดงสนามแข่งขนั ในการตรวจสอบสนามแข่งขัน ผูกปมเชือกที่ตำแหนง่ โฮมเพลตไว้ที่หมดุ บอกจดุ ที่เป็นมุมด้านนอกของเบสหนึ่ง และนำปมเชือกที่บอกระยะ 36.58 เมตร (120 ฟุต) ไป ผูกไว้กับหมุดที่บอกจุดที่เป็นมุมด้านนอกของเบสสาม ถือปมเชือกที่บอกระยะ 18.29 เมตร (60 ฟุต) เพื่อไปตรวจสอบตำแหน่งที่โฮมเพลตและเบสสอง ในการทำสนามที่มี ระยะเบส 19.81 เมตร (65 ฟุต)ให้ทำตามวิธีการเดิมโดยเปลี่ยนเป็นผูกเชือกเป็นปม ระยะ 19.81 เมตร (65 ฟุต) 39.62 เมตร(130 ฟุต) และ 28.02 เมตร (91 ฟุต 11 นิ้ว) หมั่นตรวจสอบระยะต่างๆ ต่อไปนี้ 53

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 - เส้น 0.91 เมตร (3 ฟุต) โดยเริ่มต้นลากเส้นนี้ที่กึ่งกลางระหว่างโฮมเพลตกับ เบสหนึ่งตั้งฉากออกมาเป็นระยะ 0.91 เมตร (3 ฟุต) แล้วลากขนานเส้นแนวเบสไปจน เสมอเบสหนงึ่ - เขตผู้เล่นรอขนึ้ ตี เป็นวงกลมขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 1.52 เมตร (5 ฟุต) อยู่ถดั จากเขตทีพ่ กั ของทมี มาทางด้านใกลโ้ ฮมเพลต - เขตผู้ตี อยู่ข้างโฮมเพลตด้านละเขต แต่ละเขตกว้าง 0.91เมตร (3 ฟุต) ยาว 2.13 เมตร(7 ฟุต) เส้นที่อยู่ใกล้โฮมเพลต 15.2 เซนติเมตร (6 นิ้ว) เส้นด้านหน้าของเขต อยูห่ ่างจากจดุ กึ่งกลางโฮมเพลต 1.22 เมตร (4 ฟตุ ) เส้นแสดงเขตถือวา่ อยู่ในเขตผู้ตดี ้วย - เขตแคตเชอร์ ต้องมขี นาดกว้าง 2.57 เมตร (8 ฟตุ 5 นวิ้ ) ยาว 3.05 เมตร (10 ฟุต)จากขอบนอกเขตผู้ตี - เขตผู้ฝึกสอน อยู่หลังเส้นตรงยาว 4.57 เมตร (15 ฟุต) เส้นตรงนี้อยู่ห่างจาก เส้นแนวเบสหนึ่ง และเบสสาม 3.65 เมตร (12 ฟุต) เริ่มจุดเสมอเสน้ แนวเบสไปทางดา้ น โฮมเพลต - โฮมเพลต ต้องทำจากยางมีลักษณะเป็นรูป 5 เหลี่ยมโดยด้านที่หันเข้าหาพิต เชอร์มีความกว้าง 43.2 เซนติเมตร (17 นิ้ว) ด้านที่ขนานกับเส้นด้านในของเขตผู้ตีมี ความยาว 21.6 เซนติเมตร (8 1/2 นิ้ว ) อีก สองด้านที่ชี้เข้าหาแคตเชอร์มีความยาว 30.5 เซนติเมตร (12 น้วิ ) - พิตเชอร์เพลต ต้องทำจากยางมีขนาดยาว 61 เซนติเมตร (24 นิ้ว) และกว้าง 15.2 เซนติเมตร (6 นิ้ว) ผิวด้านบนของพิตเชอร์เพลตต้องอยู่ระดับเดียวกับพื้นผิวของ สนามแข่งขันขอบหน้าของพติ เชอรเ์ พลตอยู่หา่ งจากมมุ ด้านนอกของโฮมเพลต ดงั นี้ - ทีมชาย (ประเภทฟาสตพ์ ติ ซ์) 14.02เมตร (46 ฟุต) - ทมี หญิง (ประเภทฟาสต์พิตซ์) 12.19 เมตร (40 ฟุต) - ทีมชาย (ประเภทสโลวพ์ ติ ซ)์ 15.24 เมตร (50 ฟตุ ) - ทีมหญิง (ประเภทโลว์พิตซ)์ 14.02 เมตร (46 ฟตุ ) - (เฉพาะประเภทฟาสต์พิตซ์) ให้มีเขตพิตเชอร์เป็นวงกลมขนาด เส้นผา่ ศูนย์กลาง4.88 เมตร (16 ฟุต) หรอื รัศมี 2.44 เมตร (8 ฟตุ ) หมายเหตุ เสน้ ทแี่ สดงเขตนถี้ อื เป็นส่วนหน่ึงของเขตพติ เชอรน์ ดี้ ว้ ย 54

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 - เบส (นอกเหนือจากโฮมเพลต) ทำจากผ้าใบ หรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม เป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีคามยาวด้านละ 38.1 เซนติเมตร (15 นิ้ว) หนาไม่เกิน 12.7 เซนติเมตร (5 นิ้ว) เบสควรยดึ ติดอยกู่ บั พืน้ สนามแข่งขนั อย่างมน่ั คง ดับเบิ้ลเบส อนุญาตให้ใช้ที่เบสหนึ่งโดย มีขนาดความกว้าง 38.1 เซนติเมตร (15 นิ้ว) ยาว 76.2 เซนติเมตร (30 นิ้ว) ทำจากผ้าใบ หรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม หนาไม่ เกิน 12.7 เซนติเมตร (5 นิ้ว) ครึ่งหนึ่งของเบสอยู่ในเขตแฟร์ ส่วนอีกครึ่งหนึ่งซึ่งมีสี แตกต่างกันอย่างชัดเจนอยู่ในเขตฟาวล์ หมายเหตุ กติกาว่าดว้ ยการใช้ดับเบล้ิ เบส มดี งั นี้ 1. ลูกบอลที่ถูกตีไปกระทบเบสส่วนที่อยู่ในเขตแฟร์บอล ถ้าลูกบอลที่ถูกตีไป กระทบเฉพาะส่วนทีอ่ ยู่ในเขตฟาวลเ์ ปน็ ฟาวล์บอล 2. เม่อื ผูต้ ตี ลี กู บอลเขา้ ไปในสนาม และผู้เล่นพยายามทำเอาต์ที่เบสหน่ึง หรือ (เฉพาะประเภทฟาสต์พิตช์) แคตเชอร์ทำลูกบอลตกถึงพื้นในสไตรค์ที่ 3 ผู้วิ่งแรกเริ่มวิง่ ไปแตะเบสเฉพาะส่วนที่อยู่ในเขตแฟร์ผู้เล่นฝ่ายรับขว้างลูกบอลไปที่เบสหนึ่ง แล้วขอ อุทธรณ์ก่อนผู้วิง่ แรกเรม่ิ กลับมาทเ่ี บสหน่งึ ผวู้ ่งิ แรกเร่มิ จะถกู ขานเอาต์ หมายเหตุ ถอื เปน็ กรณเี ดียวกบั การแตะเบสพลาด 3. ผู้เล่นฝ่ายรับต้องใช้เบสส่วนที่อยู่ในเขตแฟร์เทา่ นั้น เว้นแต่ผู้เล่นฝ่ายรับขวา้ ง ลูกบอลจากเขตฟาวล์ทางด้านเบสหนึ่งไปที่ผู้เล่นฝ่ายรับที่เบสหนึ่งในขณะที่เป็นบอลอิน เพลย์ท้งั ผวู้ ่ิงแรกเรมิ่ และผู้เล่นฝ่ายรบั ใช้เบสสว่ นใดก็ได้ 4. หลงั จากวิ่งผ่านเบสหนึ่งแล้ว ผูว้ ิ่งแรกเรมิ่ ต้องกลบั มาแตะเบสส่วนทีอ่ ย่ใู นเขต แฟร์ 5. ผู้ตีลูกบอลออกไปยังเอาต์ฟีลด์ ไม่มีการพยายามทำเอาต์ที่เบสหนึ่ง ผู้วิ่ง แรกเริม่ จะแตะเบสสว่ นใดกไ็ ด้ 6. กรณีเป็นฟลายบอลที่ผู้วิ่งจะออกเบสได้หลังจากผู้เล่นฝ่ายรับสัมผัสฟลาย บอลคร้งั แรกแลว้ ผวู้ งิ่ ตอ้ งใช้เบสส่วนท่อี ยู่ในเขตแฟร์ 7. กรณีผู้เล่นฝ่ายรับพยายามทำเอาต์ผู้วิ่งบนเบสหนึ่งที่กำลังขโมยเบส ถ้าผู้วิ่ง กลบั มายังเบสหนึ่งต้องใช้เบสสว่ นที่อย่ใู นเขตแฟร์ 55

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 8. เมือ่ ผ้วู ง่ิ กลบั มาครอบครองเบสส่วนท่อี ยใู่ นเขตแฟร์ แลว้ ผูว้ งิ่ อยูบ่ นเบสส่วนที่ อยู่ในเขตฟาวลเ์ ท่านน้ั ถือว่า ผวู้ ่ิงไม่อยู่บนเบส และจะถกู ขานเอาตไ์ ด้ 1. เมือ่ ฝ่ายรับนำลกู บอลมาแตะตัว 2. เม่ือพิตเชอรท์ ำการพิตซ์ แล้วผ้วู งิ่ ออกจากเบสสว่ นท่ีอยใู่ นเขตฟาวล์ หมายเหตุ ตอ้ งใชด้ ับเบลิ้ ิล เบสในการแขง่ ขันชงิ ชนะเลศิ ของโลก 1. ไมต้ สี ำหรับใช้ในการแข่งขนั 1.1 ให้ทำด้วยไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียว หรือประกอบด้วยไม้ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปยึดติด เข้าด้วยกันโดยนํ้ายาเป็นตัวประสาน โดยให้ลายของไม้ทกุ ชิ้นขนานไปตามความยาวของ ไม้ ไมต้ สี ำหรับใชใ้ นการแขง่ ขนั 1.2 ทำด้วยโลหะ ไม้ไผ่ พลาสติก กราไฟต์ คาร์บอน แมกนีเซียม ไฟเบอร์กลาส เซรามิก หรือวัสดุอื่นที่สหพันธ์ซอฟท์บอลนานาชาติให้การรับรอง (คณะกรรมการ มาตรฐานอปุ กรณข์ องสหพันธ์ฯ) หมายเหตุ : ไม้ตีที่ทำหรือประกอบด้วยไททาเนียมอัลลอยด์ประเภท Timetal 15 - 3หรือ Teledyne 15 - 333 ให้ระงับใช้เป็นการชั่วคราวสำหรับการแข่งขันชิง ชนะเลศิ ระดับนานาชาติจนกวา่ จะได้รับการตรวจสอบและสหพันธ์ฯ ให้การรบั รอง 1.3 สามารถประกอบเป็นชั้นๆ ได้ แต่ต้องประกอบด้วยเฉพาะไม้หรือนํ้ายา ประสานและน้ํายาเคลอื บไมอ้ ยา่ งใส (ถ้าม)ี 1.4 ให้มีรูปร่างกลมและมีผิวเรยี บ 56

