Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สบาย สบาย ธรรมะ

Description: สบาย สบาย ธรรมะ

Search

Read the Text Version

สบาย...สบาย... ธรรมะสไตล์ ธีรยทุ ธ เวชเจริญย่ิง

ธรรมะสบาย...สบาย... สไตล์ ธรี ยทุ ธ เวชเจรญิ ย่งิ

คําอนุโมทนา ธรรมะที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนน้ัน  ล้วนเป็นธรรมท่ีน้อมน�ำให้  มาฝกึ ตน เปน็ ธรรมทโ่ี นม้ นอ้ มไปสคู่ วามพน้ ทกุ ขด์ บั ทกุ ข ์ พระพทุ ธองค์  ทรงสอนเรอื่ งทกุ ข ์ และความดบั ทกุ ข ์ แตเ่ ปน็ เรอ่ื งอศั จรรยใ์ จยงิ่ นกั   เมื่อท่านใดปฏิบัติตามหลักค�ำสั่งสอนของพระพุทธองค์แล้ว  ท่านจะ  ได้ท้ังความดี  ความสุข  ความสงบ  และความพ้นทุกข์  ซึ่งเรียกว่า “FOUR IN ONE” หนังสือ “สบาย...สบาย...สไตล์ธรรมะ”  เล่มน้ี  เกิดจากกุศล  เจตนาของท่านประธานชมรมกัลยาณธรรม  และทีมงานทุกท่าน  ทม่ี องเหน็ ประโยชน ์ จงึ มวี ริ ยิ ะอตุ สาหะ ถอดเทปการบรรยายธรรม  ในครงั้ ทผี่ มไดไ้ ปบรรยายธรรม ณ โรงพยาบาลสมทุ รปราการ ทไ่ี ด ้ ร่วมกับชมรมกัลยาณธรรมจัดขึ้น  เม่ือวันท่ี  ๕  กุมภาพันธ์  ๒๕๖๐  ผมขออนุโมทนากับทีมงานทุกท่าน  ที่ได้ร่วมด้วยช่วยกัน  จนท�ำให ้

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 3 หนงั สอื เลม่ น ี้ สำ� เรจ็ เสรจ็ สน้ิ ขนึ้ มาไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค ์ รปู เลม่ หนา้ ปก  สวยงาม ดแู ลว้ สบายตาสบายใจ น่ารัก นา่ หยบิ อา่ น หนงั สอื เลม่ น ้ี เปน็ เพยี งแนวทางการฝกึ หดั ปฏบิ ตั ธิ รรมเบอื้ งตน้   เท่านั้น  หวังว่าท่านผู้อ่านจะได้รับสาระประโยชน์  และได้แนวทางที่  จะน�ำไปใช้ในการฝึกหัดปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันได้  ขอให้ทุกท่าน  จงมคี วามสขุ ในการอา่ น มคี วามเขา้ ใจในหลกั การปฏบิ ตั  ิ และมคี วาม  ผ่อนคลายในการเรียนรู้ไปด้วยกัน  เมื่อท่านอ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว  ขอใหท้ า่ นเกดิ แรงบนั ดาลใจ เกดิ กำ� ลงั ใจทเี่ หน็ ความจรงิ วา่  ธรรมะท ี่ พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนนั้น  ไม่ยากเกินวิสัยที่เราสามารถที่จะ  ฝกึ ได ้ ไมย่ ากเกนิ กำ� ลงั ทเ่ี ราจะฝกึ ไหว ขอใหท้ า่ นเกดิ ศรทั ธาทพ่ี รอ้ ม  จะนอ้ มรบั พระธรรมของพระพทุ ธองคม์ าไวเ้ ปน็ หลกั ใจ เพอ่ื เปน็ หลกั   ในการกา้ วเดนิ ออกจากสังสารวัฏให้ไดใ้ นสักวนั ขออนโุ มทนากบั ทา่ นผอู้ า่ น และทมี งานผจู้ ดั ทำ� ทกุ ทา่ นอกี ครง้ั   “การใหธ้ รรมะ ชนะการใหท้ ง้ั ปวง” การใหธ้ รรมะ คอื  การใหแ้ สงธรรม  แสงปัญญา  ขอให้ทุกท่านจงได้รับแสงธรรมแสงปัญญา ตามหลัก  การภาวนาที่พระพุทธองค์ทรงมอบให้ทุกทา่ น เทอญ. ธรี ยทุ ธ เวชเจริญยิง่

ชมรมคกําัลนยําาขณองธรรม แมเ้ วลาผา่ นมานานปกี วา่ แลว้  แตพ่ วกเราหลายคนคงไมล่ มื บรรยากาศ  ทต่ี นื่ ร ู้ และผอ่ นคลาย ในคอรส์ อบรมภาวนา “สบายๆ สไตลธ์ รรมะ”  ทที่ า่ นอาจารยธ์ รี ยทุ ธ เวชเจรญิ ยงิ่  ไดเ้ มตตามอบเวลาแหง่ คณุ คา่ ใหแ้ ก่  พวกเราตลอดทงั้ วนั นนั้  ณ หอ้ งประชมุ พระเทพโมล ี อาคารผปู้ ว่ ยนอก  ช้ัน  ๔  โรงพยาบาลสมุทรปราการ  ภาพของรอยยิ้มแห่งความสุข  เบิกบาน  ท่ีผ่องใส  บริสุทธิ์  ด้วยธรรม  และความรื่นรมย์ด้วยการ  นำ� เสนอทเ่ี ปน็ ขน้ั ตอนชดั เจน งา่ ย งาม แตไ่ มเ่ ครง่ เครยี ด ไมว่ า่ จะเปน็   การภาวนากับการรับประทานขนม  ไปจนถึงเสียงเพลงแห่งธรรมท่ี  ไพเราะ จากความตง้ั ใจทท่ี า่ นอาจารยไ์ ดท้ มุ่ เท สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ดๆี  ทมี่ ี  คณุ คา่ ทางจติ ใจ มอบธรรมและความสขุ ใหพ้ วกเราทกุ คน ยอ้ นระลกึ   ไปถงึ วันนั้นแลว้  ยังอ่มิ เอมเปยี่ มสุขใจ

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 5 ด้วยสารธรรมที่ ซ่ือๆ เข้าใจง่าย และที่นำ� มาปฏบิ ตั ขิ จดั ทกุ ข์  ได้จริง  ชมรมฯ  จึงขออนุญาตท่านอาจารย์เรียบเรียงเน้ือหาธรรม  จากการอบรมตลอดวนั นนั้ มาเปน็ หนงั สอื  เพอ่ื นๆ ระดมกำ� ลงั ชว่ ยกนั   ถอดเทปเนอ้ื หาไวใ้ ห ้ แตจ่ นแลว้ จนรอด เราเองกย็ งั ยงุ่ กบั สารพดั กจิ   ยังไม่มีเวลาเรียบเรียงเน้ือหา  ท�ำให้เสร็จเสียที  รู้สึกติดค้างในใจ  มานาน จนเมื่อต้นปี ๒๕๖๑ ที่ทา่ นอาจารย์เมตตามาอบรมธรรมท่ ี โรงพยาบาลสมทุ รปราการอกี ครง้ั  เราจงึ ขอความเมตตาทา่ น ใหช้ ว่ ย  นำ� ตน้ ฉบบั ไปตรวจทานและเรยี บเรยี งเปน็ ตน้ ฉบบั หนงั สอื  ทำ� ใหง้ าน  อนั ทรงคุณค่าสามารถดำ� เนินคบื หน้าไปได้ดง่ั ที่ตงั้ ใจไว้ ทีมงานของชมรมฯ  ต้ังใจช่วยกันรังสรรค์ผลงานด้วยความ  ศรัทธา  ท�ำให้งานส�ำเร็จได้อย่างงดงาม  โดยได้รับน้�ำใจจากศิลปิน  ใจบุญ  “เซมเบ้”  แนวหลังทางธรรม  ผู้ปิดทองหลังพระอีกเช่นเคย  โดยเซมเบไ้ ดช้ ว่ ยวาดภาพลายเสน้  ประกอบทงั้ เลม่  ทงั้ ภาพปกกว็ าด  ใหง้ ดงาม ทำ� ใหห้ นงั สอื ยงิ่ มเี สนห่  ์ ชวนอา่ น งามทง้ั เนอื้ หาสารธรรม  และรปู เลม่ ทช่ี วนหยบิ ชวนมอง นา่ อนโุ มทนายง่ิ นกั ในนำ้� ใจของศลิ ปนิ   ใจบุญท่านน้ี  ในการเตรียมเน้ือหานั้น  ท่านอาจารย์ยังได้เมตตา  ตรวจทานใหอ้ กี รอบ เพอื่ ความสมบรู ณใ์ นธรรม ในทสี่ ดุ  หนงั สอื ดๆี   กส็ ำ� เร็จเป็นรูปเลม่  พร้อมทจ่ี ะเปน็ ธรรมบรรณาการแด่ทกุ ทา่ น เม่ือถึงคราวจะจัดพิมพ์  ชมรมฯ  ก็มีอุปสรรคความขัดข้อง  อีกครั้ง  เร่ืองงบประมาณอันจ�ำกัด  ซ่ึงต้องจัดสรรใช้ท�ำงานเผยแผ ่

6 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ หลายอย่าง  ในงบอันจ�ำกัด  แต่ในที่สุดทุกอย่างก็ส�ำเร็จได้ด้วย  “ธรรมะจัดสรร”  โดยความเมตตาของท่านอาจารย์ธีรยุทธ  หรือ  พ่ียุทธท่ีเคารพยิ่งของพวกเรา  เมื่ิอท่านทราบปัญหา  ก็เมตตาเป็น  เจ้าภาพจัดพิมพ์ให้ท้ังหมดโดย  “กองทุนธรรมทาน”  ของท่าน  จ�ำนวน  ๕,๐๐๐  เล่ม  ท้ังยังได้แบ่งสรรปันธรรม  มอบให้ชมรม  กัลยาณธรรมไว้แจกธรรมทาน  จ�ำนวน  ๒,๐๐๐  เล่มด้วย  สมเป็น  ครูผู้เป็นแบบอย่างทางเมตตาและความเก้ือกูลยิ่ง  จึงขอกราบ  ขอบพระคุณในเมตตาอารยี ์ท่านอาจารย ์ มา ณ ท่ีนี้ ท้ายสุดน้ี ขอเป็นก�ำลังใจให้ทุกทา่ น ในการท�ำความดี แม้จะ  มีอุปสรรคบ้าง  แต่ฟ้ามีตา  ไม่ทิ้งเราแน่นอน  และขอเป็นก�ำลังใจ  ในการพากเพียรปฏิบัติภาวนา  เพราะเรามีครูบาอาจารย์ที่เมตตา  และใหค้ วามเปน็ กันเอง คอยแนะน�ำธรรม และช้ที างสวา่ งให้เสมอ ขอขอบคุณและอนโุ มทนาบญุ ทุกทา่ น ทพญ. อจั ฉรา กล่ินสุวรรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 7 สารบัญ รักแบบเมตตา ๑๐ สบาย สบาย สไตล์ธรรมะ ๑๔ เราจะปฏิบัติธรรมอย่างไร จงึ จะเขา้ ถงึ ธรรมได้ ๑๗ เคร่ืองมอื ภาวนา ๒๖ ร้สู ึกตวั ๓๑ ฝึกรูส้ ภาวะ ๓๗ บุญกิริยาวตั ถุ ๑๐ ประการ ๔๒ ทเ่ี ราควรร้จู ักและควรฝึกให้มี  ๔๓ เพราะเป็นหลักการทํากุศลใหถ้ งึ พรอ้ ม ๔๕ คอื เรอ่ื งของชวี ิต ๔๙ กนิ ขนมอยา่ งมสี ติ ๕๙ ถามตอบ ๖๓ ๖๗ คำ� ถามที่ ๑ ๗๕ ค�ำถามท่ี ๒ ค�ำถามที่ ๓ ค�ำถามท่ี ๔ คำ� ถามที่ ๕



ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 9 ขอนอบนอ้ มแด่พระรัตนตรยั   สวัสดที า่ นสาธชุ นผู้สนใจใฝธ่ รรมทกุ ทา่ นครับ  ก่อนอื่นผมต้องขออนุโมทนากับทุกท่าน  ตลอดจนผู้บริหารและ  เจ้าหน้าท่ีของชมรมกัลยาณธรรม  และโรงพยาบาลสมุทรปราการ  ท่ไี ด้จัดให้มีการฟงั ธรรม และปฏิบัตธิ รรมร่วมกนั ในครง้ั นี ้ วนั นี้เรา  จะมาพูดคุยสนทนาธรรมกันในแบบสบายๆ  ตามที่ท่านได้ต้ังหัวข้อ เอาไว้ให้นะครับ  อีกไม่กี่วันก็ใกล้จะถึงวันแห่งความรักแล้ว  ผู้คนก็ เริ่มจะคึกคักในการจับจ่ายซ้ือหาของขวัญให้แก่คนที่ตนรัก  แต่เป็น  สงิ่ ทนี่ า่ สงั เกตวา่  เพราะเหตใุ ดเลา่ พระพทุ ธเจา้  จงึ ทรงตรสั เอาไวว้ า่ “ท่ใี ดมีรัก...ท่นี ่นั มีทุกข์” ถ้าเช่นน้นั อยากจะร้วู ่า “รักอย่างไรหนอ... ท่ีทำ�ให้ใจต้องเป็นทุกข์”  แล้ว  “รักอย่างไรหนอ...ที่ทำ�ให้ใจไม่เป็น ทกุ ข”์  รกั ใดๆ ทม่ี คี วามหลงใหล ยนิ ด ี ตดิ ใจ ยดึ ตดิ  ผกู พนั  หงึ  หวง หว่ ง หา อาลยั  อาวรณ ์ รกั นน้ั ทา่ นเรยี กวา่  “รกั แบบราคะ” เปน็ รกั ที่ทำ�ให้ใจต้องเป็นทุกข์  แต่รักใดที่มีความปรารถนาดีต่อกัน  รักที่ 