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 1.5 ไม่ให้ยาวกว่า 86.4 เซนติเมตร (34 นิ้ว) หรือหนักกว่า 1,007.0 กรัม (38 ออนซ์) 1.6 เส้นผ่าศนู ย์กลางสว่ นท่ีใหญ่ท่สี ุดไมใ่ ห้เกิน 5.7 เซนติเมตร (2 1/4 นว้ิ ) กรณี ไมต้ รี ปู ร่างกลมอนญุ าตใหไ้ ม้ตีมีขนาดใหญก่ ว่ามาตรฐานได้ไมเ่ กนิ 0.80 มิลลเิ มตร (1/32 นว้ิ ) 1.7 ถ้าเปน็ ไม้ตีชนดิ ทำดว้ ยโลหะ ด้ามของไมต้ ีจะมลี กั ษณะงอก็ได้ 1.8 ไม่ให้มีหมุด สลัก ผิวขรุขระ หรือแหลมคม หรือตัวยึดภายนอกอื่นใดยื่น ออกมาในลกั ษณะทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดอันตรายได้ ไม้ตีโลหะตอ้ งไม่มีส่วนท่ีหยาบและรอยรา้ ว 1.9 ถา้ เป็นไม้ตชี นดิ ทท่ี ำด้วยโลหะ ไม่ให้มีดา้ มเป็นไม้ 1.10 ให้มีผ้าพันด้ามที่ทำด้วยคอร์กเทป (ซึ่งไม่ใช้เทปพลาสติกแบบเรียบ) หรือ วัสดุอื่นๆต้องพันด้ามยาวไม่น้อยกว่า 25.4 เซนติเมตร (10 นิ้ว) และไม่เกิน 38.1 เซนติเมตร (15 นิว้ )เมือ่ วัดจากโคนด้ามอนุญาตใหใ้ ช้เรซิน ยางสนหรอื สเปรย์ ทาบนด้าม เพ่อื ความกระชับได้ หมายเหตุ เทปที่ใชส้ ำหรับพันดา้ มจะต้องพันเป็นเกลียวต่อเนื่องและจะต้องพัน ไม่เกนิ กว่า 2 ชั้น 1.11 ถ้าเป็นโลหะและด้านที่ปิดหัวไม่ใช่โลหะชิ้นเดียวกันกับตัวไม้ตี ให้ใช้แผ่น ปิดหัวซึ่งทำด้วยยางพลาสติก หรือวัสดุที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการมาตรฐาน อปุ กรณข์ องสหพนั ธ์ฯ ยึดตดิ กับตัวไมต้ ีอย่างมน่ั คง 1.12 ให้มีปุ่มที่โคนไม้ตีเพื่อความปลอดภัยในการใช้ไม้ตียื่นออกจากด้ามจับใน แนวตั้งฉากเป็นระยะไม่น้อยกว่า 0.6 เซนติเมตร (1/4 นิ้ว) ปุ่มนี้จะทำขึ้นด้วยการหล่อ กลึง เชื่อมหรือขันติดแน่นถาวรก็ได้ ไม้ตีที่มีด้ามจับเป็นทรงกรวยหรือผายออก เป็นไม้ตี ดัดแปลง 1.13 ให้มีข้อความ “Ofcial ISE Approved Softball” หรือข้อความอื่นที่ แสดงให้เห็นเด่นชัดว่าได้รับการรับรองจากคณะกรรมการมาตรฐานอุปกรณ์ของสหพันธ์ ฯ ถ้าข้อความดังกล่าวลบเลือนไป เนื่องจากการสึกกร่อนของไม้ตี อนุญาตให้ใช้ไม้ตี ดังกลา่ วในการแขง่ ขันตอ่ ไปได้ถา้ ไม่ขัดกับข้ออ่นื ๆ ทร่ี ะบไุ ว้ 57

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.14 นํ้าหนัก การกระจายของน้ําหนักหรือความยาวของไม้ตีจะต้องถูกกำหนด แน่นอนในขณะที่ผลิตและจะดัดแปลงใดๆ ไม่ได้อกี เวน้ แตท่ ่ีไดร้ ะบุไว้โดยเฉพาะในกติกา หมวด 3 ข้อ 1 2. ไม้ตีสำหรบั ใช้ในการอบอุน่ ร่างกาย ไม้ตีสำหรบั ใช้ในการอบอุ่นร่างกายต้องทำจากวัสดุช้ินเดียว มีผ้าพันด้ามจับเพ่ือ ความปลอดภัย รวมทั้งต้องมีคำว่า “Warm-Up” ขนาด 3.2 เซนติเมตร (1 1/4 นิ้ว) ท่ี ปลายไมต้ ีและปลายไมต้ มี ีขนาดไมเ่ กนิ 5.7 เซนตเิ มตร (2 1/4 นว้ิ ) 3. ลูกบอลสำหรับใชใ้ นการแข่งขนั 3.1 ใหม้ ผี ิวเรยี บ ตะเข็บเรยี บ และซ่อนด้ายเยบ็ เอาไว้ 3.2 ให้มีแกนกลางที่ทำด้วยนุ่นชนิดเส้นใยยาวคุณภาพชั้น 1 ทำด้วยส่วนผสม ของคอร์กกับยางส่วนผสมของโพลียูรีเทน หรือวัสดุอื่นที่คณะกรรมการมาตรฐาน อปุ กรณข์ องสหพันธฯ์ ใหก้ ารรบั รอง ลูกบอลสำหรบั ใชใ้ นการแขง่ ขัน 3.3 จะพันด้ายชนิดคุณภาพดีทับรอยแกนกลางด้วยมือ หรือด้วยเครื่องจกั รก็ได้ 3.4 ใหห้ มุ้ ด้ายท่ียดึ อยกู่ ับลกู บอลโดยการทากาวทด่ี ้านในของวัสดหุ ่อหุ้มนั้นและ เย็บด้วยด้ายที่เป็นฝ้ายหรือลินิน หรือวัสดุที่หล่อขึ้นมายึดติดกับแกนกลาง หรือหล่อ รวมเข้ากับแกนกลางและมีลักษณะรอยเย็บแบบเดียวกัน และคณะกรรมการมาตรฐาน อปุ กรณข์ องสหพันธ์ฯให้การรบั รอง 3.5 ให้มีวัสดุห่อหุ้มทำด้วยหนังม้า หรือหนังวัวคุณภาพดีที่สุด วัสดุสังเคราะห์ หรอื วสั ดอุ ื่น ทค่ี ณะกรรมการมาตรฐานอุปกรณ์ของสหพันธ์ฯ ใหก้ ารรบั รอง 58

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 3.6 ลูกบอลสำหรับใช้ในการแข่งขันชิงชนะเลิศที่สหพันธ์ฯ จัดขึ้นต้องได้ มาตรฐานที่กำหนดและตอ้ งมีข้อความทไ่ี ดร้ ับอนุญาตใหใ้ ช้ และอนุมัติโดยคณะกรรมการ มาตรฐานอุปกรณ์ของสหพนั ธฯ์ 1. ใช้ลูกบอลที่มีขนาดระบุ 30.5 เซนติเมตร (12 นิ้ว) มีขนาดเส้นรอ บวงตั้งแต่ 30.2 เซนติเมตร (11 7/8 นิ้ว) ถึง 30.8 เซนติเมตร (12 1/8 นิ้ว) และมีน้ํา หนักระหว่าง 178.0 กรัม (6 1/4 ออนซ์) ถึง 198.4 กรัม (7 ออนซ์) ลูกบอลชนิดตะเขบ็ เรยี บ ให้มีรอยเยบ็ ไมน่ ้อยกว่า 88 รอยในแต่ละชน้ิ ของวัสดุหอ่ หุ้มนนั้ และโดยวธิ ี 2 เข็ม 2. ใช้ลูกบอลที่มีขนาดระบุ 27.9 เซนติเมตร (11 นิ้ว) มีขนาดเส้นรอ บวงตั้งแต่ 27.6 เซนติเมตร (10 7/8 นิ้ว) ถึง 28.3 เซนติเมตร (11 1/8 นิ้ว) และมีนํ้า หนักระหว่าง 166.5 กรัม (5 7/8 ออนซ์) ถึง 173.6 กรัม (6 1/8 ออนซ์) ลูกบอลชนิด ตะเข็บเรียบให้มีรอยเย็บไม่น้อยกว่า 80 รอยในแต่ละชิ้นของวัสดุห่อหุ้มนั้นและเย็บโดย วธิ ี 2 เข็ม 3. ลูกบอลที่สมบูรณ์ต้องมีค่าสัมประสิทธิ์ของการคืนสภาพเดิม ตามท่ี กำหนดไว้โดยคณะกรรมการมาตรฐานอปุ กรณข์ องสหพันธฯ์ 3.7 ลูกบอลขนาด 12 นิ้วชนิดด้ายสีขาวให้ใช้ในการแข่งขันชิงชนะเลิศของ สหพันธฯ์ ต่อไปนี้ การแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ระดับทั่วไปทีมชายและทีมหญิง ประเภทฟาสต์ พิตซ์และสโลว์พิตซ์ระดับเยาวชนทีมชาย และประเภทฟาสต์พิตซ์ระดับเยาวชนทีมหญิง (เรมิ่ ในปี ค.ศ. 2002 ลูกบอลขนาด 12 นิ้ว ชนดิ ดา้ ยสีขาว ใหม้ ีค่า COR ไมเ่ กนิ 0.47) 3.8 ลูกบอลขนาด 12 นิ้ว ชนิดด้ายสีแดงที่มีค่า COR ไม่เกิน 0.47 ให้ใช้ในการ แข่งขันประเภทสโลว์พิตซ์ระดับทั่วไปทีมชายและทีมผสม และต้องมีเครื่องหมาย MSP- 47 บนลกู บอลนอกเหนือจากเครือ่ งหมายของสหพันธฯ์ 3.9 ลูกบอลขนาด 11 นิ้ว ชนิดด้ายแดงที่มีค่า COR ไม่เกิน 0.47 ให้ใช้ในการ แข่งขันประเภทสโลว์พิตซ์ระดับทั่วไปทีมหญิงและทีมผสม ระดับเยาวชนทีมหญิง และ ตอ้ งมเี คร่อื งหมายGWSP-47 บนลูกบอลนอกเหนือจากเครื่องหมายของสหพนั ธ์ฯ 3.10 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2002 สำหรับลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันชิง ชนะเลิศของสหพันธ์ฯ แรงอัดที่ทำให้ลูกบอลเล็กลง 0.25 นิ้ว ต้องไม่เกิน 525 ปอนด์ 59

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 เมื่อทำการทดสอบลูกบอลนั้นตามวิธีการทดสอบของ ASTM สำหรับวัดแรงกด – การ หดตวั ของลกู บอลซ่งึ ไดร้ ับการรบั รองจากคณะกรรมการมาตรฐานอปุ กรณ์ของสหพันธ์ฯ ตารางแสดงขนาดมาตรฐานของลูกบอล ลกู บอล ขนาด น้าํ หนัก ขอความ ตาํ่ สุด สงู สดุ แสดงท่ีลกู บอล ขนาดระบุ ใชก้ บั สีดา้ ย ตํ่าสดุ สูงสดุ 178.0 กรมั 198.4 กรัม ตรา ISF 30.5 ซม. ฟาสตพิตซ ขาว 30.2 ซม. 30.8 ซม. (6 1/4 ออนซ) (7 ออนซ) MSP-47 178.0 กรมั 198.4 กรมั และตรา ISF (12 นว้ิ ) (11 7/8 นิว้ ) (12 1/8 น้ิว) (6 1/4 ออนซ) (7 ออนซ) GWSP-47 166.5 กรมั 173.2 กรัม และตรา ISF 30.5 ซม. สโลวพติ ซ แดง 30.2 ซม. 30.8 ซม. (5 7/8 ออนซ) (6 1/8 ออนซ) (12 นวิ้ ) (11 7/8 นิ้ว) (12 1/8 นว้ิ ) 27.9 ซม. สโลวพติ ซ แดง 27.6 ซม. 28.3 ซม. (11 นวิ้ ) (10 7/8 นว้ิ ) (11 1/8 นว้ิ ) 4. ถงุ มอื หรอื โกลฟ (Glove) และมิตต์ (Mitt) 4.1 ถุงมือจะมีลักษณะที่นิ้วทั้ง 5 นิ้วแยกจากกัน แล้วร้อยนิ้วทั้ง 4 ที่บริเวณ ปลายนิว้ ให้ติดกนั ดว้ ยหนัง ผู้เลน่ ตำแหนง่ ใดจะใชถ้ ุงมอื ประเภทน้ีก็ได้ 4.2 มติ ต์เป็นถงุ มือทีม่ ีลักษณะพเิ ศษ คอื ไม่แยกนิว้ ซงึ่ อนุญาตให้ใช้เฉพาะผ้เู ลน่ ตำแหน่งแคตเชอร์และผู้เล่นเบส 1 เท่านั้นที่จะใช้มิตต์ได้ โดยถุงมือของแคตเชอร์ (Catcher’s Mitt) จะมีความหนาเป็นพิเศษ และตาข่ายระหว่างน้ิวหวั แม่มือกับนิ้วช้ีต้อง ยาวไม่เกนิ 12.7เซนติเมตร (5 น้วิ ) ถุงมือหรือโกลฟ และมติ ต์ 60

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 4.3 ถุงมือของพิตช์เชอร์ตอ้ งมสี เี ดียว และไม่เป็นสีขาวหรือสีเทาสำหรับผู้เล่นใน ตำแหนง่ อ่ืน ใช้ถุงมือท่ีมหี ลายสีได้ 4.4 ถุงมือซึ่งมีวงกลมสีขาวหรือสีเทาที่ด้านนอก ทำให้ดูเสมือนเป็นลูกบอล ถือ วา่ เปน็ ถุงมอื ทผี่ ิดกติกา 4.5 การใช้ถุงมือ ผู้เล่นที่ถนัดขวาจะสวมถุงมือข้างซ้าย และผู้เล่นที่ถนัดซ้ายจะ สวมถุงมอื ขวา เนื่องจากต้องใชม้ อื ขา้ งทถ่ี นดั ในการขวา้ งลูก 5. รองเท้า รองเทา้ สำหรับการแขง่ ขนั ทำด้วยหนัง ผ้าใบ หรอื วัสดอุ ่นื ทคี่ ล้ายคลงึ กนั 5.1. พ้นื รองเท้าจะเปน็ ชนิดพื้นเรยี บหรอื มีครบี ยางอย่างแขง็ หรืออย่างออ่ นกไ็ ด้ 5.2 รองเท้าจะมีแผน่ โลหะ (Cleat) ตดิ อยทู่ ี่พน้ื หรอื ส้นรองเทา้ กไ็ ด้ ปมุ่ หรือครีบ โลหะยาวไม่เกนิ 1.9 ซม. (1/4 นว้ิ ) รองเท้าชนดิ ทม่ี ปี ่มุ โลหะกลมเป็นรองเทา้ ทผี่ ดิ กติกา 5.3 ไม่อนุญาตให้ใช้รองเท้าที่มีปุ่มพลาสติกแข็ง ไนล่อน หรือโพลียูรีเทน ซึ่ง คล้ายกับแผน่ โลหะทีต่ ดิ อยู่ทพี่ นื้ หรอื ส้นรองเทา้ ในการแข่งขันทกุ ประเภทและทุกระดับ 5.4 ไม่อนุญาตให้ใช้รองเท้าซึ่งมีอุปกรณ์ยึดปุ่มหรือครีบที่โพล่พ้นพื้นออกมาใน การแข่งขนั แตอ่ นุญาตใหใ้ ช้ได้หากอปุ กรณย์ ดึ ปุม่ หรือครบี ไมโ่ พล่พ้นพืน้ ออกมา 6. อปุ กรณป์ ้องกนั (Protective Equipment) 1. หน้ากาก (Mask) เป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับผู้เล่นตำแหน่งแคตเชอร์ใช้ในคณะแข่งขันหรือ ฝึกซ้อมโดยสวมที่ใบหน้า ในขณะรับลูกบอลจากการพิตซ์ของผู้เล่นตำแหน่งพิตซ์เชอร์ ซึ่งจะต้องมีส่วนป้องการลำคอติดเป็นชิ้นเดียวกับหน้ากาก หรืออุปกรณ์แยกชิ้นกัน จะตอ้ งประกอบเข้ากับหน้ากากให้เรยี บรอ้ ยก่อนทำการแข่งขัน 61

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 - สำหรับการแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์ แคตเชอร์ต้องสวมหน้ากาก อุปกรณ์ ป้องกันลำคอและหมวกป้องกัน ผู้เล่นอาจใช้หน้ากากที่มีลวดยื่นออกมาป้องกันลำคอ แทนหน้ากากแบบแยกชิ้นที่ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันลำคอประกอบเข้าไปก็ได้ แต่ไม่ สามารถใช้หน้ากากพลาสติกชนิดแนบใบหน้าการแข่งขันประเภทโลว์พิตช์ แคตเชอร์ใน ระดับเยาวชนต้องสวมหน้ากากโดยสามารถใช้หน้ากากแบบที่ใช้ในการแข่งขันฮอกกี้น้ํา แข็งก็ได้ 2. อุปกรณ์ป้องกันลำตัว (Chest Protector) ประกอบด้วย แผงป้องกัน หน้าอกและลำตัว (Chest Protector) สำหรับป้องกันลำตัวและหน้าอกของผู้เล่น ตำแหน่งแคตเชอร์ใช้ในการที่รับลูกจากการพิตเชอร์ โดยในการแข่งขันประเภทฟาสต์ พิตซ์กำหนดให้แคตเชอร์หญิงและแคตเชอร์ระดับเยาวชนทั้งชายและหญิงจะต้องสวม อุปกรณป์ ้องกนั นี้ลงทำการแขง่ ขนั 3. อุปกรณ์ป้องกันหน้าแข้ง (Leg Guard) เป็นอุปกรณ์ป้องกันหน้าแข้งและ หัวเข่าของผู้เล่นตำแหน่งแคตเชอร์ ใช้ในขณะที่รับลูกจากการพิตช์ของพิตเชอร์ โดยใน การแข่งขันประเภทฟาสต์พิตซ์กำหนดให้แคตเชอร์หญิงและแคตเชอร์ระดับเยาวชนท้ัง ชายและหญงิ จะตอ้ งสวมอปุ กรณป์ ้องกนั นี้ลงทำการแข่งขัน 4. หมวกปอ้ งกนั (Helmet) เป็นอปุ กรณ์ป้องกันศีรษะของผตู้ ี ผเู้ ลน่ รอตีและผู้ ว่งิ ของทีมรุกขณะทำการรุก และผเู้ ลน่ ตำแหนง่ แคตเชอร์ของทีมรับ ทำจากพลาสตกิ แข็ง ภายในบดุ ว้ ยวัสดุกนั กระแทก หมวกปอ้ งกนั หรอื แฮลแมทของผเู้ ลน่ ทีมรุกจะต้องมีส่วนที่ ครอบป้องกันใบหูทั้งสองข้างและมีปีกหมวกด้านหน้า ส่วนหมวกป้องกันของแคตเชอร์ อาจเป็นชนิดครอบศีรษะไม่จำเป็นต้องมีที่ครอบใบหูและปีกหมวกด้านหน้าก็ได้ หมวก 62

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 ป้องกันที่ร้าว แตกเป็นรอยบุบหรือถูกดัดแปลงเป็นหมวกป้องกันที่ผิดกติกา และต้องนำ ออกจากการแขง่ ขัน 7. เคร่ืองแตง่ กาย 1. หมวกแกป๊ 1.1 ผู้เล่นชายต้องสวมหมวกแก๊ปเหมือนกัน และสวมอย่างถูกต้อง ตามทค่ี วรจะเป็น 1.2 ผู้เล่นหญิง จะเลือกสวมหมวกแก๊ปหมวกชนิดที่มีแต่กระบังหน้า สายคาดศีรษะหรือสวมคละกันก็ได้ หากมีการสวมคละกัน ต้องมีสีและรูปแบบเดียวกัน ในแต่ละชนิด ยกเว้นผู้เล่นฝ่ายรับจะเลือกสวมหมวกป้องกันที่ได้รับการรับรอง ซึ่งมีสี เดียวกบั สหี มวกของทีมกไ็ ด้ 2. เสื้อตวั ใน ผู้เล่นอาจจะสวมชุดแข่งขันที่มีเสื้อตัวในสีเดียวกัน (อาจเป็นสีขาว) อกี ตัวหนึ่งก็ได้ไม่บังคับว่าทุกคนต้องสวมเสื้อใน แต่ถ้าสวมมากกว่า 1 คนแล้ว เสื้อตัวในที่ สวมต้องเหมือนกันผู้เล่นต้องไม่สวมเสื้อตัวในที่ไม่อยู่ในสภาพที่เรียบร้อย เช่น ขาดวิ่น หลดุ ล่ยุ มีรอยตัดหรือรอยฉีก 3. กางเกง/กางเกงสไลด์ กางเกงของผู้เล่นต้องเหมือนกันทั้งทีมไม่ว่าจะเป็นขายาวหรือขาสั้น ผู้ เล่นจะสวมกางเกงสไลด์ที่มีสีเดียวกันอีกตัวหนึ่งก็ได้ ไม่บังคับว่าทุกคนต้องสวมกางเกง สไลด์ แต่ถ้าสวมมากกว่า 1 คนแล้ว กางเกงสไลด์ที่สวมต้องเหมือนกัน เว้นแต่เป็นชุด แบบสำเร็จรูปซ่งึ ใชส้ วมทับเป็นครัง้ คราว 4. หมายเลขเสือ้ ต้องเป็นเลขอารบิกและอยู่ด้านหลังเสื้อแข่งขันทุกตัว มีขนาดความสูง ไม่น้อยกว่า 15.2 เซนติเมตร (6 นิ้ว) มีสีตัดกับสีเสื้อผู้จัดการทีม ผู้ฝึกสอน และผู้เล่นใน ทีมเดียวกันจะสวมเสื้อที่มีหมายเลขเดียวกันไม่ได้ ให้ใช้เลขจำนวนเต็มตั้งแต่ 01 ถึง 99 เท่าน้นั 5. ชอื่ จะมชี ่ือของผู้เลน่ อยเู่ หนือหมายเลขด้านหลังของเสอ้ื แข่งขนั ได้ 63