10 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ มอบสิ่งดีๆ  ให้แก่กัน  รักที่เป็นมิตรไมตรีต่อกัน  รักที่พร้อมจะ  ให้อภัยซง่ึ กนั และกนั ได ้ รกั นน้ั ทา่ นเรยี กวา่  “รกั แบบเมตตา” เปน็ รกั ท่ที ำ�ให้ใจไม่เป็นทุกข์  “เพราะเมตตาธรรมเป็นธรรมค้ําจุนโลก” ทำ�ใหโ้ ลกมีความสุข สงบ และรม่ เยน็ ร ัก แ บ บ เ ม ต ต า ฉะน้นั  เราต้องฝึกให้มีเมตตาธรรมต่อกัน พระพุทธองค์ทรง สอนใหเ้ รารกั กนั ดว้ ยเมตตา แตไ่ มไ่ ดส้ อนใหเ้ ราหลงใหลยดึ ตดิ ผกู พนั   ยึดครองส่ิงใดเอาไว้  ท่านจะสังเกตเห็นได้ว่า  ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่  รกั กนั แบบไหน “วนั วาเลนไทน”์  ผมเชอ่ื วา่ แรกเรม่ิ เดมิ ท ี กน็ า่ จะเปน็ รกั แบบเมตตา แตท่ กุ วนั นว้ี นั วาเลนไทนก์ ลบั กลายเปน็ รกั แบบราคะ  เสียเป็นส่วนใหญ่  บางคนไม่มีใครซ้ือดอกกุหลาบให้  ก็กลัวว่าจะ  เสยี หนา้  สอู้ ตุ สา่ หล์ งทนุ ไปหาซอ้ื ดอกกหุ ลาบมาใหแ้ กต่ นเอง เกรงวา่   จะอายคนอน่ื เขา เดยี๋ วเขาจะหาวา่ เราไมม่ คี นรกั  เรารกั เขากเ็ พราะ  หวังให้เขามารักเรา  เรารักเขาเพราะต้องการให้เขามาทำ�ดีกับเรา  ถา้ ขาดเขาแลว้ เราจะไมม่ คี วามสขุ  ถ้าเรารกั กนั จรงิ ตอ้ งเปน็ ของกนั   และกนั ในวนั น ้ี นแ่ี หละคอื  “รกั แบบราคะ” เปน็ รกั ทหี่ ลงใหลยดึ ตดิ ผูกพัน  รักด้วยความใคร่อยากได้มาเป็นของตน  เป็นรักท่ีทำ�ให้ใจ  ต้องเป็นทุกข์

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 11 ส่วน  “รักแบบเมตตา”  เป็นรักท่ีไม่เป็นทุกข์  เป็นรักท่ีไม่ได้ หวังส่ิงตอบแทนใดๆ  รักท่ีปรารถนาจะมอบสิ่งดีๆ  ให้แก่กันและกัน  รกั ทไ่ี มห่ ลงยดึ ตดิ ผกู พนั ใดๆ ไว ้ นค่ี อื ความหมายของเนอ้ื หาสารธรรม  จากบทเพลง “วนั วาเลนไทน ์ - วนั มาฆบชู า” ทผี่ มไดแ้ ตง่ และไดร้ อ้ ง ให้ทา่ นฟงั จบไปแล้ว ผมขออนญุ าตถามทกุ ทา่ นวา่  สงั คมทกุ วนั น ี้ คนสว่ นใหญช่ อบ  ทำ�อะไรมากกวา่ กนั  อนั ดบั แรกระหวา่ ง การละบาป กบั  การใหท้ าน คนสว่ นใหญช่ อบทำ�อะไรมากกวา่ กนั ครบั  “คนสว่ นใหญช่ อบใหท้ าน มากกว่าการละบาป”  แม้ไปงานบุญทอดกฐินทอดผ้าป่า ก็ยังหนี ไม่พ้นกินเหล้าเมายา  โดยไม่เกรงกลัวต่อบาป  ไม่ละอายต่อบาป  เห็นไหมครับว่า  คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยชอบละบาป  แม้ในขณะไป ทำ�บญุ   พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เรา  ละบาปอกุศลท้ังปวง  น่ีคือหลัก คำ�สอนขอ้ ท ี่ ๑ พระองคท์ รงสอนใหเ้ รา ท�ำ กศุ ลใหถ้ งึ พรอ้ ม นน่ั คอื หลกั คำ�สอนขอ้ ท ่ี ๒ พระองคท์ รงสอนใหเ้ รา ฝกึ จติ ใหผ้ อ่ งแผว้  ผอ่ งใส หมดจดจากกเิ ลส นค่ี อื หลกั คำ�สอนขอ้ ท ่ี ๓ ซง่ึ เปน็ หลกั ธรรมคำ�สอน ของพระพทุ ธศาสนา และเปน็ คำ�สอนของพระพทุ ธเจา้ ทกุ ๆ พระองค์  พระพุทธเจ้าทรงประกาศหลกั คำ�สอนนีใ้ น “วนั มาฆบูชา” ซึ่งก็ใกล้ จะมาถึงในเร็ววันน้ีเช่นกัน  “วันมาฆบูชา”  จึงเป็นวันแห่งความรัก

12 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ แบบเมตตา เปน็ วนั แหง่ ความรกั ทแ่ี ทจ้ รงิ ของชาวพทุ ธ จงมคี วามรกั ด้วยการรู้จักละบาปอกุศลท้ังปวง  จงมีความรักท่ีรู้จักเจริญกุศลให้  ถงึ พรอ้ ม และจงมคี วามรกั ทร่ี จู้ กั ฝกึ จติ ใหผ้ อ่ งแผว้  ผอ่ งใส หมดจด  จากกเิ ลส นี่คือ “หลกั แห่งรักทีไ่ รท้ กุ ข”์ มนษุ ยส์ ว่ นใหญช่ อบใหท้ านมากกวา่ การละบาป ทนี ล้ี องมาดวู า่   การใหท้ าน กบั  การฟงั ธรรม ละ่ ครบั  ทา่ นคดิ วา่ คนสว่ นใหญช่ อบ ทำ�อะไรมากกว่ากัน  “คนส่วนใหญ่ชอบให้ทาน  มากกว่าฟังธรรม” แล้วคนที่  ชอบฟังธรรม  กับ  รักษาศีล  คนส่วนใหญ่ชอบทำ�อะไร มากกว่ากันครับ  “คนส่วนใหญ่ชอบฟังธรรม  มากกว่ารักษาศีล” เราขออาราธนาศีลจากพระ  พอก้าวเท้าออกจากวัด  ศีลก็หลุดร่วง  หลน่ หายกลบั คนื ไปสพู่ ระทา่ นเหมอื นเดมิ  ฉะนน้ั  การจะขออาราธนา  ศลี จากพระ หรอื จะสมาทานศลี เองกต็ าม คอื การนอ้ มนำ�มาประพฤต ิ ปฏิบตั ใิ ห้มีข้ึนในใจตนน่ันเอง เรามาดกู นั ตอ่ นะครบั  ระหว่าง การรกั ษาศลี  กบั  การเจรญิ ภาวนา  ท่านคิดว่าคนส่วนใหญ่ชอบทำ�อย่างไหนมากกว่ากัน  “คน สว่ นใหญช่ อบรกั ษาศลี  มากกวา่ การเจรญิ ภาวนา” การเจรญิ ภาวนา น้ัน  มีอยู่  ๒  อย่าง  คือ  การเจริญสมถภาวนา  และ  การเจริญ วิปัสสนาภาวนา  แล้วท่านคิดว่า  คนส่วนใหญ่ชอบเจริญสมถะ หรือวิปัสสนามากกว่ากันครับ  “ส่วนใหญ่คนชอบการเจริญสมถะ

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 13 มากกวา่ การเจรญิ วปิ สั สนา” แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ทกุ บญุ กศุ ลทงั้ หลาย ท่ีกล่าวมาทั้งหมดข้างต้น  ในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธ  ต้องฝึกทำ�  ประจำ�สมํ่าเสมอ ทานกต็ อ้ งให ้ ละบาปกต็ อ้ งละ ฟงั ธรรมกต็ อ้ งฟงั   รกั ษาศลี กต็ อ้ งรกั ษา การภาวนา ทงั้ สมถะและวปิ สั สนา กต็ อ้ งฝกึ ทำ�  ประจำ�สมาํ่ เสมอ ทกุ พระธรรมคำ�สอนทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั สอนไว ้ ล้วนเป็นปัจจัยเกื้อกูลต่อการพ้นทุกข์ดับทุกข์ท้ังส้ิน  ฉะนั้นเราต้อง  ฝกึ ทำ�ใหถ้ ว้ นทวั่  จงึ จะพน้ ทุกข์ดบั ทุกข์ได้อยา่ งแท้จรงิ

ส บ า ย  ส บ า ย  ส ไ ต ล ์ธ ร ร ม ะ หัวข้อท่ีท่านต้ังให้เรามาพูดคุยสนทนาธรรมกันในวันน้ี  ก็คือ  “สบาย สบาย สไตลธ์ รรมะ” ความหมายของหวั ขอ้ น ้ี จะเปน็ อยา่ งไร นน้ั  ผมไดแ้ ตง่ เปน็ บทเพลงเอาไว ้ ขอใหท้ กุ ทา่ นไดช้ ว่ ยกนั รอ้ งพรอ้ ม  กนั ด้วยนะครับ สบาย สบาย สไตล์ธรรมะ เรยี นรู้แล้วจะ จติ ใจสบาย สบาย สบาย รู้กายน่ิงไหว รูล้ มหายใจ รใู้ หผ้ อ่ นคลาย สบาย สบาย อยา่ ได้สับสน รู้ตัวทตี่ น ท่กี ายและใจ สบาย สบาย จะยืนเดินน่งั เหน็ อนิจจงั  ทม่ี นั เปลย่ี นไป สบาย สบาย อยา่ ไดร้ อชา้ รบี เดินเข้ามา กอ่ นทีจ่ ะสาย สบาย สบาย เดนิ ตามมรรคา ขององค์สัมมา ก่อนชีพวางวาย บทเพลงน ้ี ผมแตง่ มาเพอ่ื งานนโ้ี ดยเฉพาะเลยครบั  เรามาดกู นั   นะครบั วา่  ทำ�ไมหวั ขอ้ ทที่ า่ นตงั้ ใหน้  ี้ จงึ ตอ้ งมคี ำ�วา่  “สบาย สบาย” ถึง  ๒  คำ�  และคำ�ว่า  “สบาย”  นี้  มีความหมายว่าอย่างไร  เรามา เรยี นภาษาไทยวนั ละคำ�กนั หนอ่ ยดีไหมครับ