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 6. เคร่อื งประดับ เครื่องประดับทุกประเภทซึ่งอยู่ในที่เปิดเผย ได้แก่ นาฬิกาข้อมือกำไล ขอ้ มอื ตุม้ หู สรอ้ ยคอ ฯลฯ ซ่งึ ผ้ตู ัดสินเหน็ วา่ เปน็ อันตรายจะสวมลงแขง่ ขนั ไม่ได้ สำหรับ สร้อยคอหรือกำไลข้อมือ ซึ่งใช้ด้วยเหตุผลทางการแพทย์ ไม่ถือว่าเป็นเครื่องประดับ แต่ ต้องใช้เทปยดึ ติดไว้กบั ตัวให้ดี 64

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 กีฬาทางอากาศ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณ์กีฬา ประเภทร่มบิน 1. มาตรฐานสนามแข่งขนั และอุปกรณก์ ีฬา มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กีฬาจะถูกอ้างอิงจากกฎระเบียบของ สหพันธ์กีฬาทางอากาศนานาชาติ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Sporting Code Section 10 จะมี การอพั เดทในการประชุม CIMA Plenary Meeting ในทุกๆปี และสามารถค้นหาได้จาก https://www.fai.org/cima-documents 1.1 สนามแขง่ ขัน โดยพ้ืนที่ในการแข่งขันจะแบ่งได้เปน็ 3 สว่ น ได้แก่ 1.1.1 จุดปล่อยตัว ( TAKE-OFF ) เป็นพื้นที่โล่งแจ้งไม่มีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้, สายไฟ และ ภูเขา หากกระแสลมที่มาจากทางเหนือ จะจัดสนามเทคออฟไว้ ด้านข้างและเหนือลม เส้นทางการเทคออฟ จะเป็นในทิศทางของลูกศรสีแดง จะเป็น ลักษณะส่วนลมออกไป เพื่อให้ตัวร่มนั้นรับลมพร้อมกับเร่งเครื่องยนต์จะทำให้ตัวร่มยก ตวั ข้ึน 1.1.2 จุดลง ( LANDING ) เป็นพื้นที่โล่งแจ้งไม่มีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้, สายไฟ และภูเขา หากมี กระแสลมที่มาจากทางเหนือ จะจัดสนามแลนด์ดิ้งไว้ด้านข้างและอยู่ใต้ลม เมื่อทำเกม 65

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 เสร็จจะไม่มาขวางการเทคออฟ จะเป็นในทศิ ทางของลกู ศรสแี ดง จะเป็นลักษณะส่วนลม เข้ามา เพื่อให้ตัวร่มนั้นรับลมพร้อมกับเบาเครื่องยนต์จะทำให้ร่มนั้นมีอัตราร่อนลงมา ดว้ ยความเร็วทตี่ ่ำและปลอดภยั 1.1.3 พื้นทที่ ำเกมส์ ( GAME AREA )เสร็จจะไม่มาขวางการเทคออฟ จะเปน็ ในทศิ ทางของลูกศรสแี ดง จะเปน็ ลกั ษณะสว่ นลม เข้ามา เพื่อให้ตัวร่มนั้นรับลมพร้อมกับเบาเครื่องยนต์จะทำให้ร่มนั้นมีอัตราร่อนลงมา พื้นดว้ ทยคีว่ทามเำร็วเทกต่ี ่ำแมละสปล์จอดะภยั ถูกจัดเอาไว้ด้านข้างสนาม และต้องไม่มีสิ่ง กีดขวางการทำเกม โดยเกมส์ของร่มบินจะมีอยู่ 4 เกมส์ คือ ร่มบิน ปฏิบัติแม่นยำ ( Precision ), ร่มบิน สลาลม ( Slalom ), ร่มบิน บินเดินทาง ( Navigation ) และร่มบิน บินประหยัดนำ้ มัน ( Pure Economy ) 1.1.4.1 ปฏิบัติแ1ม.1่น.3 ยพำ้นื ท(่ีทำPเกrมeส์ c( GiAsMioE AnREA) ) - Precision / Accuracyพื้นที่ทำเกมส์จะถูกจัดเอาไว้ด้านข้างสนาม และต้องไม่มีสิ่ง กีดขวางการทำเกม โดยเกมส์ของร่มบินจะมีอยู่ 4 เกมส์ คือ ร่มบิน ปฏิบัติแม่นยำ ( เปP้าreหcisมionา)ย, รต่มบ้อิน สงลเาลปม็น( Sพlaloื้นmท), รี่แ่มบนิน วบินรเดาินทบางซ( ึN่งaทvigำatใioหn )้นแลักะร่มกบีนิฬาเห็นเป้าหมายได้ ชัดเจน ลักษณะของบเนิ ปปร้าะหห1ย.ัด1ม.น4้ำา.1มยันปฏจ( บิPะัตuแิrเeมปน่Ecย็นoำn(วoPmงreyกci)sลionม)โดยมีเส้นบอกรัศมี 0.5 M , 2.5 M และ 5 M และมีอุปกรณ์วัดอัตโน- มPัตreิทเcปisี่อ้าioหnยม/าู่ตยAตcร้cอuงงrเaกปc็นyลพืา้นทงี่แน(วPราAบซDึ่งท)ำใเหพ้นักื่อกีเฬพาเหิ่ม็นเคป้าวหามามยไลด้ ะเอียดในการตัดสิน โดยมาตรฐานของอุปกรณ์วัดอัตโนมัติจะมีรัศมีอยู่ระหว่างชัดเจน ลักษณะของเป้าหมายจะเป็นวงกลมโดยมีเส้นบอกรัศมี 0.5 M , 2.5 M และ 5 ผลคะแนน M และมีอุปกรณ์วัดอัตโนมัติที่อยู่ตรงกลาง (PAD) เพื่อเพิ่มความละเอียดในการตัดสิน 0 - 16 CM และ 0 - 22 CM ผลคะแนน โดยมาตรฐานของอุปกรณ์วัดอัตโนมัติจะมีรัศมีอยู่ระหว่าง 0 - 16 CM และ 0 - 22 CM 66

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 - Precision / Bowling Landing นักกีฬาจะต้องเทคออฟขึ้นไปเพื่อทำความสูงในระดับหนึ่งแล้วบินรอการ ทำเกมส์อยู่เหนือพื้นที่ทำเกมส์เพื่อรอการแสดงธงสัญญาณธงเขียวของกรรมการ หลังจากน้นั นักกฬี าจะบินเข้ามา พร้อมแสดงความประสงค์ การทำเกมสโ์ ดยการแขว่งขา หลังจากนั้นทำการดับเครื่องยนต์ แล้วลดระดับความสูงลงมาเพื่อมาเตะกรวยโบลิ่งให้ได้ มากที่สุด ในเวลาที่กำหนด โดยไม่ให้ตัวนักบินล้มหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์ สมั ผัสพืน้ ก่อนรม่ ลงพ้ืน - Precision / Bowling Landing นักกีฬาจะต้องเทคออฟขึ้นไปเพื่อทำความสูงในระดับหนึ่งแล้วบินรอการ ทำเกมส์อยู่เหนือพื้นที่ทำเกมส์เพื่อรอการแสดงธงสัญญาณธงเขียวของกรรมการ หลังจากนัน้ นักกฬี าจะบนิ เข้ามา พร้อมแสดงความประสงค์ การทำเกมส์โดยการแขว่งขา หลังจากนั้นทำการดับเครื่องยนต์ แล้วลดระดับความสูงลงมาเพื่อมาเตะกรวยโบลิ่งให้ได้ มากที่สุด ในเวลาที่กำหนด โดยไม่ให้ตัวนักบินล้มหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์ สมั ผัสพนื้ ก่อนรม่ ลงพืน้ - Precision / Paraball นักกีฬาจะต้องเทคออฟ และบินเข้ามาเปิดเวลาด้วยการหนีบลูกบอลด้วย เท้า เมื่อหนีบลูกบอล- ไดP้หrecรisือioบn ิน/ Pผa่าraนbaจllุดที่ตั้งลูกบอล นักกีฬาทำการหนีบลูกบอลใส่ใน ตะกร้าให้ครบทั้งหมด 3นักลกีฬูกาจกะต่อ้อนงเท2คออนฟาแทลีะใบหินเ้ไขด้าม้เาวเปลิดาเวเลรา็วด้วทยี่สกาุดรหนหีบาลกูกบหอนลดีบ้วยลูกบอลไม่ครบ ตามจำนวน ใหเตทะ้้นากรเับม้าใื่อลหห้คูกนรีบบใลนทูกั้งตบหอมะลดกได3ร้หล้ารูกือหบกริน่อนผือ่า2อนจนยุดาู่ใททนี่ีตใั้งหวล้ไูงกดบ้เกวอลลลาเมนร็วักขทก้าี่สีฬุดงาทตหำาะกกากหรนหรีบน้าลีบ5ูกลบเูกมอบลอตไลมรใ่คสร่ใหนบ ากลูกสุดท้าย นักกีฬากำลังหตนามีบจอำนยวู่นกใรหร้นมับลกูกาในรตจะะกตร้า่อหเรวืออลยาู่ใในหวง้ ก3ล0มขว้างินตาะกทรี้าเ5มเมื่อตรบหอาลกลสูกัมสผุดทัส้าพย ื้นให้หยุดเวลา และนับจำนวนนแบลักะอกนีฬลบั าทจกำำั้งนลหวังนหมบนอดีบลอททยังู้เี่่ กหขรม้ารดมตทกเ่ีะาขรกา้ จตระะต้าก่อรเ้าวลาให้ 30 วินาที เมื่อบอลสัมผัสพื้นให้หยุดเวลา 67