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 15 “สบาย” ตัวท ่ี ๑ หมายความว่า เมอ่ื ปฏิบัตแิ ล้ว ตอ้ งไม่เปน็ โทษ ไมเ่ ปน็ พษิ  ไมเ่ ปน็ ภยั  ถา้ ปฏบิ ตั แิ ลว้ มนั เปน็ โทษ เปน็ พษิ  เปน็ ภยั ทำ�ให้ใจอึดอัด  ทำ�ให้เครียด  ทำ�ให้เซ่ืองซึม  ทำ�ให้หลง  เขาเรียก  ว่า  “อบาย”   คำ�ว่า  อะ  แปลว่า  ไม่   ส่วนคำ�ว่า  “สบาย”  แปลว่า ไม่ลำ�บาก  สุขใจ  เบิกบานใจ  ไม่เป็นทุกข์  ฉะน้ันคำ�ว่า  อบาย แปลว่า  ทุกข์ยากลำ�บาก  เป็นสถานที่หรือภพภูมิที่ไม่สุขสบาย  ไม่เจริญ  ความหมายของคำ�ว่า  สบาย  ปฏิบัติแล้วต้องไม่เป็นโทษ ไมเ่ ปน็ พษิ  ไมเ่ ปน็ ภยั  ทำ�ใหธ้ รรมะเจรญิ  และเกดิ ความสขุ  สงบ เยน็ “สบาย”  ตัวท่ี  ๒  หมายความว่า  ปฏิบัติแล้วต้องมีความสุข ผอ่ นคลาย โปรง่  โลง่  เบา ออ่ นโยน นมุ่ นวล คลอ่ งแคลว่  วอ่ งไว ควรแกก่ ารงาน จงึ จะเรยี กวา่  สบาย ถา้ ปฏบิ ตั ธิ รรมแลว้ เครง่ เครยี ด อดึ อดั  หนกั องึ้  ตงึ แนน่  กดขม่  บงั คบั เอาไว ้ หรอื พรอ้ มทจี่ ะระเบดิ   ได้ทุกเม่ือ  อย่างนั้นไม่ใช่เป็นการปฏิบัติธรรมท่ีถูกต้อง  การปฏิบัติ  ธรรมที่ถูกต้องน้ัน  จะต้องมีสติ  รู้  ตื่น  เบิกบาน  โปร่ง  โล่ง  เบา สบาย ผอ่ นคลาย ไมห่ นกั  ไมต่ งึ  ไมเ่ ครยี ด ไมอ่ ดึ อดั  ไมก่ ดขม่ บงั คบั   เอาไว้ “เปน็ เพยี งแค่รู้ทกุ ข์ แต่ไม่เขา้ ไปเป็นทกุ ข์” คำ�ว่า  “สไตล์ธรรมะ”  หมายถึง  มีหลายรูปแบบหลายสไตล์ ธรรมะคอื อะไร ธรรมะคอื  สภาพธรรมทเ่ี ปน็ จรงิ มอี ยจู่ รงิ ๆ พสิ จู น์ ไดจ้ รงิ  สภาพธรรมนนั้ แบง่ ออกไดเ้ ปน็  ๒ อยา่ ง ไดแ้ ก ่ โลกยี ธรรม

16 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ เป็นธรรมะที่เก่ียวข้องกับโลกอยู่กับโลก  ส่วน  โลกุตตรธรรม  เป็น ธรรมะทพี่ น้ โลก อยเู่ หนอื โลก ทำ�ใหพ้ น้ ทกุ ขไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ  ฉะนนั้   “สไตล์ธรรมะ”  จึงมีสองสไตล์ในความหมายนี้ โลกยี ธรรม คอื  ธรรมะทย่ี งั ตอ้ งคลกุ คลอี ยกู่ บั โลก เปน็ สภาพ ธรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ  ตง้ั อย ู่ และดบั ไป เชน่  จติ  เจตสกิ  รปู  เปน็ ธรรมทย่ี งั ขอ้ งเก่ียวกบั เรอื่ งของ ธาตุ ๔ ขนั ธ ์ ๕ หรอื  รปู  - นาม กาย - ใจ น่ันเอง  ส่ิงเหล่าน้ีเป็นธรรมะท่ีเป็นฝ่ายโลกียธรรมที่อยู่กับโลก ยังมีการเกิดดับอยู่  ยังมีเหตุปัจจัยปรุงแต่งอยู่  ยังหาความจริงแท้  แนน่ อนอะไรไม่ได้ แปรเปล่ียนไปตามเหตปุ จั จัยปรงุ แตง่ โลกตุ ตรธรรม คอื  ธรรมะทอ่ี ยเู่ หนอื โลก ธรรมทพ่ี น้ จากโลก พน้ จากโลกยี ธรรม อนั ไดแ้ ก ่ มรรค ๔ ผล ๔ นพิ พาน ๑ ธรรมใด ที่พ้นจากเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ธรรมน้ันทา่ นเรียกว่า “อสังขตธรรม” ส่วนธรรมใดที่ยังอิงอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง  ธรรมนั้นท่านเรียกว่า  “สังขตธรรม”

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 17 เราจจงึ ะจปะเฏข ิ บ ้ าั ตถิ ธึ งรธรรมรอมยไ่าดง้ ไร การทเ่ี ราจะปฏบิ ตั ธิ รรมใหเ้ ขา้ ถงึ ธรรมไดน้ น้ั  เราจะตอ้ งเจรญิ   ใน  มรรคมีองค์  ๘  หรือเม่ือย่อลงมาแล้วก็คือ  ศีล  สมาธิ  ปัญญา ขาดอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ไมไ่ ด ้ ทง้ั สามอยา่ งน ้ี ตอ้ งองิ อาศยั ซง่ึ กนั และกนั   เราตอ้ งใช ้ ศลี  สมาธ ิ ปญั ญา ในการเจรญิ ภาวนา การปฏบิ ตั ธิ รรม  ในพทุ ธศาสนานนั้  มอี ย ู่ ๒ อยา่ ง คอื  สมถภาวนา และ วปิ สั สนา ภาวนา ดงั นน้ั  เราตอ้ งศกึ ษาเรยี นรใู้ นเรอ่ื ง ไตรสกิ ขา คอื  อธสิ ลี สกิ ขา อธิจิตตสกิ ขา อธปิ ญั ญาสิกขา เปน็ การเรยี นรใู้ นเรื่อง ศลี  สมาธิ ปญั ญา ใหเ้ ขา้ ใจ เพอ่ื จะไดน้ ำ�ไปใชเ้ จรญิ สมถะและวปิ สั สนา ไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ งตรงทาง ธรรมะ ๓ อยา่ งน ้ี ถา้ ขาดอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ  สมถะ  กไ็ มเ่ จรญิ  ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ  วปิ สั สนากเ็ จรญิ ขน้ึ ไมไ่ ด ้ บางครง้ั บางคราว  เวลาทท่ี า่ นปฏบิ ตั ธิ รรม ใหล้ องสงั เกตดวู า่  ทำ�ไมนง่ั สมาธแิ ลว้  ใจมนั   ไม่ค่อยสงบเลย  ทำ�ไมมันฟุ้งซ่านมากจัง  ขอให้ท่านลองมาสำ�รวจ  ตรวจศลี ดซู วิ า่  ศลี ทา่ นเปน็ อยา่ งไร หากศลี ทา่ นบกพรอ่ ง หรอื ทา่ น  เป็นคนคิดมาก  ก็จะทำ�ให้สมาธิตั้งมั่นได้ยาก  และสมาธิที่ทำ�ให้จิต 

18 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ สงบก็เกิดขึ้นได้ยาก  เพราะมันจะมีสิ่งรบกวนเยอะแยะมากมาย  ไปหมด แต่ถา้ ศีลดแี ละมสี ติร้ทู นั จติ ท่เี ผลอไปคดิ  ก็จะเก้ือกลู ทำ�ให้  สมาธดิ ดี ว้ ย บางครง้ั ปฏบิ ตั ธิ รรมไปตง้ั นาน ทำ�ไมปญั ญามนั ไมค่ อ่ ยจะ  เจรญิ  เหตเุ พราะจติ ไมม่ สี มาธ ิ สมาธ ิ คอื  ความตง้ั มน่ั  สมาธนิ น้ั เปน็   เหตใุ กลท้ ำ�ใหเ้ กดิ ปญั ญา สว่ นสมาธเิ องกข็ าดศลี ไมไ่ ด ้ เพราะศลี ทำ�ให ้ เกดิ ความสขุ  ความสขุ เปน็ เหตใุ กลท้ ำ�ใหเ้ กดิ สมาธ ิ การทจ่ี ะเกดิ ปญั ญา  ไดน้ นั้  จำ�เปน็ จะตอ้ งองิ อาศยั ทง้ั ศลี  และสมาธ ิ เพราะศลี และสมาธ ิ เป็นปจั จัยเกอื้ กูลให้เกิดปัญญา นี่คือส่ิงทเี่ ราตอ้ งศกึ ษาเรียนร ู้ เพอ่ื   ปฏบิ ตั ิธรรมให้เขา้ ถึงธรรม สมถะทำ�ให้จิตเป็นอย่างไร  สมถะทำ�ให้จิตน้ัน  “สงบ”  ส่วน วปิ สั สนาทำ�ใหเ้ กดิ อะไร วปิ สั สนาทำ�ใหเ้ กดิ  “ปญั ญา” พาใหพ้ น้ ทกุ ข์ ธรรมะท้ัง  ๒  ประการนี้  ที่เราจะต้องเจริญด้วยปัญญาอันย่ิงน้ัน ได้แก ่ ๑. การเจริญสมถภาวนา ๒. การเจริญวิปัสสนาภาวนา  ประโยคสำ�คัญอยู่ที่คำ�ว่า  “จะต้องเจริญด้วยปัญญาอันย่ิง” คำ�วา่  จะตอ้ งเจรญิ ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ นน้ั  หมายความวา่  ๑. ตอ้ งรวู้ า่   เราจะทำ�อะไร จะทำ�สมถะ หรอื จะทำ�วปิ สั สนา ๒. ตอ้ งรวู้ า่ ทำ�ไปเพอ่ื   อะไร ทำ�สมถะเพอ่ื ใหจ้ ติ สงบ ทำ�วปิ สั สนาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ปญั ญาพาใหพ้ น้   ทกุ ข ์ ๓. ตอ้ งรวู้ า่ จะทำ�แลว้ จะทำ�อยา่ งไร มาเรยี นรรู้ ว่ มกนั นะครบั วา่   การเจรญิ ภาวนาทงั้  ๒ อยา่ งน ี้ จะตอ้ งมหี ลกั ปฏบิ ตั อิ ย่างไรกนั บ้าง

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 19 การเจริญสมถะ  คือ  น้อมจิตไปรู้อยู่ในอารมณ์เดียวอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง เชน่  ใหจ้ ติ เพง่ รอู้ ยทู่ ล่ี มหายใจเขา้ ออก เพยี งอยา่ งเดยี ว ให ้ จิตไปเพ่งรู้อยู่ที่ท้องพองยุบ  เพียงอย่างเดียว  ให้จิตเพ่งรู้อยู่ที่เท้า  กระทบพื้นในขณะที่เดินจงกรม  เพียงอย่างเดียว  ให้จิตไปรู้อยู่ท่ี  บทบรกิ รรมใดบรกิ รรมหนง่ึ  เชน่  พทุ โธๆๆ เพยี งอยา่ งเดยี ว รแู้ บบ  ผ่อนคลายและสบาย  แต่มีเงื่อนไขว่า  อารมณ์ท่ีให้จิตไประลึกรู้น้ัน  จะตอ้ งเปน็ อารมณท์ ที่ ำ�ใหจ้ ติ มคี วามสขุ  และเปน็ อารมณท์ เี่ ปน็ กศุ ล  เปน็ อารมณท์ ี่ไม่ทำ�ให้เกดิ กเิ ลส จงึ จะทำ�ให้จิตสงบไดง้ า่ ย ยกตัวอย่างอารมณ์ท่ีเป็นอกุศล  เช่น  การเล่นไพ่ทำ�ให้เกิด  ความสขุ ได ้ ทำ�ใหเ้ กดิ สมาธไิ ดก้ จ็ รงิ  แตก่ ารเลน่ ไพน่ น้ั  เปน็ อารมณท์ ่ ี เปน็ อกศุ ล เปน็ เรอ่ื งของอบายมขุ  เปน็ มจิ ฉาสมาธ ิ อารมณแ์ บบนใ้ี ช้  ในการเจรญิ สมถะไมไ่ ด ้ สมาธนิ น้ั มที ง้ั  มจิ ฉาสมาธ ิ และ สมั มาสมาธิ มิจฉาสมาธิ  เป็นสมาธิท่ีผิด  สัมมาสมาธิเป็นสมาธิที่ถูกต้อง  เป็น  สมาธทิ เ่ี กอื้ กลู ใหเ้ กดิ ความสงบ และทำ�ใหเ้ กดิ ปญั ญาได ้ ซง่ึ เปน็ สมาธ ิ ฝา่ ยกศุ ล การทจ่ี ะทำ�ใหจ้ ติ สงบไดน้ น้ั  ตอ้ งหาอารมณท์ จี่ ติ มคี วามสขุ   และเป็นกุศล  บางท่านถนัดที่จะรู้ลมหายใจ  บางท่านถนัดรู้ท้อง  พองยุบ  บางท่านไม่ถนัด  ทั้งลมหายใจ  และท้องพองยุบ  แต่ถนัด  ทจี่ ะรอู้ ริ ยิ าบถ หรอื ถนดั บรกิ รรมพทุ โธๆๆ กใ็ ชไ้ ด ้ เราจะใชอ้ ารมณ ์ อะไรก็ได้ที่เราถนัด  เป็นอารมณ์ที่เป็นกุศลทำ�ให้จิตมีความสุข  อะไรก็ตามที่จิตมีความสุข  จิตก็จะน้อมไปรู้อยู่กับสิ่งน้ันได้เนืองๆ 

20 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ และบ่อยๆ  เม่ือจิตน้อมไปรู้สิ่งนั้นอย่างมีความสุข  ก็จะทำ�ให้จิต  รวมเปน็ หนงึ่ ไดง้ า่ ย เมอื่ จติ รวมเปน็ หนง่ึ  มนั กจ็ ะตดั ความฟงุ้ ซา่ นทงิ้   เมื่อจิตไม่ฟุ้งซ่าน  ก็จะทำ�ให้จิตได้รับความสงบเป็นรางวัล  เม่ือใด ทีจ่ ติ สงบ ท่านจึงเรยี กวา่  “สมถะ” การเจรญิ วปิ สั สนา ตอ้ งทำ�อยา่ งไร การเจรญิ วปิ สั สนา ตอ้ งมี ความเพียร  ต้องมีสัมปชัญญะ  ต้องมีสติ  มาระลึกรู้สภาวธรรมที่  เกดิ ขน้ึ ท ่ี กาย เวทนา จติ  ธรรม และเหน็ สภาวธรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ นน้ั เปน็ ไตรลักษณ์  อันได้แก่  อนิจจัง  ทุกขัง  อนัตตา  น่ีคือเคร่ืองมือใน การเจรญิ วปิ สั สนา หรอื ทา่ นเรยี กวา่  “องคธ์ รรมในการภาวนา” คอื ให้มี  วิริยะ  สัมปชัญญะ  สติ  มาระลึกรู้สภาวธรรมที่กำ�ลังปรากฏ เกิดข้ึนที่กาย  เวทนา  จิต  ธรรม  ณ  ขณะปัจจุบัน  และเห็นสภาว-  ธรรมที่เกิดข้ึนน้ัน เป็นไตรลักษณ์ คือ  อนิจจัง (ไม่เที่ยง) ทุกขัง (ไม่ทน)  อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตนบุคคลเราเขา  บังคับบัญชาให้เป็นไป ดง่ั ใจปรารถนาไมไ่ ด)้  เมอ่ื ใดกต็ าม ทเ่ี หน็ สภาวธรรมเปน็ ไตรลกั ษณ์ เมื่อนนั้ ทา่ นจงึ เรยี กวา่  “วิปัสสนาปัญญา” เรามาเรยี นรคู้ วามหมายของคำ�วา่  “สมั ปชญั ญะ” เพม่ิ เตมิ กนั หนอ่ ยนะครบั  สมั ปชญั ญะ หมายถงึ ความรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม เปน็ ธรรม  ท่มี ีอปุ การะ คูก่ บั สต ิ ซง่ึ มีอย ู่ ๔ ลักษณะ ทเ่ี ราควรรจู้ กั ดังนี้

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 21 ๑. สาตถกสมั ปชญั ญะ คอื  ปญั ญาทร่ี วู้ า่  อะไรเปน็ ประโยชน์ หรอื มใิ ชป่ ระโยชน ์ เชน่  รวู้ า่ การเจรญิ สตปิ ฏั ฐานเปน็ ประโยชน ์ รวู้ า่   การหลงตามใจกิเลสไมเ่ ป็นประโยชน์ ๒.  สัปปายสัมปชัญญะ  คือ  ปัญญาที่รู้ว่า  อะไรเหมาะควร หรอื ไมเ่ หมาะควร เชน่  รวู้ า่ กรรมฐานใด เหมาะควรกบั จรติ ของตวั เอง  รู้ว่ากรรมฐานใด ทไี่ ม่เหมาะควร หรอื ไมถ่ ูกจริตกบั ตวั เอง ๓. โคจรสมั ปชญั ญะ คอื  ปญั ญาทรี่ วู้ า่  กำ�ลงั รสู้ ภาวธรรมท่ี ปรากฏเกิดขึ้นทางทวารใดในขณะปัจจุบันนั้น  เช่น  รู้ว่ากำ�ลังรู้รูป  หรอื ร้นู ามอะไร ทกี่ ำ�ลังปรากฏขึ้นทางทวารใดในขณะนน้ั ๔. อสมั โมหสมั ปชญั ญะ คอื  ปญั ญาทร่ี ตู้ รงตามความเปน็ จรงิ ว่า  สภาวธรรมท่ีเกิดข้ึนน้ัน  ไม่ใช่ตัวเราของเรา  รู้ว่ามันเป็นเพียง  รปู ธรรม - นามธรรม เทา่ นน้ั  และเหน็ รปู นามเหลา่ นน้ั  เปน็ ไตรลกั ษณ์ อนจิ จงั  ทกุ ขงั  อนตั ตา อสมั โมหสมั ปชญั ญะ นแ่ี หละ คอื  ปญั ญา ในวปิ ัสสนา ทแี่ ท้จริง ถ้าเรารู้หลักในการปฏิบัติธรรมแล้ว  การปฏิบัติธรรมก็จะ  ไมย่ งุ่ ยาก และไมส่ บั สน ทงั้ ในเรอื่ งการเจรญิ สมถะ และการเจรญิ   วิปัสสนา  การเจริญสมถะเราสามารถเพ่งรู้อยู่ในอารมณ์เดียวก็ได้ 

22 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ คดิ พจิ ารณากไ็ ด ้ ซงึ่ เปน็ การคดิ พจิ ารณา เพอ่ื ทำ�ใหจ้ ติ สงบจากบาป  อกศุ ล คดิ พจิ ารณาในสงิ่ ทดี่ ที ำ�ใหจ้ ติ เปน็ กศุ ล นค่ี อื  การเจรญิ สมถะ  แตก่ ารเจรญิ วปิ สั สนา ใชก้ ารคดิ พจิ ารณาเอาเองไมไ่ ด ้ วปิ สั สนาตอ้ ง  ใชค้ วามรสู้ กึ ตวั  วปิ สั สนาตอ้ งรสู้ กึ เอา ไมใ่ ชค่ ดิ เอา เดย๋ี วผมจะอธบิ าย และสาธติ  พรอ้ มทง้ั ยกตวั อยา่ งใหท้ า่ นไดเ้ หน็ วา่  “คดิ นกึ  กบั  รสู้ กึ ตวั ” สองคำ�น ี้ มีความแตกตา่ งกันอย่างไรนะครับ การเจริญสมถะ  ให้รู้อารมณ์เดียว  ส่วนใหญ่จะเป็นอารมณ์ บญั ญตั  ิ ยกตวั อยา่ งการรอู้ ารมณเ์ ดยี วของการเจรญิ สมถะ เชน่  ถา้   จะรู้ลมหายใจ  ก็ให้รู้ลมหายใจเพียงอย่างเดียว  อย่าไปรู้ลมหายใจ  แลว้ กม็ าเปลย่ี นไปรทู้ อ้ งพองยบุ  หรอื เปลย่ี นไปรกู้ ายทน่ี ง่ั  ถา้ รแู้ บบน้ ี จติ จะไมร่ วมเปน็ หนง่ึ  จติ กจ็ ะไมส่ งบ ใหเ้ รานอ้ มจติ ไปรอู้ ยกู่ บั อารมณ์  เดียวนั้นเนืองๆ  รู้แบบผ่อนคลาย  รู้แบบสบายๆ  ไม่หลงบังคับจน  ทำ�ให้จิตเครียด  และอย่าเปล่ียนอารมณ์บ่อย  หรืออย่าไปรู้อารมณ์  ทหี่ ลากหลาย  การเจรญิ วปิ สั สนา ไมไ่ ดร้ อู้ ารมณเ์ ดยี ว วปิ สั สนารอู้ ารมณค์ ู่ หรอื รอู้ ารมณท์ ห่ี ลากหลายได ้ แตต่ อ้ งเปน็ อารมณท์ เ่ี ปน็ ปรมตั ถ ์ หรอื   เปน็ สภาวธรรม เมอ่ื มสี ง่ิ ใดมากระทบสมั ผสั เกดิ ขน้ึ  ยกตวั อยา่ งเชน่ เรอ่ื งการฝกึ รดู้ จู ติ  ใหส้ งั เกตว่า จติ ขณะน ี้ มรี าคะ หรอื  ไมม่ รี าคะ จติ ขณะน ี้ โกรธ หรอื  ไมโ่ กรธ จติ ขณะน ้ี หลง หรอื  ไมห่ ลง จติ

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 23 ขณะน้ี ฟุ้งซ่าน  หรือ สงบ  จิตขณะน้ี มีสติ  หรือ เผลอสติ  จิต ในขณะนี้มีความสุข  ความทุกข์  หรือเฉยๆ  เป็นต้น  ดังนั้นอารมณ์ ของวิปัสสนาจะเกิดข้ึนได้หลากหลาย  แต่จิตสามารถรู้อารมณ์ได้  ทีละอย่าง  ทีละขณะ  อย่าบังคับจิต  หรือล็อกจิตให้มารู้อยู่กับ  อารมณ์เดียว  สุดแท้แต่จิตจะไประลึกรู้สภาวธรรมที่กายหรือท่ีใจ  สภาวธรรมใดทเ่ี ดน่  จติ กจ็ ะเออื้ มไปรสู้ ภาวธรรมนนั้  กใ็ หเ้ ราสงั เกต  เรียนรู้การทำ�งานของจติ ตามทีม่ ันเป็นกพ็ อ สมถะใชส้ มาธทิ นี่ งิ่ แชอ่ ยกู่ บั อารมณ ์ หรอื เพง่ รอู้ ยกู่ บั อารมณ ์ เดยี ว แตว่ ปิ สั สนาใชส้ มาธติ ง้ั มน่ั  สมาธทิ เ่ี ปน็  ผรู้  ู้ ผดู้  ู ผสู้ งั เกตการณ์ สงิ่ ใดปรากฏขนึ้  กแ็ คร่ ตู้ ามทม่ี นั เปน็  ไมห่ ลงอนิ  ไมห่ ลงจมแชแ่ นน่ งิ่   กับอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง  ไม่หลงเผลอ  ไม่หลงเพ่ง  ไม่หลงบังคับ  แต่ถ้าจิตหลงเผลอ  หลงเพ่ง  หลงบังคับ  ก็ให้มีสติรู้ตามที่มันเป็น  ฝึกจิตให้ตั้งมั่น  และเป็นกลางในการรับรู้อารมณ์  ให้เป็นเพียงผู้รู้  ผู้ดู  ผู้สังเกตการณ์เฉยๆ  เราจะเห็นได้ว่า  สมาธิในการเจริญสมถะ กับสมาธิในการเจริญวิปัสสนาน้ัน  ไม่เหมือนกัน  แต่ท้ังสองสมาธิน้ี  ล้วนเปน็ ประโยชน์เกอ้ื กลู ต่อการภาวนาท้งั คู่ สมาธิในสมถะ  เป็นสมาธิท่ีเพ่งรู้อยู่ในอารมณ์เดียว  สำ�หรับ ทา่ นทเ่ี คยศกึ ษาธรรมะมาบา้ ง อาจจะเคยไดย้ นิ คำ�วา่  การเพง่ อารมณ ์ อย่างสมถะ ภาษาธรรมะทา่ นเรยี กว่า “อารมั มณูปนชิ ฌาน” มผี ล ทำ�ให้จติ สงบได้ 

24 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ สมาธใิ นวปิ สั สนา เปน็ สมาธทิ ร่ี ลู้ กั ษณะของอารมณ ์ ทา่ นเรยี กวา่ “ลักขณูปนิชฌาน”  คือ  รู้ลักษณะความเป็นไตรลักษณ์ของ อารมณ ์ เหน็ สภาวธรรมตา่ งๆ ของรปู  - นาม กาย - ใจ ทเ่ี กดิ ขน้ึ นน้ั เป็น อนิจจงั  ทกุ ขัง อนตั ตา มผี ลทำ�ให้พ้นทุกขไ์ ด้ เป้าหมายสูงสุดของสมถะ  คือ ความสงบ เป้าหมายสูงสุด ของวปิ สั สนา คอื  ความพน้ ทกุ ข ์ เปา้ หมายนน้ั ไมเ่ หมอื นกนั  อารมณ์ ที่เข้าไปรู้ก็ไม่เหมือนกัน  แต่ท้ังสองส่ิงนี้เป็นประโยชน์เกื้อกูลกัน  พระพทุ ธองคท์ รงตรสั วา่  ธรรมะสองประการ ทเ่ี ราจะตอ้ งเจรญิ ดว้ ย  ปญั ญาอนั ยงิ่  ไดแ้ ก ่ การเจรญิ สมถภาวนา และการเจรญิ วปิ สั สนา  ภาวนา ดงั นน้ั  วิธกี ารเจริญสมถะ และการเจริญวปิ สั สนา ทงั้ สอง  อยา่ งน ี้ จงึ ไมเ่ หมอื นกนั  แตส่ องสงิ่ นล้ี ว้ นเปน็ ประโยชนท์ งั้ ค ู่ เพราะ  การที่จะเกิดวิชชา  หรือปัญญาได้น้ัน  ก็จำ�เป็นจะต้องอิงอาศัยท้ัง  สมถะและวปิ สั สนา การทจ่ี ะวมิ ตุ ตหิ รอื เรยี กวา่ หลดุ พน้ ไดน้ น้ั  กจ็ ำ�เปน็   จะตอ้ งองิ อาศยั ทง้ั สมถะและวปิ สั สนา ทงิ้ อนั ใดอนั หนง่ึ ไมไ่ ด ้ อปุ มา  วปิ สั สนาเหมอื นตาขวา สมถะเหมอื นตาซา้ ย วปิ สั สนาเหมอื นมอื ขวา  สมถะเหมอื นมอื ซา้ ย วปิ สั สนาเหมอื นเทา้ ขวา สมถะเหมอื นเทา้ ซา้ ย สองสง่ิ นท้ี ำ�งานเกอ้ื กลู กนั  เพอ่ื ใหเ้ กดิ ปญั ญา หลกั ในการปฏบิ ตั ธิ รรม  นั้น  ถ้าเราจับหลักได้แม่นยำ�  เราก็จะไม่สับสน  และไม่ไขว้เขวใน  การปฏิบัติธรรม 