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 - Precision / Slow & Fast นักกีฬาจะต้องบินเข้ามาเตะเสาพลาสติกสีแดงที่ตั้งห่างกัน 50 เมตร ทั้งหมด 5 เสา โดยการเตะเสาแรกจะถือเปน็ การเปิดเวลา หลังจากเตะเสาแรกเสร็จแล้ว ให้นักกีฬาบินให้ช้าที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยการเตะเสาพลาสติกให้ครบ 5 หลัก เป็นการ ป้องกันไม่ให้นักกีฬาบินซิกแซ็กเพื่อเพิ่มเวลาในการบิน Slow และเตะเสาที่ 5 เพื่อปิด เวลา หลักจากที่บินเตะเสาพลาสติกครบ 5 หลักในรอบของการบิน Slow แล้ว ให้ กลับมาเริ่มต้นใหม่ ในการบินแบบ Fast ขั้นตอนก็จะเป็นลักษณะเดียวกันแต่เพียง เปลี่ยนจากการบินที่ช้ามาเป็นการบินให้เร็วที่สุดโดยการเหยียบสปีดบาร์เพื่อเพิ่ม ความเร็ว 1.1.4.2 สลาลม ( Slalom ) - Slalom / Clover Leaf Slalom นักกีฬาบินเข้าทำเกมส์ในทิศทางการสวนลมเข้ามา ผ่านช่องระหว่างเสา พลาสติกสีแดง เพื่อเปิดเวลา ด้วยเซ็นเซอร์ แล้วนักบินก็จะบินวนไพล่อนทั้ง 5 อัน ตาม วงจรที่ผู้จักการแข่งขันกำหนด หลักจากบินครบวงจรแล้ว นักกีฬาก็จะต้องบินกลับไป ผ่านช่องเสาพลาสติกสีแดงอีกครั้งเพื่อปิดเวลา จะคิดคะแนนจากความถูกต้องของวงจร และความเร็วท่ีนักกีฬาทำได้ 68

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 กลากงลราะงหระ-วห่า-วงไ่าSนพงlักไaนSลพกllัก่อaoลีฬกนlm่อoาีฬขนmบานข/บินนา/TินดเาขThดเขh้eา1้eาท12Eท2ำEiเำgเมiเกgเมhกตhมตtมรtสรสแ์ใแ์ในลนลท้วท้วววิศิศนนททขขาาววงงาากกไไาพาพรรลลสส่อ่อววนนนนแลแลรมรกมเกกขเกขล้าล้ับามับมมาเมาาตเเาตะตเะเตะสเะเสาสเแาสาอรแาีกกอรคทีกกรี่อคทั้งยรี่อแู่ตั้งยลรแู่้วตงลร้วง วนไวพนลไพ่อลน่อวนงวจงรจซร้าซย้าตย่อต่เอนเนื่อื่องทงทันันทที ีใใหห้เ้เปป็น็นกกาารรบบินินววนนลลักักษษณณะะเลเลขข88โดโยดจยะจวะนวไนพไลพ่อลน่อน พร้อพมร้อกมับกเตับะเตเสะเาสไาปไเปรเื่อรยื่อๆยๆจจนนเตเตะะเเสสาาคครรบบ 55 คครรั้งั้ง รรววมมคครรั้งั้งแแรรกกทที่เปี่เปิดเิดวเลวาลาครคั้งรทั้งี่ ท5ี่ ข5อขงอง การกเาตระเตเสะาเสคาือคือกากราปริดปเิดวเลวลาาจจะะคคิดิดคคะะแแนนนนจจาากกคคววาามมเเรร็ว็วทที่นี่นักักกกีฬีฬาทาทำไำดไ้ดแ้ ลแะลจะำจนำวนนวกนารการ เตะเเตสะาเสา ที่มทเากต่มี บ็ ราคฐตะารกแนฐานากหร1นนาบล.หรโ11ินงัดบล..จเ4ย1ินงัดา.จ.จเ34กินดำา.นกท3กินบดั้นันาทนิบนงใั้นานิเหน้ำดงใเมหนน้ั้นดนิ นัน้ั้นกัินทฝักบทหาฝ่าบานิงร่ายินงือย(จบบ(จบัดNินัดินNินกaกไไaไาvปปาvปรiรเเigเgแกกแกaaบ็ขบ็ขบ็ttค่iง่iงคoคoขขะะะnnันันแแแนจจ))นนะนะนนเใเปตปหตา็น้ไา็นมดผมผจรู้้กจู้กะดุ ำุดยำตหตหะา่ นา่ทงนดๆงาดจๆใงนจุดทในุดเเม่ี วกเเาล็วบกกาลค็บททาะค่ีสกี่ทแะดุำก่ีนแหำนนนหไนดวน,้ใไดนวบ,้ใแินนผบไแนปนิ ผไนป เก็บคะแนนโดยจำกัดนำ้ มนั หรือบินไปเก็บคะแนนใหไ้ ด้ระยะทางที่มากทีส่ ดุ 69

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 1.1.4.4 บินประหยัดน้ำมัน ( Pure Economy ) คือ การบินโดยเติมน้ำมันให้เครื่องยนต์พารามอเตอร์ จำนวน 1 ลิตร หลงั จากนน้ั ให้นักบิน บนิ ข้นึ ไปในอากาศใหน้ านท่ีสุดและลงมายงั พ้ืนท่สี ี่เหลี่ยมขนาด 50 * 50 เมตร และมี การฟาล์ว โดยห้ามบินไปนอกพื้นที่แข่งขัน โดยการคิดคะแนนจะ อ้างองิ จากการใช้ GPS ตดิ ตามตัวนักกีฬา 1.2 อปุ กรณ์กฬี า 1.2.1 เคร่ืองยนตพ์ ารามอเตอร์ 1.2.1.1 Paramotor Foot Launch / PF1 : เป็นร่มบินประเภทที่นักกีฬาใช้ เทา้ ในการนำอากาศยานขน้ึ -ลง และ ทำการแขง่ ขัน 70

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 7 3 1 2 46 5 1. เครื่องยนต์ PARAMOTOR จะเป็นเครื่องยนต์ 2 จังหวะ ขนาด 150CC ถึง 250CC 2. ถังน้ำมนั ใช้สำหรบั บรรจนุ ้ำมันเพอ่ื ไปเลี้ยงเครือ่ งยนตใ์ หท้ ำงาน 3. ใบพัด เป็นตัวที่สร้างแรงผลักทำให้ร่มนั้นไปข้างหน้า โดยจะมีใช้ตั้งแต่ 2-4 ใบพดั ยงิ่ จำนวนใบมากแรงผลกั ก็จะสงู สดุ ในรอบหมุนที่ตำ่ ลง 4. ท่อไอเสีย เป็นทางเดินเพื่อระบายไอเสียออกจากเครื่องยนต์ ลดเสียง ระเบิดให้น้อยลง และช่วยกรองมลพิษที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ให้ออกมาสู่อากาศให้ นอ้ ยลง 5. ฮาเนสหรือเบาะนั่ง เป็นเบาะสำหรับนั่งและมีสายรัด อก ลำตัว แขน และ ขา เพื่อไม่ให้นักกีฬาตกจากเบาะนั่ง รวมถึงมีระบบเซฟตี้กันกระแทกอยู่ใต้เบาะนั่ง อีกดว้ ย 6. ถุงบรรจุร่มสำรอง เป็นช่องที่อยู่ในฮาเนสเพื่อเป็นที่บรรจุร่มสำรอง สำหรบั กรณีฉุกเฉนิ รม่ หลักมีปญั หา 7. โครง เป็นตัวป้องกัน ไม่ให้เครื่องยนต์หรือใบพัดนั้นไปสร้างความ เสียหายกบั นักกีฬาทีอ่ ยู่ดา้ นหนา้ 1.2.1.2 Paramotor Landplane 1 / PL1 : เป็นร่มบินประเภทที่นักกีฬาใช้ล้อใน การนำอากาศยานขึ้น-ลง และ ทำการแข่งขนั 71

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 9 10 11 8 12 13 8. ตาข่ายกันใบพัด ใช้ขึงกับโครงที่ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับ นกั กฬี าที่อยดู่ ้านหนา้ 9. สายคันเร่ง เปน็ ตวั ควบคมุ ความเร็วในการทำงานของเครื่องยนต์ 10. บารแ์ ขวนรม่ ใชส้ ำหรับแขวนร่ม PARAMOTOR 11. โครงเสริมกันกระแทก จะเป็นอุปกรณ์เสริมนิรภัยในประเภท PL1 เนื่องจากอากาศยานประเภทนี้จะขาดความคล่องตัวในการนำอากาศยานขึ้น-ลง จึงอาจ ทำให้เกิดการพลิกคว่ำได้ง่าย จึงทำไว้เพื่อป้องกันไม่ให้นักกีฬาเกิดอาการบาดเจ็บ ระหวา่ งทอี่ ากาศยานพลิกคว่ำ 12. ล้อ PARAMOTOR ในประเภท PL1 จะใช้ล้อสำหรับเป็นฐานใน การนำอากาศยานขึ้น-ลง แทนการใช้เท้าในประเภท PF1 13. พักเท้า ใช้เป็นที่วางเท้าและบังคับทิศทางซ้ายขวาในระหว่างอยู่บน พน้ื ดนิ 72

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.2.2 ร่มพารามอเตอร์ 15 14 17 18 16 20 19 21 14. ปากเซลล์ของร่ม : จะเป็นช่องสำหรับให้ลมเข้าเพื่อให้ร่มพยุงตัวร่อน อยบู่ นอากาศได้ 15. ผืนผา้ รม่ 16. สาย Risers เป็นสายท่เี ปน็ จดุ เชอ่ื มโยงกบั อุปกรณ์ต่าง ๆ 1). ตัวเกาะสายร่ม A1,A2,B,C,D 2).สาย Control 3). หว่ งคลอ้ งบารแ์ ขวนร่ม 4).ตัวเก่ยี ว Speed bar 17. ตวั เกาะสายร่ม A1,A2,B,C,D 18. สาย Control : เปน็ สายรม่ ที่มไี ว้เพอ่ื ควบคมุ ทิศทางของร่ม 19. ห่วงคล้องบาร์แขวนร่ม : เป็นตัวที่คล้องกับบาร์แขวนร่มเพื่อทำ ให้ตัวร่มน้ันพยุงเครื่อง PARAMOTOR และนักกฬี าเอาไว้ 20. ตัวเกี่ยว Speed bar : เป็นตัวเกี่ยวเชื่อมโยงระหว่างร่ม,เครื่องยนต์ และ ตัว Speed Bar 73