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 25 ผมจะให้ท่านดูรูปแบบโครงสร้างในการเจริญสติปัฏฐาน  ๔  บนจอก่อนนะครับ เพ่ือให้ทา่ นได้ทราบว่า การเจริญสติปัฏฐาน ๔ นน้ั  อนั ดบั แรกเราตอ้ งฝกึ ใหม้  ี วริ ยิ ะ สมั ปชญั ญะ สต ิ คำ�วา่  วริ ยิ ะ คอื  ความเพยี ร สมั ปชญั ญะ คอื  ความรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม หรอื พรอ้ มท่ี จะรทู้ วั่ ถงึ  สต ิ คอื  ความระลกึ ได ้ ถา้ จะถามวา่  “จะใหส้ ตมิ าระลกึ รู้ อะไร” ตอบวา่  “ใหส้ ตมิ าระลกึ รสู้ ภาวธรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ ทก่ี ายและทใ่ี จ” ถามวา่  “ใหส้ ตมิ าระลกึ รทู้ ก่ี ายทใ่ี จอยา่ งไร” ตอบวา่  “ใหส้ ตมิ าระลกึ รู้ท่ีกายท่ีใจด้วยความรู้สึกตัว”  ถามว่า  “จะให้สติมาระลึกรู้ที่กาย ทใ่ี จขณะใด” ตอบวา่  “ใหส้ ตมิ าระลกึ รทู้ ก่ี ายทใ่ี จ ณ ขณะปจั จบุ นั ” การเจรญิ วปิ สั สนาจะตอ้ งมที งั้  สต ิ สมั ปชญั ญะ วริ ยิ ะ และ สมาธิ  น่ีคือ  เคร่ืองมือภาวนา  ถ้าขาดเคร่ืองมือตัวใดตัวหนึ่งแล้ว การเจรญิ วปิ สั สนาจะไมไ่ ดผ้ ล เวลาทเ่ี ราจะขดุ ดนิ  เรากต็ อ้ งมเี ครอ่ื งมอื   คอื  จอบเสยี ม เราเปน็ แมบ่ า้ นกต็ อ้ งมอี ปุ กรณใ์ นการทำ�ความสะอาด  บ้าน  เช่น  ไม้กวาด  ผ้าเช็ดถู  ท่านจะเป็นหมอหรือเป็นพยาบาล  ก็ต้องมีเคร่ืองมือในการตรวจรักษาคนไข้  ฉะน้ันจะทำ�อะไรก็ต้อง  มเี คร่ืองมอื  การปฏบิ ัตธิ รรมกต็ อ้ งมเี ครอ่ื งมอื เชน่ กนั  แลว้ อะไรคือ  เครอ่ื งมอื ในการเจรญิ ภาวนา ผมไดแ้ ตง่ บทเพลงเครอื่ งมอื ภาวนาไว ้ ผมจะรอ้ งใหท้ า่ นฟังนะครับ

26 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ เ ค ร ่ือ ง ม ือ ภ า ว น า จะขดุ ดนิ ยังตอ้ งใชจ้ อบเสียม เชด็ ถูให้เอี่ยมกต็ อ้ งมผี า้ ถู ซ่อมแซมหนา้ ต่างบานประต ู ฆ้อนตอกตะปแู ลดูมาตรฐาน ภาวนากต็ ้องมเี คร่ืองมือ สตินั้นคือเครอื่ งมือกรรมฐาน สมาธปิ ัญญาร่วมท�ำ งาน กิเลสอันตรธานพบนพิ พานสวา่ งใจ การปฏิบัติธรรม  เริ่มต้นเราต้องฝึกให้มีเคร่ืองมือเสียก่อน หม่ันพัฒนาให้เครื่องมือแข็งแรง  และมีคุณภาพมากย่ิงๆ  ข้ึน  ท่าน  อย่าเพิ่งท้อ  อย่าเพ่ิงถอย  อย่าเพ่ิงน้อยใจ  และอย่าเพ่ิงบ่นว่า  “ฉัน  ปฏิบัติธรรมมาตั้งนาน  ยังไม่เห็นไตรลักษณ์เลย”  ถ้าหากท่านยัง  ฝกึ สตริ สู้ กึ ตวั ไมเ่ ปน็  และยงั แยกรปู  แยกนาม หรอื ยงั แยกธาต ุ แยก  ขันธ์ไม่ได้  ก็อย่าเพิ่งพูดถึงเรื่องการที่จะเห็นไตรลักษณ์เลย  ถ้าฝึก  ความรสู้ กึ ตวั เปน็ แลว้  คอ่ ยมาพดู ถงึ เรอ่ื งแยกธาต ุ แยกขนั ธ ์ ถา้ แยก  ธาต ุ แยกขนั ธ ์ หรอื แยกรปู  แยกนามเปน็ แลว้  คอ่ ยมาพดู ถงึ เรอ่ื งการ  เห็นไตรลักษณ์  ถ้าเครื่องมือยังไม่สมบูรณ์เต็มท่ี  คุณภาพยังไม่ดี  เพยี งพอ กอ็ ย่าไดพ้ ดู ถงึ เรอื่ งการปลอ่ ยวางเลย เมอ่ื ใดกต็ ามทท่ี ่าน  พฒั นาเครอื่ งมอื ภาวนาใหแ้ ขง็ แรง และมคี ณุ ภาพเตม็ ทแ่ี ลว้  เมอื่ นนั้   จติ เขาจะเจรญิ วปิ ัสสนาดว้ ยตัวของเขาเอง จิตเขาจะปลอ่ ยวางด้วย  ตวั ของเขาเอง ไมต่ อ้ งรบี  ไมต่ อ้ งเรง่  แตต่ อ้ งไมข่ เ้ี กยี จ ใหฝ้ กึ ภาวนา 

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 27 ประจำ�สมาํ่ เสมอ “ฝกึ แบบไมพ่ กั ไมเ่ พยี ร” ไมส่ ดุ โตง่ ไปทางใดทาง หนง่ึ  ตามทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงตรสั สอนไว ้ นค่ี อื  อบุ ายวธิ ที ส่ี ำ�คญั ทส่ี ดุ   ทเ่ี ราควรน้อมนำ�ไปปฏบิ ตั ิ เคร่ืองมือภาวนา คือ  จิตที่ประกอบด้วย  สติ  สัมปชัญญะ วิริยะ  และสัมมาสมาธิ  เคร่ืองมือนี้ท่านเรียกว่า  “จิตผู้รู้”  จิตผู้รู้ ทำ�หนา้ ทเี่ รยี นร ู้ กาย เวทนา จติ  ธรรม หรอื พดู เปน็ ภาษาชาวบา้ น วา่  “ใหม้ สี ต ิ สมั ปชญั ญะ สมาธ ิ และความเพยี ร มาเรยี นรสู้ ภาวธรรม รูป - นาม  ที่เกิดขึ้นท่ีกายและที่ใจ  ณ  ขณะปัจจุบัน”  และเห็น สภาวธรรมรปู  - นาม กาย - ใจ นน้ั เป็นไตรลกั ษณ์ การรู้กายรู้ใจน้ัน  ต้องรู้ด้วยจิตที่ต้ังมั่น  และเป็นกลางต่อ  อารมณ ์ สมั มาสมาธ ิ คอื  ความตงั้ มนั่  จติ ตงั้ มนั่ จะทำ�หนา้ ท ี่ ก�ำ จดั อภชิ ฌา คอื  กำ�จดั ความยนิ ด ี และ ก�ำ จดั โทมนสั  คอื  กำ�จดั ความ ยินร้าย  ขณะใดที่ท่านมีสติ  สัมปชัญญะรู้กายรู้ใจ  หากมีส่ิงหนึ่ง  ประการใดทเ่ี กดิ ขนึ้ ทก่ี ายหรอื ทใ่ี จ สงิ่ นนั้ จะดวี เิ ศษวโิ สแคไ่ หนกช็ า่ ง  ส่ิงนั้นจะเลวร้ายแค่ไหนก็ตาม  รู้แล้วอย่าหลงรัก  รู้แล้วอย่าหลงชัง  พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “ร้แู ล้ว ให้กำ�จัดอภิชฌา คือ ความยินดี  ร้แู ล้วให้กำ�จัดโทมนัส  คือ  ความยินร้าย”  หรือสำ�นวนของครูบา อาจารย์ท่ีท่านสอนเรา  อาทิเช่น  “ให้รู้ด้วยใจที่เป็นกลาง”  “รู้แล้ว  อยา่ หลงเขา้ ไปแทรกแซงดดั แปลงแกไ้ ข” “รแู้ ลว้ ไมใ่ หค้ า่ บวก รแู้ ลว้  

28 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ ไมใ่ หค้ า่ ลบ” “รแู้ ลว้ ไมเ่ ขา้ ไปทำ�อะไรกบั สงิ่ ทถี่ กู ร ู้ ใหเ้ ปน็ เพยี งแคผ่ รู้  ู้ ผู้ด ู ผ้สู ังเกตการณ ์ เท่านัน้ พอ” หรือ “ให้รูซ้ ื่อๆ” เปน็ ตน้ ทำ�ไมพระพุทธองค์จึงไม่ให้เราหลงยินดียินร้าย  เวลาท่ีท่าน  ปฏิบัติธรรม  มีทั้งฟุ้งซ่าน  มีท้ังความสงบ  ความสงบดีไหมครับ ทกุ ทา่ นตอบวา่  “ด”ี  แตท่ ำ�ไมพระพทุ ธเจา้ ไมใ่ หห้ ลงยนิ ด ี แมก้ ระทงั่ ความสงบ เพราะความสงบเกดิ แลว้ กด็ บั  ความสงบกไ็ มเ่ ทย่ี ง อะไร  กต็ าม ถา้ มนั ไมเ่ ทย่ี ง แลว้ เราเขา้ ไปหลงยนิ ดยี นิ รา้ ยเขา้  เมอ่ื สง่ิ นน้ั มนั   แปรปรวนเปลย่ี นไป เรากจ็ ะไดร้ บั ความทกุ ขเ์ ปน็ รางวลั  พระพทุ ธเจา้   จึงไม่ให้หลงยินดียินร้ายกับสิ่งใด  เพราะส่ิงท่ีเกิดขึ้นท่ีกายท่ีใจนั้น  เปน็ เพยี งแคร่ ปู ธรรม นามธรรม ทเ่ี กดิ ขน้ึ  ตง้ั อย ู่ และดบั ไป ตกอยู่ ภายใตก้ ฎไตรลกั ษณ ์ อนั ไดแ้ ก ่ อนจิ จงั  (ไมเ่ ทย่ี ง แปรปรวน เปลย่ี น ไป)  ทุกขัง (ถูกบีบค้ัน  ทนอยู่ในสภาพเดิมนานๆ  ไม่ได้)  อนัตตา (บังคับบัญชาให้เป็นไปดั่งใจปรารถนาไม่ได้)  นี่คือ  หลักในการฝึก  เจริญวปิ ัสสนา การเจริญสมถะ  เราสามารถคิดพิจารณาช่วยได้  การเจริญ วปิ สั สนา จะคดิ เอาเอง คาดเดาเอาเองไมไ่ ด ้ วปิ สั สนาตอ้ งรสู้ กึ เอา ไมใ่ ชค่ ดิ เอา คำ�วา่  “คดิ นกึ ” กบั คำ�วา่  “รสู้ กึ ” สองอยา่ งนแ้ี ตกตา่ งกนั อย่างไร  เม่ือใดก็ตามที่เป็นการคิดนึก  มันจะเอ้ือมไปรู้เร่ืองราวท่ี  เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตบ้าง  หรือเอื้อมไปรู้เรื่องราวท่ีจะเกิดขึ้นใน 