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 21. Speed bar : เป็นตัวเพิ่มความเร็วให้กับร่ม โดยใช้เท้าดันสายไป ดา้ นหนา้ 2. อปุ กรณ์ประกอบสนามแขง่ ขนั ถุงลม : ใชส้ ำหรับบอกทิศทางลม เครื่องวดั ความเรว็ ลม : ใชส้ ำหรับวัดความเรว็ ลมบริเวณจุดทำคะแนน เครื่องวัดความเรว็ ลมแบบมือถอื : ใช้สำหรบั วดั ความเร็วลมบริเวณจดุ ปล่อยตัว 74

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 เสาสตรีมเมอร:์ ใช้สำหรับบอกทศิ ทางลม สำหรับลมเบา จะตดิ ตั้งอยู่ 4 มุม ของเส้น 5 เมตร เชอื กก้ันเขต : ใช้สำหรบั กัน้ ไม่ใหผ้ ทู้ ี่ไมเ่ กีย่ วขอ้ งเข้ามาในเขตทำคะแนนของนกั กฬี า ธงสญั ญาณ 3 สี ไดแ้ ก่เขียว,ขาวและแดง : ใชส้ ำหรับเปน็ สัญญาณให้นกั กฬี าท่อี ยู่บน อากาศทราบ 75

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 ปนู ขาว : ใชส้ ำหรบั ตีเสน้ สนามแขง่ ขัน เครื่องตรวจผนื ผ้าร่ม : ใชส้ ำหรบั ตรวจสอบผ้ารม่ ให้ได้มาตรฐานตามที่สหพนั ธ์ฯกำหนด ถังน้ำมนั : ใชส้ ำหรบั บรรจุนำ้ มันเพ่ือเตรยี มช่งั กอ่ นทำการแข่งขนั รายการบินประหยดั น้ำมนั 76

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 ลูกบอลออกกำลังกาย : ใชส้ ำหรบั ให้นกั กฬี าหนีบด้วยเทา้ เพอื่ ไปใสต่ ะกร้า ในเกมส์ Paraball ตะกร้า Paraball : ใชเ้ ปน็ ตระกร้าสำหรับใส่ลูกบอลในเกมส์ Paraball เครอื่ งชงั่ น้ำมนั : ใช้สำหรบั ชัง่ น้ำมันในรายการบนิ ประหยดั น้ำมนั 77

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 ไพลอน : ใชส้ ำหรับเป็นหลักในการบนิ ประเภท Slalom พอนทนู :ใช้เปน็ อุปกรณเ์ สริมในการตดิ ตัง้ ไพลอนในการทำเกมส์ Slalom ในนำ้ เสา Stike : เปน็ เสาพลาสติกที่ใชส้ ำหรบั การเปดิ /ปดิ เวลา 78

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 แผนท่ี : ใชส้ ำหรบั การดูแผนท่ภี ูมปิ ระเทศเพ่อื ประกอบในการแข่งขนั ประเภทบนิ เดนิ ทาง กรวยพลาสตกิ : ใชส้ ำหรบั ใหน้ กั กฬี าเตะเพือ่ ทำคะแนน ในเกมส์ Bowling Landing 79

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 กีฬาบรดิ จ์ มาตรฐานสนามแขง่ ขนั และอปุ กรณ์กีฬา การแขง่ ขันกฬี าบรดิ จ์ต้องมีผู้เล่นอยา่ งนอ้ ย 4 คน น่ังเลน่ ทโ่ี ต๊ะ ๆ หนงึ่ 4 ด้าน ระบุชื่อผู้เล่นตามทิศที่นั่ง เรียงตามลำดับ ทิศเหนือ (North) ตะวันออก (East) ตะวันตก (West) และทิศใต้ (South) ผู้ที่นั่งตรงข้ามกันเป็ฯฝ่ายเดียวกัน เรียกว่า คู่ขา (Partner) การแข่งขันแต่ละครั้งจะมีจำนวนผู้เล่นเท่าไรก็ได้ขึ้นกับขนาดของห้องว่าสามารถจุคนได้ เทา่ ไรเป็นสำคญั การแข่งขันกีฬาบริดจแ์ บ่งเปน็ 3 ประเภท คอื ประเภทเดี่ยว มีผู้เล่น 4 คนต่อโต๊ะหนึ่งเหมือนการเล่นโดยทั่วไป แต่ผู้ เล่นจะเปลี่ยนคู่ทุกรอบของการแข่งขัน และอาจเปลี่ยนสลับไปเล่นเป็นคู่ขากับคนที่เคย เป็นคู่ต่อสู้ก็ได้ วิธีการคิดแต้มประเภทเดี่ยวเหมือนกับการคิดแต้มประเภทคู่ แต่แยก คะแนนของแตล่ ะคนออกมา ผทู้ ี่ไดค้ ะแนนสงู สดุ เป็นผ้ชู นะเลิศ การเล่นแบบเดี่ยวไม่นิยมเล่นกันมากนัก เพราะต้องเล่นกับคนที่ไม่ คนุ้ เคย และไม่ใชค่ ปู่ ระจำ ดังนั้น โอกาสทจ่ี ะประมลู ไพแ่ ละปอ้ งกันไพ่แบบไมเ่ ข้าใจกันมีสูง การวัดผลการแขง่ ขนั ไม่แนน่ อน ประเภทคู่ ผ้เู ล่นจะมคี ปู่ ระจำและหมุนเวยี นไปเลน่ กับคอู่ ื่น ๆ ตามตาราง ที่กำหนดไว้ ซึ่งวางไว้บนโต๊ะจนจบการแข่งขันคิดคะแนนรวมแต่ละคู่ คู่ที่ได้คะแนนสูงสุด เป็นคู่ชนะเลิศการวัดผลไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับคู่ต่อสู้ที่เล่นด้วยในแต่ละรอบ และบางคร้ัง ไม่ได้เล่นแบบพบกันหมดทุกคู่ ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำกัน แต่ดีกว่าประเภทเดี่ยว ประเภททีม ประกอบด้วยผู้เล่น 4 คน หรือ 2 คู่ รวมเป็นหนึ่งทีม แต่ อาจจะมีผู้เล่นเพียง 4 คน หรือ มีผูเ้ ล่นสำรอง 1 คน หรือ 2 คน ก็ได้ ไม่เกิน 6 คน และใน การแข่งขันแต่ละครั้ง จะลงเล่นครั้งละ 4 คน เท่านั้น แยกเป็น 2 คู่ คู่หนึ่งจะนั่งทิศเหนือ และ ทิศใต้ ส่วนอีกคู่หนึ่งจะไปนั่งทิศตะวันออก และตะวันตกของอีกโตะ๊ หนึ่งหลังจากเลน่ ไพ่ครบจำนวนบอร์ดตามที่กำหนดให้เล่นแต่ละครั้งแล้ว จะนำคะแนนที่ได้ระหว่างทีม 2 ทีม มาเปรียบเทียบกัน คิดคะแนนออกมาเป็น International Match Point (IMP) และ 80

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 นำแต้มไปปรับเป็น Victory Point (VP) อีกครั้งตามตารางมาตรฐานสากลที่กำหนด เปรียบเทียบกบั ทกุ ทีม ทมี ที่ได้คะแนนรวม (VP) สงู สดุ คอื ทมี ชนะเลศิ การแขง่ ขันประเภททมี วดั ผลได้แน่นอนกวา่ อกี 2 ประเภทและเพ่ือให้ได้ผลดี ที่สุด ยุติธรรมที่สุด ปัจจุบันจึงมีการใช้เครื่องแจกไพ่และทำไพ่ซ้ำแทนการแจกไพ่ด้วยมือ เพอ่ื ใหท้ ุกทีมเล่นไพช่ ุดเดยี วกันเหมอื นกัน และเล่นพรอ้ มกนั ในเวลาเดียวกนั ไดห้ มดทุกโต๊ะ ดังนัน้ การ แข่งขันประเภททีม จึงเป็นการแข่งขันที่เหมาะสมที่สุด และใช้กันทุกระดับ ทั้งในระดับโลก ระดับนานาชาติ และระดับชาติ นอกจากการแข่งขันบริดจ์ 3 ประเภท แบบเป็นทางการแล้ว ยังมีการเล่นอีกประเภทหนึ่งคล้ายกับการเล่นประเภทเดี่ยว แต่มีผู้ เล่น 4 คน (อาจจะมี ผู้เล่นสำรองอีก 1 - 2 คน)แต่เล่นเพียงโต๊ะเดียว เรียกว่า การเล่น แบบรับเบอร์ ผู้เล่นจะหมุนเวียนสลับคู่จนครบทุกคน โดยการจับไพ่เรียงลำดับการเล่น เป็นคู่ และการสลับคู่ไว้ก่อน ครั้งแรกคนที่จับได้ไพ่ใหญ่ที่สุดคู่กับคนที่ได้ไพ่ใหญ่รองลงไป เมื่อจบเกมรับเบอร์ จะสลบั คู่ เล่นกบั คนทจี่ บั ไพใ่ บใหญอ่ ันดับ 3 และอนั ดบั 4 ตามลำดับ เมื่อเล่นไพ่จบกระดานหนึ่ง (Board) ผู้เล่นคนหนึ่งทำหน้าท่ีจดบันทึกแต้มที่ ได้ ฝ่ายใดทำคะแนนได้ ครบ 2 เกมก่อน เรียกว่าออกรับเบอร์คิดคะแนนที่ทำได้ฝ่ายที่ได้ คะแนนมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ จดไว้ต่างหาก เล่นรอบต่อไป หมุนเวียนสลับคู่กันจนครบทุก คน หากมีผู้เล่นมากกว่า4 คน ผู้เล่นที่จับไพ่ได้หมายเลขน้อยที่สุดจะเปลี่ยนให้ผู้ที่จับไพ่ได้ ลำดับที่5มาเล่นแทน เมื่อเล่นจบ หนึ่งรับเบอร์ครบ 2 เกม แล้ว หากมี 6 คนก็หมุนเวียน คร้ังต่อไปให้คนที่ 6 เข้าเล่น เมื่อเล่นครบทุกคน จะจับไพ่ใหม่ ใครจะเลิกเล่นตอนนี้ก็ได้ หรือจะเลิกเล่นเมื่อจบรับเบอร์แล้วก็ได้ ส่วนใหญ่จะแจ้งกำหนดการเลิกเล่นก่อนล่วงหน้า การเล่นแบบรับเบอร์นี้อาศัยโชคมากกว่าฝีมือวิธีการคิดคะแนนแตกต่างออกไปไม่ เหมือนกับการแข่งขัน แต่ข้อดี คือ สามารถเล่นบริดจ์ได้ ในกรณีที่มีคนน้อย เพียง 4 คน และใชเ้ วลาไม่นาน และสามารถกำหนดเวลาเลกิ ลว่ งหนา้ ได้ สำหรับการเล่นแบบกันเอง (Informal) อีกประเภทหนึ่ง มีการกล่าวขวัญ ถึงอย่างนิยมชมชอบ มีผู้เล่นกันเพียง 2คน เรียกว่า Honeymoon bridge วิธีการเล่น 81

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 คือ แจกไพ่ครั้งละหนึ่งใบให้ผู้เล่นแต่ละคน ๆ ละ 13 ใบ แล้วประมูลเล่นกัน ใครได้กิน มากกว่าเป็นผู้ชนะจะเรียกร้องให้อีกฝ่ายหนึ่งทำอะไรก็ได้ตามแต่จะตกลงกัน แต่ถ้ามี ครบ 4 คน อาจมีการจดแต้มคิดคะแนนเปรยี บเทียบกัน ผูท้ ไี่ ด้แตม้ สงู สดุ เปน็ ผู้ชนะ การเตรียมอุปกรณก์ ่อนการแขง่ ขัน อุปกรณก์ ฬี าบริดจ์ 1. BOARD ไพ่ (กระดานบรรจุใช้แข่งขัน) หมายเลข 1-32 มีทิศแจก (DEALER) และดา้ นการมเี คกือมแมจกาไแพ่คลร้วั้งละ(VหนUึ่งใLบNใหE้ผูR้เลI่นBแIตT่ลYะคนSIๆDลEะ)1ต3 าใบมแกลำ้วปหรนะมดูลเล่นกัน ใครได้กิน มากกว่าเป็นผู้ชนะจะเรียกร้องให้อีกฝ่ายหนึ่งทำอะไรก็ได้ตามแต่จะตกลงกัน แต่ถ้ามี ครบ 4 คน อาจมีการจดแต้มคิดคะแนนเปรยี บเทียบกนั ผู้ทไ่ี ด้แตม้ สูงสุดเปน็ ผูช้ นะ การเตรยี มอปุ กรณก์ อ่ นการแข่งขัน อุปกรณก์ ีฬาบริดจ์ 1. BOARD ไพ่ (กระดานบรรจุใช้แข่งขัน) หมายเลข 1-32 มีทิศแจก (DEALER) และด้านการมเี กมมาแล้ว (VULNERIBITY SIDE) ตามกำหนด 2. ไพ่ป๊อก (PLAYINGCARD) มาตรฐานเล่นบริดจ์ (BRIDGE SIDE) กว้าง 57 มม. ยาว 87 มม. ปกติสั่งซื้อจากต่างประเทศ (ASIA) ปัจจุบัน (ตั้งแต่ประเทศไทยได้เป็น เจ้าภาพจัดแข่งขันบ2ร.ิดไพจ่ป์ป๊อรกะ(PเLภAทYINตG่าCงARๆD)ขมอาตงรปฐารนะเลเ่นทบศริดสจม์ (BาRชIDิกGใEนSIกDEล) ุ่มกว้าAง S57EAN ) จัดสร้าง โดย โรงงานผมลม.ิตยาไวพ8่7ขมมอ. งปกกตริสั่งมซื้อสจรากรตพ่างปสราะเมทศิต(AรSIAป) รปัจะจเุบทัน ศ(ตั้งไแทต่ปยระเ(ทศTไHทยEได้เPปL็นAYINGCARDS FACTORY EXCเโจดI้ายSภEาโรพงจDงัดาEแนขPผ่งAลขิันตRบไTพริด่Mขจอ์ปEงรNกะเรTภมทสTตร่าHรงพๆAสขIาLอมงAิตปรNระปDเทระศ)เสทมไศาพไชทิก่ยใบน(กรลTิดHุ่มEจAPS์LนEAAัY้NนIN)อGจCาัดAสจRรD้าใSงช้ไพ่ป๊อกที่มี จำหน่ายตามท้FอAงCตTOลRาYดEทXCั่วISไEปDไEดPA้ แRTตM่ใEนNTมTาHตAรILฐANาDน)ขไอพง่บกรีฬิดจา์นบั้นรอิดาจจใ์แชล้ไพ้ว่ปไ๊อพกท่บี่มรี ิดจ์จะแตกต่าง จากไพป่ อ๊ กโดยจจทาำกหว่ั ไนพไ่า่ปปย๊อตอกามโยดทูน่ย้อทงดิ ัว่ตไหลปาอนดยทอู่น่ ั่วดิยไหปคนไดอือ่ ้ ยแคตดอื่ในงั ดมรังาปูรตูปรฐานของกีฬาบริดจ์แล้ว ไพ่บริดจ์จะแตกต่าง 82

ไพป่ ๊อกแบบธรรมดา หนา้ ไพด่ ังรูป ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 หนา้ ไพ่บรดิ จ์ ดงั รูป จะเห็นไดว้ า่ ในไพบ่ ริดจ์น้ันจะมีลักษณะในการซอ้ นกนั ของดอกไพ่ซึ่งจะแตกต่าง กับไพ่ป๊อกธรรมดา เหตุผลเนื่องจากกีฬาบริดจ์นั้นเป็นการใช้ไพ่เพื่อส่งข้อมูลในการเล่น ให้กับคู่ขาของตัวเอง ดังนั้นไพ่บริดจ์จึงต้องกำหนดให้มีการซ้อนกันของดอกไพ่เพ่ือ ป้องกนั การส่งข้อมูลที่นอกเหนอื ท่ีกตกิ ากำหนด ไพ่บริดจ์จะแตกต่างจากไพ่ป๊อกธรรมดาคือ ไพ่บริดจ์จะมีการพิมพ์บาร์โค้ดลง บนหนา้ ไพเ่ พอื่ ใช้กบั เคร่ืองแจกไพ่ 3. BIDDING BOX (กลอ่ งประมลู การเล่น) เป็นอุปกรณ์ที่ใชแ้ ทน BIDDING SLIP โดยผู้เลน่ ไม่ตอ้ งเขยี นแตส่ ามารถหยิบเอาแผน่ การประมูลซ่งึ ระบวุ า่ จะ BID อะไรอยู่แล้ว 83

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 4. ป้ายโต๊ะ สำหรับบอกทิศที่มีนักกีฬานั่งเล่น และบอกหมายเลขโต๊ะที่นั่งทำ การแข่งขัน สำหรับการแข่งขันบริดจ์นั้นในแต่ละรอบการแข่งขันหลังจากหมดรอบแล้วผู้ เล่นจะมีการย้ายโต๊ะเพื่อเปลี่ยนคู่ต่อสู้ทั้งในประเภททีมและประเภทคู่ ดังนั้นป้ายโต๊ะจะ มีความสำคัญตรงกา4ร. ปก้าำยหโตน๊ะ ดสำเหบรอับบรอ์โกตท๊ะิศทแี่มลีนักะกกีฬำานหั่งนเลด่นทแลิศะทบอากงหขมอายงเผลขู้ทโตี่จ๊ะะที่เนขั่งท้าำแข่งขันในโต๊ะ น้ันๆ ดงั รูป การแขง่ ขนั สำหรับการแข่งขันบริดจ์นั้นในแต่ละรอบการแข่งขันหลังจากหมดรอบแล้วผู้ เล่นจะมีการย้ายโต๊ะเพื่อเปลี่ยนคู่ต่อสู้ท้ังในประเภททีมและประเภทคู่ ดังนั้นป้ายโต๊ะจะ มีความสำคัญตรงการกำหนดเบอร์โต๊ะ และกำหนดทิศทางของผู้ที่จะเข้าแข่งขันในโต๊ะ น้ันๆ ดังรูป 5. ปากกา 5ใช. ปส้ าำกกหารใบัชส้ ใำหหรน้ ับักใหกน้ ีฬักกาฬี บาบันันททึกึกผผลกลากรแาขร่งขแันข่งขัน 84

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 6. โต๊ะเล่นบริดจ์ทำด้วยไม้ปูคลุมด้วยผ้าสักหลาด(อาจใช้ของประดิษฐ์ใหม่ได้) ขนาด 1เมตร สูง 75 ซม. (สามารถสร้างไดภ้ ายในประเทศ) ทัง้ หมด 32 ตวั อะไหล่ 8 ตวั รวม 40 ตวั (หมายเหตุ ปกติจะใชโ้ ตะ๊ สรา้ งถาวรขนาด 80x80x75 ซม. ใชต้ ามภัตตาคาร ทั่วไปหรือยืมจากบริษัทน้ำอัดลม แต่ไม่มีที่ติดฉากกั้น (SCREEN) แล้วใช้ผ้าสักหลาดปู คลุม 7. ถาดสำหรับใส่ใบประมูล ( Bidding Tray ) จะใช้ในกรณีที่มีการขึ้นฉากกั้น บนโตะ๊ เพ่อื วางBidding ลงไปแลว้ ก็ส่งใหอ้ ีกฝัง่ ฉากกัน้ ทราบว่าเราประมูลอะไรดงั รูป 85

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 8. ฉากกั้น (SCREEN) สำหรับกั้นแบง่ เปน็ N-E กับ S-W ฉากที่ใช้นี้จะใชก้ บั การ แข่งขันประเภททีมโดยในการจัดการแข่งขันรายการระดับใหญ่ๆ หรือสำคัญก็จะมีการ ติดตั้งฉากเพื่อเป็นการตัดการส่งสัญญาณให้กับคู่ของตนเองเช่น มีการตกลงกันว่าถ้าจับ จมูกก็ให้เลน่ ไพ่ตัวนั้นมา เป็นต้น ดังนั้นในการแข่งขันรายการที่มมี าตรฐานเป็นสากล ก็ ตอ้ งมกี ารตดิ ตั้งฉากไว้ 9. เก้าอี้พนักพิง สำหรับกีฬาบริดจ์นั้น นักกีฬาจะใช้เวลาในการนั่งนานๆ จึงมี ความจำเป็นต้องมเี ก้าอีท้ ี่มีเบาะนุม่ เพื่อช่วยให้นักกีฬาได้ผอ่ นคลาย ในกรณที ีต่ ้องนั่งเปน็ เวลานานๆ 10. โต๊ะเคียง (BY STAND TABLE) ขนาด 40x40x60 ซม. ใช้สำหรับวางบอร์ดไพ่หรือ อุปกรณอ์ ืน่ ๆ 86