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 29 อนาคตบา้ ง แตก่ ารคดิ นกึ นน้ั  มนั ทงิ้ ปจั จบุ นั  การเจรญิ วปิ สั สนาตอ้ ง  รูท้ ีป่ จั จบุ นั   ขอยกตัวอย่าง เร่ืองการคิดนึกก่อนนะครับ ถา้ ผมจะให้ท่าน  คิดนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า  พระพุทธเจ้านั้นมีคุณ  ๙  ประการ  เมอ่ื ยอ่ ลงมาแลว้ เหลอื  ๓ ประการ คอื ๑. พระองคท์ รงมพี ระปญั ญาธคิ ณุ  ตรสั รไู้ ดด้ ว้ ยพระองคเ์ อง ๒. พระองคท์ รงมพี ระบริสทุ ธคิ ณุ  เป็นผู้ที่หมดจดจากกิเลส ๓. พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ  ตรัสรู้แล้วยังนำ�คำ�  สั่งสอนของพระองค์มาสอนส่ังให้เราได้พ้นทุกข์เย่ียง  พระองค์  การคิดถึงนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าน้ัน  ทำ�ให้จิตของเรามี  ความสุขได้  ทำ�ให้จิตของเราสงบได้  ถามว่า  “เป็นสมถะ  หรือ วปิ สั สนา” คำ�ตอบกค็ อื  “เปน็ สมถะ” เพราะยงั เปน็ การใชค้ วามคดิ อย่ ู ฉะน้นั  ความคิดจึงเป็นเร่อื งของการเจริญสมถะ เป็นการคิดดี  ทำ�ใหจ้ ิตสงบ แต่ไมใ่ ชว่ ิปัสสนา  ขอยกตวั อยา่ งการคดิ นกึ อกี สกั หนงึ่ ตวั อยา่ ง ทา่ นผใู้ ดเพง่ิ เคย  มาเรียนกับผมเป็นครั้งแรก  รบกวนช่วยกรุณายกมือขึ้นด้วยครับ 

30 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ ถ้าผมจะให้ท่านคิดถึงเร่ืองเมื่อเช้าน้ีว่า  เม่ือเช้าน้ีฉันตื่นนอนข้ึนมา  ล้างหน้า  แปรงฟัน  อาบนํ้า  แล้วก็รีบเดินทางมาท่ีโรงพยาบาล  สมทุ รปราการ เพอ่ื มาฟงั ธรรม ถามวา่  “ทา่ นสามารถคดิ ถงึ เรอ่ื งราว  เหล่าน้ันได้ไหม  และเร่ืองราวเหล่านั้น  เกิดขึ้นมาแล้วในอดีต  หรือ  จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตครบั ” ตอบวา่  “ในอดตี ” ถกู ตอ้ งแลว้ ครบั  หลงั จาก ทท่ี า่ นฟังธรรมจบแล้ว “ท่านจะไปไหนครับ” ตอบว่า “กลับบ้าน”  ท่านคิดถึงเรื่องราวเหล่าน้ันได้ไหมครับว่า  หลังจากที่ฉันฟังธรรม  จบแล้ว  ฉันจะกลับบ้าน  ถามว่า  “เร่ืองราวเหล่านั้นเกิดขึ้นมาแล้ว  ในอดีต หรอื จะเกิดข้นึ ในอนาคตครับ” ตอบว่า “ในอนาคต” ทา่ น จะสงั เกตเหน็ ไดว้ ่า เมอื่ ใดกต็ ามทท่ี า่ นมกี ารคดิ การนกึ  มนั จะเออ้ื ม  ไปรู้เร่ืองราวที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีตบ้าง  หรือมิเช่นน้ันมันก็จะ  เอื้อมไปรู้เร่ืองราวท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต  แต่การคิดนึกน้ัน  มันทิ้ง  ปจั จบุ นั  การเจรญิ วปิ สั สนาตอ้ งรลู้ งตรงปจั จบุ นั  ไมใ่ ชร่ เู้ รอื่ งในอดตี   ไม่ใชร่ ู้เรื่องในอนาคต

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 31 รู้สกึ ตัว ความรสู้ กึ ตวั  หนา้ ตาเปน็ อยา่ งไรหนอ ทำ�ไมคำ�วา่  “รสู้ กึ ตวั ” หรือคำ�ว่า  “สภาวธรรม”  มันจึงยากต่อการอธิบายเป็นภาษาคำ�พูด นกั  เหมอื นผมกำ�ลงั พยายามจะอธบิ ายคำ�วา่  “รสู้ กึ ตวั ” ใหท้ า่ นไดร้ ู้ กไ็ มร่ จู้ ะอธบิ ายอยา่ งไร ใหท้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจดว้ ยภาษาคำ�พดู  พออธบิ าย  ออกมาเปน็ ภาษาคำ�พดู ครงั้ ใด มนั กด็ เู หมอื นจะคลา้ ยๆ ดเู หมอื นวา่   จะใช ่ แต่มนั กย็ งั ไมต่ รงสภาวะเสียทีเดยี ว ผมจะลองอธิบายคำ�ว่า  “รู้สึกตัว”  โดยไม่ได้ใช้คำ�พูด  แต่จะ ใชว้ ธิ ใี หท้ า่ นสาธติ ดว้ ยตวั ของทา่ นเอง แลว้ ทา่ นจะเหน็ ไดว้ า่  หนา้ ตา  อาการของคำ�วา่  “รสู้ กึ ตวั ” นน้ั เปน็ อยา่ งไร และแตกตา่ งจากการคดิ   นกึ อยา่ งไร ขอใหท้ กุ ทา่ นชว่ ยกรณุ ายนื ขน้ึ  และใหเ้ อามอื ทงั้ สองขา้ ง  หอ้ ยลงขา้ งๆ ลำ�ตวั  ไมต่ อ้ งกำ�มอื  ไมต่ อ้ งเกรง็ มอื  ใหม้ อื หอ้ ยลงขา้ งๆ  ลำ�ตัวแบบผ่อนคลาย  สบายๆ  แล้วให้ทุกท่านสะบัดมือแรงๆ  เร็วๆ  ท้ังสองข้างซิครับ  ท่านจะรู้สึกเหมือนมีเลือดลมท่ีไหลเวียนลงไปท ่ี ปลายนว้ิ มอื ทงั้ สองขา้ ง มนั จะรสู้ กึ มอี าการชาๆ มอี าการจด๊ี ๆ แผว่ ๆ  เบาๆ  ที่ปลายนิ้วมือท้ังสองข้าง  รู้สึกได้ไหมครับ  ทุกท่านพยักหน้า  เราร้สู ึกได้โดยไม่ต้องคิด มันเกิดข้นึ ในขณะปัจจุบัน เม่อื ใดก็ตามท่ี 

32 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ เปน็ การคดิ  มนั จะเออื้ มไปรเู้ รอ่ื งราวทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต เมอ่ื ใดท ่ี เปน็ การนกึ  มนั กจ็ ะเออ้ื มไปรเู้ รอ่ื งราวทไ่ี ดเ้ กดิ ขน้ึ มาแลว้ ในอดตี  แต ่ เมื่อใดที่เป็นความรู้สึกตัว  มันจะรู้ลงตรงปัจจุบันทันที  การเจริญ วปิ สั สนา ตอ้ งรสู้ กึ  ณ ขณะปจั จบุ นั  เทา่ น้ัน  อกี วธิ หี นง่ึ  ขอใหท้ กุ ทา่ นเอามอื ทง้ั สองขา้ งถกู นั แรงๆ และเรว็ ๆ  ซคิ รบั  แลว้ เอามอื ออกหา่ งจากกนั สกั เลก็ นอ้ ย ทา่ นจะรสู้ กึ ถงึ อาการ  วบู ๆ วาบๆ ใชไ่ หมครบั  นน่ั แหละหนา้ ตาของคำ�วา่  “รสู้ กึ ” อกี สกั วธิ ี  หนงึ่  ขอใหท้ กุ ทา่ นยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ทช่ี า้ ๆ แลว้ ใหส้ งั เกตวา่  ขณะทที่ า่ น  ยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ทน่ี น้ั  ถามวา่  “ทา่ นรสู้ กึ รา่ งกายเปน็ อยา่ งไรครบั ” ทา่ น ตอบวา่  “รสู้ กึ กายเคลอ่ื นไหว” พอทา่ นหยดุ รสู้ กึ ว่า “รา่ งกายมนั นง่ิ หรือเคลื่อนไหวครับ”  ทุกท่านตอบว่า  “น่ิง”  นี่แหละคือ  การรู้สึก ถงึ อาการนงิ่ ในขณะหยดุ ยา่ํ เทา้  และรสู้ กึ อาการเคลอื่ นไหวในขณะท ี่ ยา่ํ เทา้  เมอ่ื สกั ครนู่  ้ี ทา่ นลมื ตา และยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ท ่ี ทา่ นรสู้ กึ วา่  รา่ งกาย  มันเคลื่อนไหว  บัดน้ีผมจะลองให้ทุกท่านหลับตา  และให้ย่ําเท้า  อยกู่ บั ท ี่ ใหท้ า่ นลองสงั เกตเปรยี บเทยี บดวู า่  ระหวา่ งการลมื ตาแลว้   ยาํ่ เทา้ อยกู่ บั ท ี่ กบั หลบั ตาแลว้ ยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ท ี่ อยา่ งไหนทท่ี า่ นรสู้ กึ วา่   รา่ งกายขยบั เขยอ้ื นเคลอื่ นไหวไดช้ ดั เจนมากกวา่ กนั ครบั  คำ�ตอบคอื   “หลบั ตา” ขณะหลบั ตาแลว้ ยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ท ่ี จะมคี วามรสู้ กึ วา่  รา่ งกาย ขยับเขย้ือนเคล่ือนไหวได้ชัดเจนมากกว่าการลืมตา  เหตุผลเพราะ  ในขณะทเ่ี ราลมื ตามนั จะถกู ดงึ ความสนใจออกทางตา นน่ั กโ็ ตะ๊  เกา้ อ ้ี

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 33 ทน่ี ง่ั  นนั่ กผ็ คู้ น พอมนั ถกู ดงึ ความสนใจออกทางตา จงึ เกดิ การใสใ่ จ  ทกี่ ายแผว่ ลงไปนดิ หนงึ่  ครนั้ เราปดิ ทวารทางตา มนั จงึ เกดิ การใสใ่ จ  ทก่ี ายไดเ้ ตม็ ท ่ี จงึ รสู้ กึ รา่ งกายขยบั เขยอ้ื นเคลอ่ื นไหวไดช้ ดั เจนมากกวา่   การลืมตานั่นเอง  แต่ท้ังน้ีท้ังนั้นไม่ได้หมายความว่า  ทุกครั้งที่ท่าน  ยาํ่ เทา้ หรอื เดนิ  ทา่ นตอ้ งเดนิ หลบั ตา ตอบวา่  “ไมใ่ ช”่  นะครบั  ผม กำ�ลงั จะพสิ จู นใ์ หท้ กุ ทา่ นไดแ้ ลเหน็ วา่  แมข้ ณะหลบั ตา แลว้ ยา่ํ เทา้ อย ู่ กบั ท ่ี มนั ยงั รสู้ กึ รา่ งกายเคลอื่ นไหวไดเ้ ลย นน่ั หมายความวา่  การท่ี รสู้ กึ รา่ งกายเคลอื่ นไหวไดน้ น้ั  มไิ ดร้ เู้ พราะตาแลเหน็  เพราะขณะนนั้   มนั หลบั ตา ถามวา่  “แลว้ ใครเปน็ ผรู้ กู้ ายเคลอ่ื นไหวครบั ” คำ�ตอบคอื   “จิตหรือใจ”  จิตเป็นผู้รู้อาการกายเคลื่อนไหว  อาการเคลื่อนไหว ทป่ี รากฏทกี่ ายเปน็ สง่ิ ทถ่ี กู ร ู้ “มผี รู้ ”ู้  กบั  “สง่ิ ทถ่ี กู ร”ู้  เพยี งแคท่ ่าน รู้สึกกายเคลื่อนไหวเมื่อสักครู่นี้  ถือว่าท่านมีสติแล้ว  สติท่ีระลึกรู้  สงิ่ ทปี่ รากฏทกี่ าย ณ ขณะปจั จบุ นั  คอื  อาการเคลอ่ื นไหว นนั่ เอง พอเขา้ ใจไดไ้ หมครบั  ถ้าพอเขา้ ใจเชญิ น่งั ได้ครบั เม่ือสักครู่น้ีท่านยืนอยู่  ผมถามท่านว่าเข้าใจไหมครับ  ท่าน  พยกั หนา้ วา่  “เขา้ ใจ” เมอ่ื เขา้ ใจแลว้  เชญิ นงั่ ไดค้ รบั  มที า่ นผใู้ ดบา้ ง ทน่ี ง่ั ลงเมอ่ื สกั ครนู่  ้ี รสู้ กึ ร่างกายมนั เคลอื่ นไหวลงแบบน ี้ มบี ้างไหม  ครบั  ถา้ ไมม่ กี เ็ ทา่ กบั ขาดสตเิ กอื บหมดหอ้ งเลยครบั  เวลาทท่ี า่ นลกุ ขน้ึ   ยนื หรอื นง่ั ลง ทา่ นจะรสู้ กึ ไดว้ า่  รา่ งกายมนั มอี าการเคลอ่ื นไหว ขณะ  ทที่ า่ นกำ�ลงั นง่ั ลง รา่ งกายกเ็ คลอ่ื นไหว ขณะทก่ี ำ�ลงั ยนื ขนึ้  รา่ งกาย 