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 87

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 กีฬาปนี หนา้ ผา มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กฬี า อุปกรณ์ (Equipment) 1. อปุ กรณป์ ระจำตวั คืออุปกรณ์ข้ันพื้นฐานที่นักปีนหน้าผาจะต้องมีไว้ใช้ประจำตัวตลอดเวลาทุกคร้ัง ที่จะไปปีนหน้าผา เป็นอุปกรณ์ที่ไม่ควรใช้ร่วมกับคนอื่น ทั้งนี้เพื่อให้เจ้าของอุปกรณ์ได้ เกิดความคุ้นเคยกับอุปกรณ์ของตัวเอง จะได้เกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพของอุปกรณ์ และเกิดความมน่ั ใจในตัวเอง สำหรบั การปนี หนา้ ผาอปุ กรณด์ งั กล่าว ประกอบดว้ ย 1.1 ฮารเ์ นส (Harness) ฮาร์เนส หมายความรวมถึง ส่วนที่รัดเอว เวลาใส่คล้ายกับการใส่เข็ม ขัดและส่วนที่รัดต้นขา บริเวณขาหนีบทั้งสองข้าง มีสายรัดหรือยางยืดโยงติดกันทุกส่วน มองดคู ล้ายๆกางเกง ฮารเ์ นสจะมคี ำรบั รองกำกับไวว้ า่ สามารถรับน้ําหนักได้สงู สดุ เท่าไร ฮารเ์ นส 1.2 ถงุ ชอลก์ ถุงชอล์ก หมายถึง ถุงที่ใส่ผงกันลื่นแมกนีเซียมคาร์บอเนต (MgCo3) เพื่อใช้สำหรับทามือ ทำหน้าที่คอยซับเหงื่อที่มีเวลาที่ปีนหน้าผาขึ้นไป ป้องกันไม่ให้มือ ล่นื เวลาท่ีจบั หน้าผาถงุ ชอล์กจะเย็บได้หลายรปู แบบแล้วแต่ความนิยมช่ืนชอบของนักปีน หน้าผา จะมสี ายผูกเอาไวต้ ิดกับเอวได้ นักปีนหน้าผาทุกคนต้องผกู ถงุ ชอล์กติดตัวไปด้วย ทุกคร้งั ทป่ี ีนหนา้ ผา 88

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 ถุงชอลก์ 1.3 รองเทา้ รองเท้า คือ รองเท้าพิเศษสำหรับปีนหน้าผา โดยเฉพาะที่พิเศษพื้น รองเทา้ ดา้ นลา่ งจะเปน็ ยางดิบ ทีม่ ีคณุ สมบัตทิ ำให้เกดิ ควาฝดื ระหว่าง พื้นรองเท้ากับผิวหน้าผาทำให้ไม่ลื่นไถลเวลาปีน นักปีนหน้าผาสามารถเหนี่ยวตัวไว้ให้ ติดกับหนา้ ผาได้ ไม่เช่นน้ันอาจจะเกดิ อันตรายข้ึนได้เมอื่ อยบู่ นทสี่ ูง เพราะผิวหน้าผาจะมี พื้นที่เพียงแง่งหินให้สามารถจิกหัวแม่เท้าลงไปเท่านั้นหากรองเท้าไม่ได้รับการออกแบบ เพอื่ ใช้งานในลกั ษณะนีโ้ ดยเฉพาะแลว้ จะเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดไดง้ ่าย รองเท้า 1.4 เครื่องมือที่ใช้ในการล็อคเชือก (Belay device) เป็นเครื่องมือ ประกอบด้วย อุปกรณ์ 2 ชิ้น ใช้คู่กันเป็นชุดอุปกรณ์ประจำตัวที่สำคัญมากที่ผู้เป็น เจ้าของจะต้องหัดใช้จนให้เกดิ ความชำนาญ อุปกรณ์ทัง้ 2 ชิ้นดังกล่าว ประกอบด้วย สก 89

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 รูคาราบิเนอร์ (Screw carabiner) เป็นหลัก 1 ชิ้น อีก 1 ชิ้นที่จะใช้ประกอบกัน ได้แก่ ฟิกเกอร์ออฟเอก (Figure of eight) กรีกรี่ (Grigri) ทิ่หรือทูเบอร์ (Tube or tuber) เอทีซี (ATC – Air traffic controller) สติชต์เพลต (Stitch plate) 1.4.1 สกรคู าราบเิ นอร์ (Screw carabiner) คอื อปุ กรณ์ที่มีลกั ษณะ การทำงานเหมือนคาราบิเนอร์ (Carabiner) ทั่วไป คือ มีประตูปิดเปิดได้ด้วยสปริงที่ ซ่อนอยู่ด้านในมีรูปร่างลักษณะค่อนข้างใหญ่ และบางรุ่นอาจจมีแบบแปลกๆ ตัวล็อค ประตเู ป็นเกลียวสามารถหมนุ ปิดและหมนุ เปดิ ออกได้ คาราบเิ นอร์แบบทมี่ ีล็อค 1.4.2 ฟิกเกอร์ออฟเอก (Figure of eight) ห่วงรูปร่างเหมือนเลข แปดทำด้วยอลูมิเนียมอัลลอยนํ้าหนักเบาแต่แข็งแรงมาก สามารถรับนํ้าหนักได้ถึง 3,000 กิโลกรัม เวลาใช้งานต้องใช้คู่กับสกรูคาราบิเนอร์ (Screw carabiner) เสมอทุก ครงั้ หว่ งรปู เลขแปด (Figure of eight) 90

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 1.4.3 กรีกรี่ (Grigri) เครื่องมือที่ใช้ล็อคเชือกที่ออกแบบให้ทำงาน เหมือนกับเข็มขัดนิรภัยในรถยนต์ กล่าวคือ เมื่อมีแรงมากระชากในเส้นเชือกกลไก ทำงานของเครื่องมือจะล็อคเชอื กไว้อยู่กับที่ โดยอาศัยนาํ้ หนักของผใู้ ช้เปน็ ตวั ช่วยถ่วงนํ้า หนัก เวลาใชง้ านต้องใชค้ ู่กับสกรูคาราบเิ นอร์ (Screw carabiner) เสมอทุกครง้ั กรกี ร่ี (Grigri) 1.4.4 ทูเบอร์ (Tuber) มีรูปร่างเป็นท่อสั้นๆ ปลายด้านหนึ่งเล็ก ปลายอีกด้านหนึ่งใหญ่คล้ายชามอ่างใบเล็กๆ มีแกนเพดานผ่ากลางมองจากด้านบนจะ เห็นช่องสองช่องภายในแกนมีเชือกร้อยทะลุไว้เป็นห่วง เวลาใช้งานใช้ห่วงเชือกนี้ คล้อง กบั สกรคู าราบเิ นอร์ ทเู บอร์ (Tuber) 1.4.5 เอ ที ซี (A T C) เป็นอปุ กรณ์ทม่ี รี ปู รา่ งและการทำงานคล้าย ทู เบอร์ (Tuber) แต่รูปร่าง จะแบ่งออกเป็นสองช่องไว้สำหรับใส่เชือกให้เห็นอย่างชัดเจน เวลาใช้งานให้ใชห้ ว่ งน้คี ล้องกับสกรคู าราบิเนอร์ 91

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 เอ ที ซี (A T C) 1.4.6 สตติ ชเ์ พลต (Stitch plate) เป็นเครื่องมือทใี่ ช้หลกั การทำงาน เหมือนกับATC และ Tuber รูปร่างเป็นแผ่นเจาะเป็นช่องสองช่อง มีทั้งแบบที่ติดสปริง และร้อยหว่ งเชือกไว้เวลาใช้งานตอ้ งใชค้ ู่กบั สกรูคาราบิเนอร์ สตติ ช์เพลต (Stitch plate) 2. อปุ กรณท์ ส่ี ามารถใช้ร่วมกันได้ คือ อุปกรณ์ที่นักปีหน้าผาไม่จำเป็นต้องมีไว้ใช้เป็นของตัวเองเป็นอุปกรณ์ส่วน กองกลางท่ที ุกคนใชร้ ว่ มกันได้ เปน็ อปุ กรณเ์ กีย่ วขอ้ งกบั ความปลอดภัยในชวี ติ ใชป้ อ้ งกัน ไม่ให้นักปีนหน้าผาได้รับอุบัติเหตุในขณะที่กำลังปีนหน้าผา เช่น หินตกใส่ศีรษะ การ พลัดตกจากท่ีสงู ประกอบดว้ ยอุปกรณ์ ดงั ต่อไปน้ี 92

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 2.1 หมวกนิรภยั นักปีนหน้าผาที่เริ่มต้นหัดใหม่ จะต้องสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ฝึกหัด ปีนหน้าผาหมวกที่ใช้ในการปีนหน้าผาออกแบบให้สามารถรับแรงกระแทกจากวัตถุที่ตก ใส่ศรี ษะป้องกนั ไมใ่ หศ้ รี ษะได้รบั บาดเจ็บ 2.2 คาราบิเนอร์ (Carabiner) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สแนปลิงค์ (Snaplink) เป็นอุปกรณท์ ี่เก่ียวข้องกับการรบั นํ้าหนัก จึงมีตัวเลขกำกบั ไวท้ ีอ่ ุปกรณช์ นิด นี้ทุกชิ้น ออกแบบมาหลากหลายรูปแบบ นักปีนหน้าผาสามารถเลือกใช้ได้ตามความ เหมาะสมกับจุดประสงค์ คาราบเิ นอร์ (Carabiner) 2.2.1 ควิกดรอว์ (Quickdraw) เป็นอุปกรณ์ที่นำเอาคาราบิเนอร์ (Carabiner) 2 อันมาเช่อื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั ตัวเชื่อมสามารถรบั นํา้ หนักได้จำนวนมากๆ ได้ อปุ กรณต์ ัวใหม่เรียกชื่อว่า ควิกดรอว์ (Quickdraw) 93

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 ควกิ ดรอว์ (Quickdraw) 2.2.2 เชือก (Rope) อุปกรณ์ที่สำคัญที่ใช้ในการปีนหน้าผา เป็นชนิด เดียวกับที่ใช้ในวงการอื่นที่เกี่ยวกับการรองรับนํ้าหนัก เช่น การเช็ดกระจกตามตึกสูง เชือกชนิดนี้ต้องได้รับการรับรองจาก ยู.ไอ.เอ.เอ. (UIAA) ก่อนเพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ ว่ามีคุณภาพเพียงพอเชือกแต่ละเส้นสามารถรองรับนํ้าหนักได้ประมาณ 2 ตัน หรือ 2,000 กิโลกรัม ภายในประกอบด้วย เชือกที่มีลักษณะคล้ายเส้นเอ็นเส้นเล็กๆ 10 - 12 เส้น ห่อหุ้มเอาไว้ด้วยเปลือกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อความยืดหยุ่นและสวยงาม เชือกที่นิยมใช้ใน กีฬาปนี หน้าผาจะมีเสน้ ผา่ ศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 9 - 11 มิลลเิ มตร ประเภทของการแขง่ ขนั Bouldering การแข่งขันประเภท Bouldering ประกอบด้วย การแข่งบนเส้นทางสั้นๆ เป็น ชุดๆ ติดต่อกันไปบนเส้นทางที่เต็มไปด้วยอุปสรรคปัญหา ต้องไม่มีการใช้เชือก จำนวน ครั้งของการใช้มือยึดจับในแต่ละอุปสรรคปัญหาในการแข่งขันหนึ่งรอบ ต้องอยู่ระหว่าง 4 ถึง 8 ครงั้ 94