34 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ กเ็ คลอื่ นไหว เมอื่ ทา่ นยนื เฉยๆ กจ็ ะรสู้ กึ รา่ งกายทรงตวั นง่ิ ๆ ขณะท ่ี เดิน  ก็รู้สึกร่างกายเคล่ือนไหว  ก็แค่น้ันเองครับ  การมีสติ  คือการ  ระลึกรู้สภาวะที่ปรากฏท่ีกายหรือที่ใจ ณ ขณะปัจจุบัน  เพียงแค่ มารอู้ าการเคลอื่ นไหว อาการนงิ่  นค่ี อื  มสี ตแิ ลว้  เราลองมาเรยี นรู้ กายเพิ่มเตมิ กนั หนอ่ ยดไี หมครบั ขอให้ทุกท่านนั่งตัวตรง  แล้วนั่งให้นิ่งท่ีสุดเท่าที่ท่านจะนั่งนิ่ง  ได้  และให้ลองสังเกตว่า  แม้ร่างกายเขาจะนั่งน่ิงๆ  มีส่วนใดของ  ร่างกายบ้างที่ท่านรู้สึกได้ว่า  “มันไม่นิ่ง”  ครับ  ท่านตอบว่า  “ท้อง มันพองได้  ท้องมันยุบได้”  ถูกต้องครับ  หน่ึงอย่างแล้วนะครับ ที่ท่านรู้ได้  คืออาการท้องพองยุบ  นั่งน่ิงๆ  นอกจากท้องพองยุบ  แล้ว  ยังมีอย่างอื่นอีกบ้างไหมครับท่ีมันเคลื่อนไหวได้  ท่านตอบว่า  “หัวใจ”  ปกติเราจะไม่ค่อยรู้สึกถึงหัวใจเต้น  แต่ที่เรารู้ว่าหัวใจเต้น นั้น  เพราะหมอบอกว่า  หัวใจมันทำ�งาน  ๒๔  ช่ัวโมง  และเต้นอยู่  ตลอดเวลา ช่วงจังหวะท่เี ราจะร้สู ึกถึงหัวใจเต้นได้น้นั  เช่น ตอนท่ี  เราตกใจ ต่นื เต้น ประหม่ากลัว  เราจะรู้สึกได้ว่า  ใจมันเต้นตุบๆ  แต่ผมจะให้ท่านสังเกตภาวะปกติขณะน้ี  ในขณะท่ีท่านน่ังนิ่งๆ  มีส่วนใดอีกที่ไม่น่ิงครับ  ท่านตอบว่า  “อาการกระเพื่อมไหวท่ี หน้าท้อง  ตากะพริบได้  ตากลอกกล้ิงไปมา”  แค่ตากะพริบปุ๊บ ท่านรู้สึกว่า  ตากะพริบป๊ับ  ถือว่าท่านมีสติแล้ว มีสติระลึกรู้ส่ิงท่ี  ปรากฏท่กี าย ณ ขณะน้นั  คือ อาการตากะพริบนั่นเอง นอกจาก 

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 35 ตากะพริบ  ท้องพองยุบแล้ว  ยังมีอ่ืนอีกบ้างไหมครับ  ท่านตอบว่า  “ลมหายใจเข้าออก”  ถามว่า  “ลมหายใจเข้ากับลมหายใจออก ใชส่ ง่ิ เดยี วกนั หรอื ไม”่  ตอบวา่  “ลมหายใจเขา้ กอ็ ยา่ งหนงึ่  ลมหายใจ ออกกอ็ ยา่ งหนง่ึ  จติ ทม่ี ารลู้ มหายใจเขา้ กอ็ ยา่ งหนง่ึ  จติ ทม่ี ารลู้ มหายใจ  ออกก็อย่างหน่ึง”  เป็นคนละส่ิงคนละอย่าง  ไม่ใช่ส่ิงเดียวกัน  ถาม  ตอ่ นะครับวา่  “ระหว่างลมหายใจเข้า กับลมหายใจออก อยา่ งไหน  ที่ท่านรู้สึกว่า  มันผ่อนคลายสบายกว่ากันครับ”  ท่านตอบว่า  “ลมหายใจออกมันสบายผ่อนคลายกว่า”  เพียงแค่ท่านรู้สึกถึง ลมหายใจท่ีมันเคล่ือนเข้าลมหายใจท่ีเคลื่อนออก  ถือว่าท่านมีสติ  แลว้  ประทานโทษนะครบั  “ปกตแิ ลว้ วนั ๆ หนงึ่  ทา่ นหายใจกนั บอ่ ย ไหมครับ”  ทุกท่านหัวเราะ  เราหายใจอยู่ตลอดเวลา  แต่เราไม่เคย รู้สึก  และไม่เคยสังเกตมันเลย  เพราะเราหายใจด้วยความเคยชิน  เราหายใจแบบทง้ิ ๆ ขวา้ งๆ เราจะบอกวา่  “ฉนั ไมม่ เี วลาปฏบิ ตั ธิ รรม  ไม่ได้”  ตราบใดที่เรายังมีลมหายใจอยู่  เราก็มีเวลาปฏิบัติธรรม  เสมอ

36 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ สรปุ  ถา้ ท่านจะฝึกเจริญสตเิ รียนรกู้ าย  ส่งิ ท่คี วรฝึกร ู้ คอื ๑. ลมหายใจเขา้  - ออก เพราะมอี ยตู่ ลอดเวลา ใหส้ ตริ ะลกึ รไู้ ด้ ๒. อาการทอ้ งพอง - ยบุ  ซงึ่ มอี ยตู่ ลอดเวลา ใหส้ ตริ ะลกึ รไู้ ด ้ ๓. อริ ยิ าบถส ่ี ยนื  เดนิ  นง่ั  นอน ซง่ึ มสี ลบั สบั เปลย่ี นอยตู่ ลอด  เวลา ให้สติระลึกร้ไู ด้ ๔. หากมสี ง่ิ หนงึ่ ประการใดมากระทบผวิ กาย เมอ่ื กระทบปบุ๊   มันจะเกิดปฏิกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏข้ึน  เช่น  กระทบแล้ว รสู้ กึ วา่  เยน็  หรอื  รอ้ น ออ่ น หรอื  แขง็  ตงึ   หรือ  ไหว  อันใดอันหน่ึง  ปรากฏเกิดขึ้นแน่นอน  นี่คือ  การฝึกเจรญิ สตริ กู้ าย นะครบั

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 37 ฝึกร้สู ภาวะ ชวี ติ คนเราไมใ่ ชจ่ ะมเี พยี งแคร่ า่ งกายอยา่ งเดยี ว แตม่ เี รอ่ื งของ  จิตใจด้วย  เราสามารถรู้สึกอะไรได้บ้างที่เกิดขึ้นท่ีจิตท่ีใจครับ  เช่น  สมมติมีงานช้ินหนึ่งท่ีเราจะต้องส่งมอบในวันพรุ่งน้ี  แต่ปรากฏว่า  เราทำ�ไม่ทัน  เราจะมีความรู้สึกเป็นไงครับ  “รู้สึกกังวลใจ”  อาการ กังวลเป็นส่ิงหน่ึงที่ปรากฏเกิดขึ้นท่ีใจ  ก็ให้รู้ว่า  “ใจกังวล”  หาก ผู้บริหาร  หรือหัวหน้าบอกว่า  “ไม่เป็นไร  ไม่ต้องส่งมอบพรุ่งน้ี  ให้  เลอ่ื นไปอกี  ๑ อาทติ ย”์  ทา่ นจะรสู้ กึ วา่  “โลง่ อก” กใ็ หร้ วู้ า่  “โลง่ อก” อาการโล่งอก  หรืออาการกังวล  เป็นธรรมชาติหน่ึงที่เกิดข้ึนที่ใจ  ความสขุ  ความทกุ ข ์ ความเศรา้  ลว้ นเปน็ เรอ่ื งสภาวธรรมของใจทง้ั นน้ั   ใจจะมสี ภาวธรรมมากกวา่ กายมากมายนกั  ตวั อยา่ งเชน่  โลภ โกรธ  หลง  สุข  ทุกข์  เฉยๆ  เบื่อ  เหงา  เศร้า  เซ็ง  เกลียด  เคียดแค้น  อาฆาต ชงิ ชงั  หวง หว่ ง หงึ  ประหม่า ตนื่ เตน้  กลวั  กงั วล ตกใจ  จิตท่ีมีเมตตา  จิตที่มีกรุณา  จิตที่เป็นกุศล  จิตที่เป็นอกุศล  แต่  ทกุ ๆ อาการทเี่ กดิ ขนึ้ ทใี่ จนน้ั  ลว้ นเกดิ ขน้ึ  ตง้ั อย ู่ และดบั ไป เพราะ มันตกอยภู่ ายใต้ กฎไตรลักษณ์ คอื  อนิจจัง ทุกขงั  อนตั ตา

38 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ การเจรญิ สมถะ สว่ นใหญจ่ ะใชอ้ ารมณท์ เ่ี ปน็  “สมมตบิ ญั ญตั ”ิ หรอื  “บญั ญตั ธิ รรม” คอื  ของจรงิ ทม่ี อี ยไู่ มจ่ รงิ  เพราะจรงิ แบบสมมติ เอา สมมตเิ รยี กขานในชมุ ชน สงั คม ตำ�บลใด ตำ�บลหนง่ึ  ประเทศใด  ประเทศหนึ่ง  เช่นคำ�ว่า  หิวข้าว  ในภาษาไทย  Hungry  ในภาษา องั กฤษ โตว้ ขงุ่  ในภาษาจนี  ทใ่ี ชเ้ ปน็ ภาษาคำ�พดู สอ่ื สารกนั  ในแตล่ ะ สังคมท่ีแตกต่างกันไป  ไม่สามารถเข้าใจกันได้ทั้งหมดในทุกคน  ทกุ ชนชาต ิ เพราะมนั เปน็ สง่ิ ทส่ี มมตบิ ญั ญตั เิ รยี กขานกนั ขน้ึ มา ซง่ึ ใช้  เป็นอารมณ์ในการเจริญสมถภาวนา การเจริญวิปัสสนา  ต้องรู้สภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นที่กายหรือท่ีใจ  คำ�วา่  “สภาวธรรม” หรอื  “ปรมตั ถธรรม” หรอื  ”สภาพธรรม” นน้ั สามคำ�นี้  มีความหมายเหมือนกัน  คือ  ของจริงท่ีมีอยู่จริงๆ  เช่น ความรู้สึกหิว  หรืออาการหิว  ไม่ว่าจะเป็นหมู  หมา  กา  ไก่ แขก ไทย จนี  ฝรง่ั  ถา้ มอี าการหวิ ปรากฏขนึ้  ยอ่ มมคี วามรสู้ กึ และ  อาการทเ่ี หมอื นกนั  โดยไมส่ ำ�คญั มนั่ หมายวา่  มนั จะตอ้ งเรยี กชอื่ วา่   อะไร นคี่ อื สภาวธรรม ทใ่ี ชเ้ ปน็ อารมณใ์ นการเจรญิ วปิ สั สนาภาวนา  วิปัสสนารู้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นอันเน่ืองด้วยกายและใจ  ยก  ตวั อยา่ งเชน่  เวลาทท่ี า่ นยนื อยเู่ ฉยๆ จะรสู้ กึ วา่  “มอี าการนงิ่ ” เวลา ทที่ า่ นยา่ํ เทา้ อยกู่ บั ทจี่ ะรสู้ กึ  “มอี าการเคลอื่ นไหว” อาการนงิ่  และ อาการเคล่ือนไหว  เป็นสภาวธรรมที่เกิดข้ึนท่ีกาย  เวลาท่ีน่ังภาวนา 

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 39 รู้สึกว่า  “เมื่อย”  อาการเม่ือยมีจริง  อาการเม่ือยเป็นสภาวธรรม ที่เกิดข้ึนท่ีกาย  นั่งฟังธรรมแล้วรู้สึก  “ง่วงซึม”  อาการง่วงซึมเป็น สภาวธรรมที่เกิดข้ึนที่ใจ  ฟังธรรมแล้วรู้สึก  “เบ่ือ”  อาการเบื่อเป็น สภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นท่ีใจ  ฟังธรรมแล้ว  “มีความสุข”  ความสุขเป็น สภาวธรรมท่ีเกิดข้ึนท่ีใจ  “อาการต่ืนเต้น  อาการกลัว  อาการฟุ้ง  ความโลภ โกรธ หลง” เปน็ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ทใ่ี จ สภาวธรรมท่ี  เกิดข้ึนที่กายหรือท่ีใจ  ล้วนเคล่ือนไหวแปรเปล่ียนไปไม่หยุดน่ิง  การเจริญวิปัสสนา  จึงต้องรู้สภาวธรรมท่ีปรากฏท่ีกายหรือที่ใจ  ณ ขณะปัจจบุ ัน เท่านัน้ สว่ นการเจรญิ สมถะ สว่ นใหญจ่ ะรบู้ ญั ญตั ธิ รรม บญั ญตั ธิ รรม  นนั้ จะมเี รอ่ื งราว มตี วั ตนบคุ คลเราเขาเข้ามาเกยี่ วขอ้ ง ยกตวั อย่าง  เช่น  อาจารย์เรียกหนู  หนูก็เลยเดินออกมาหน้าชั้น  มีเร่ืองราวมี  ตวั ตนบคุ คลเราเขา มอี าจารย ์ มหี นเู ดนิ ออกมาหนา้ ชน้ั  การรแู้ บบน ี้ เป็นการรู้บัญญัติธรรม  ซึ่งบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ของการเจริญ  สมถภาวนา ไมใ่ ชว่ ิปัสสนาภาวนา ถ้าเรารู้สึกถึงอาการเคลื่อนไหวในขณะกำ�ลังลุกข้ึน  แต่ก็  ไมต่ อ้ งพดู วา่  “เคลอ่ื นไหวหนอ” นะครบั  แคร่ สู้ กึ ถงึ อาการเคลอ่ื นไหว  กพ็ อ ถา้ รแู้ บบนเ้ี รยี กวา่  รสู้ ภาวธรรม แตถ่ า้ เรารเู้ ปน็ คำ�พดู  เปน็ มอื เป็นศอก  เป็นแขน  เป็นขา  เป็นเท้าซ้าย  เป็นเท้าขวา  ถ้ารู้แบบนี้ 

40 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ เรียกวา่  รู้บัญญัติธรรม ซงึ่ เป็นการร้แู บบสมถะ  การท่ีรู้สึกถึงอาการเต้นของหัวใจ  อาการขยับ  อาการเม่ือย  แบบนเ้ี รยี กวา่  รสู้ ภาวธรรมของกาย ถา้ รสู้ กึ ถงึ อาการกลวั  อาการ ตน่ื เตน้  อาการเหงา เศรา้  เซง็  เผลอ สงบ แบบนเ้ี รยี กวา่  รสู้ ภาว- ธรรมของใจ  วิปัสสนาใช้ความรู้สึก  แต่สมถะจะใช้ความคิดใช้การ เพง่  นคี่ อื  ความแตกตา่ งระหวา่ งสมถะและวปิ สั สนา ซงึ่ มนั ใกลก้ นั   นดิ เดียว ถา้ เราไม่เขา้ ใจก็จะแยกแยะไม่ออก การเรยี นรเู้ พอื่ ใหเ้ รา  ได้เข้าใจชัดเจนว่า  เราจะทำ�อะไร  ทำ�เพ่ืออะไร  และจะทำ�อย่างไร  เพื่อจะปฏบิ ัติได้ถกู ต้องท้งั สองอย่าง การฝกึ รสู้ ภาวธรรมในชวี ติ ประจำ�วนั  เชน่  เวลามคี นชม “ใจฟ”ู ใหร้ ทู้ นั วา่  “ใจฟ”ู  เวลาทโ่ี ดนเขาดา่  “ใจแฟบ” ใหร้ ทู้ นั วา่  “ใจแฟบ” ทา่ นกำ�ลงั ปฏบิ ตั ธิ รรม ในขณะทถ่ี กู เขาชม และโดนเขาดา่  เมอ่ื มอี ะไร  มากระทบทางตา หู จมกู  ลิน้  กาย ใจ ใหส้ งั เกตอาการของใจวา่   มันมีปฏิกิริยาอะไรเกิดขึ้นบ้าง  เช่น  เมื่อกระทบแล้วรู้สึก  สุขใจ ทำ�ใหเ้ กดิ ความพอใจ ทกุ ขใ์ จ ทำ�ใหเ้ กดิ ความไมพ่ อใจ หรอื  รสู้ กึ เฉยๆ กใ็ หร้ ้ทู นั ตามทมี่ ันเป็น

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 41 “ซงั คนหลายใจ” คนหลายใจ ถามใครกไ็ มม่ ใี ครเขาชอบ แต่ เมื่อสังเกตที่ใจของเราเอง  วันหนึ่งๆ  ชั่วโมงหน่ึงๆ  นาทีหน่ึงๆ  มัน  เปลี่ยนไปไม่รู้กี่ใจ  เดี๋ยวมันก็สุข  เดี๋ยวมันก็ทุกข์  เดี๋ยวก็เบ่ือ  เด๋ียว  ก็โลภ  เด๋ียวก็โกรธ  เด๋ียวก็หลง  มันเกิดขึ้นที่ใจ  แล้วก็แปรปรวน  เปลี่ยนไป  เกิดดับสลับไปไม่หยุดน่ิง  แต่ทุกๆ  อาการที่เกิดข้ึนนั้น  ไม่มีอะไรที่คงอยู่นาน  มันเกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราว  แล้วก็ดับสลาย  หายไปเพราะมันไม่เท่ียง ไมท่ น ไม่ใช่ตวั ตน บงั คับบัญชาไมไ่ ด้ การฝกึ เจรญิ สต ิ ไมใ่ ชฝ่ กึ ใหเ้ กดิ สตติ ลอดเวลา โดยไมใ่ หเ้ ผลอ  สตเิ ลย ถา้ ใครฝกึ ใหม้ สี ต ิ หรอื บงั คบั ใหม้ สี ตอิ ยตู่ ลอดเวลา ทา่ นจะ  ได้รับความเครียดเป็นรางวัล  การฝึกสติให้รู้ว่า  เมื่อกี้น้ีเผลอสติไป  แลว้  การปฏบิ ตั ธิ รรม มนั จะม ี รบู้ า้ ง เผลอบา้ ง เพง่ บา้ ง สลบั กนั ไป  เมอ่ื เราฝกึ บอ่ ยๆ อาการเผลอกย็ งั คงมอี ย ู่ แตอ่ าการเผลอจะหดสน้ั ลง  สตจิ ะวอ่ งไวมากขนึ้ ในการรสู้ กึ ตวั  สตจิ ะเกดิ ไดบ้ อ่ ยขน้ึ  และเกดิ ได้  งา่ ยข้นึ

42 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ ที่เราควรรู้จักและควรฝึกให้มี  เพราะเป็นหลักการทาํ กศุ ลใหถ้ ึงพร้อม ๑.  การให้ทาน  ๒.  การรักษาศีล  ๓. การเจรญิ ภาวนา  ๔.  ความอ่อนน้อมถ่อมตน  ๕. ชว่ ยกิจกรรมอันเปน็ ประโยชน์และเป็นกศุ ล  ๖. อทุ ศิ สว่ นบุญส่วนกุศล  ๗. อนโุ มทนาบุญ  ๘.  ฟังพระธรรม  ๙.  แสดงธรรม  ๑๐. มคี วามเห็นถกู ต้องถูกตรงเปน็ สมั มาทฏิ ฐิ

ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 43 คือเรื่องของชีวิต ธรรมะเป็นเรอ่ื งของชีวิต  ชวี ิตคือการเรียนรู้  เรียนรคู้ วามจริงของกายและใจ  ถ้าท่านใดมีความรู้สึกปวดเมื่อยเกิดข้ึนท่ีกายในขณะน้ี  ให้  ทา่ นลองสงั เกตดคู วามปวดเมอ่ื ย อย่าเพงิ่ เปลยี่ นอริ ยิ าบถ อย่าเพง่ิ   กระดุกกระดิก อยา่ เพิ่งขยับ ให้สังเกตวา่  อาการเม่ือยหรืออาการ  ปวดนั้น  มันมากขึ้นหรือน้อยลง  อาการปวดท่ีมากข้ึนน้ัน  มันเที่ยง  หรอื ไมเ่ ทย่ี ง ความปวดความเมอื่ ยทไ่ี มเ่ ทยี่ งนนั้  มนั กำ�ลงั แสดงคำ�วา่   “อนิจจัง”  ให้เราได้เห็น  เราจะทำ�ให้ความปวดเม่ือยอยู่เท่าเดิมเท่า เก่าก็ไม่ได้  น่ันมันกำ�ลังแสดงคำ�ว่า  “ทุกขัง”  ถูกบีบค้ัน  ทนอยู่ใน สภาพเดมิ นานๆ ไมไ่ ด ้ ใหเ้ ราไดเ้ หน็  เราจะสง่ั ความปวดเมอ่ื ยใหห้ าย  ไป ณ บดั เดย๋ี วนไ้ี ดห้ รอื ไม ่ คำ�ตอบคอื  สง่ั ไมไ่ ด ้ มนั กำ�ลงั แสดงคำ�วา่ “อนัตตา”  บังคับบัญชาไม่ได้  มันไม่ใช่ตัวตนของเรา  ให้เราได้เห็น ถา้ กายใจเปน็ ตวั ตนของเราจรงิ ๆ แลว้  เราตอ้ งสง่ั มนั ได ้ เราตอ้ งบงั คบั   บัญชามันได้ ท่านว่าจรงิ ไหมครบั

44 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ น่ีคือการพิสูจน์คำ�สอนของพระพุทธเจ้า  เวลาท่ีท่านปวด  เม่ือยมากๆ เมื่อทา่ นขยับตัว จะรู้สึกวา่ รา่ งกายมีอาการเคล่อื นไหว  เกดิ ขน้ึ  ถา้ สงั เกตอาการปวดเมอ่ื ย อาการปวดเมอ่ื ยจะคอ่ ยๆ คลายตวั   ลง สาเหตทุ ท่ี ำ�ใหเ้ กดิ ความปวดความเมอ่ื ย คอื  นง่ั ในอริ ยิ าบถเดยี ว  นานๆ  การน่ังนานๆ  เป็นเหตุ  อาการปวดเม่ือยเป็นผล  สรรพส่ิง เกดิ ขน้ึ  เพราะมเี หตมุ ปี จั จยั  สรรพสงิ่ ดบั ไป เพราะมนั หมดเหตหุ มด  ปจั จยั  จงึ ไมม่ พี ระผสู้ รา้ ง หรอื ใครสรา้ งขน้ึ  มแี ตส่ รรพสง่ิ หมนุ เวยี น  เปลยี่ นไปตามเหตปุ ัจจัยเทา่ น้นั การปฏบิ ตั ธิ รรม สง่ิ ทส่ี ำ�คญั  คอื  ความเขา้ ใจ เมอ่ื เราเขา้ ใจแลว้   ต้องนำ�ไปปฏิบัติ  การปฏิบัติก็ต้องรู้หลักว่า  พระพุทธองค์ทรงสอน  เรอ่ื งอะไร สอนใหป้ ฏบิ ตั อิ ย่างไร เมอ่ื เราทำ�ไดถ้ กู ตอ้ งตรงทาง ผลก็  ย่อมปรากฏ  คือ  ความพ้นทุกข์  การท่ีจะพ้นทุกข์ได้น้ัน  ก็ต้องเดิน  ตามมรรค สตปิ ฏั ฐาน ๔ คอื  มรรคเบอ้ื งตน้  วปิ สั สนา คอื  มรรคเบอ้ื ง กลาง อรยิ มรรคมอี งค ์ ๘ คอื  มรรคเบอ้ื งปลาย นแ่ี หละคอื  หนทาง แห่งความพ้นทุกข์  เป็นหนทางที่ทำ�ให้หมดทุกข์ส้ินทุกข์  ได้พบ สันติสขุ อย่างแทจ้ ริง นัน่ คอื  พระนิพพาน

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 45 ก ิ น ข น ม อ ย่ า ง ม ี ส ต ิ ชว่ งนเ้ี ราจะมาฝกึ เจรญิ สตขิ ณะทก่ี นิ ขนมกนั ดไี หมครบั  ขอให้ เจ้าหน้าที่ช่วยแจกขนมให้ทุกท่านคนละช้ิน  เมื่อท่านได้รับขนมแล้ว  ให้เอามือหยิบจับขนมไว้  อย่าเพิ่งทานนะครับ  ขอให้ทุกท่านเอา  ขนมแตะท่ีลิ้น  แต่ห้ามกัด  และให้จับความรู้สึกว่า  ขนมน้ีมีรสเค็ม  หรือรสหวาน  เม่ือจับความรู้สึกนั้นได้แล้ว  ให้เอาออกจากปากครับ  ถามวา่  “ขนมเคม็ หรือหวานครับ” ทกุ ท่านตอบวา่  “หวาน” ตอนนี้ขอให้ทุกท่านกัดขนมเพียงแค่คำ�เดียว  แต่ห้ามเคี้ยว  ใหแ้ คอ่ มเอาไว ้ และใหท้ า่ นสงั เกตวา่  ความหวานทท่ี า่ นจบั ความรสู้ กึ   ได้น้ัน  ความหวานมันน้อยลง  หรือมากขึ้น  ความหวานน้อยลง  กแ็ สดงความไมเ่ ทยี่ ง ความหวานมากขน้ึ  กแ็ สดงความไมเ่ ทยี่ ง ทนี  ้ี ใหท้ า่ นเคยี้ วไดเ้ ลยครบั  ขณะทที่ ่านเคย้ี วจะรสู้ กึ อาการของปากขยบั   ขนมกระทบลน้ิ กร็ รู้ ส เมอ่ื ลน้ิ สมั ผสั รส ใจชอบกไ็ ด ้ ไมช่ อบกไ็ ด ้ หรอื   เฉยๆ กไ็ ด้ แตจ่ ติ จะรไู้ ดท้ ลี ะอย่าง ทีละขณะ แทท้ ่ีจรงิ แล้วจติ จะรู้  สภาวธรรมต่างๆ  ได้ทีละขณะ  แล้วจิตก็ดับไป  เช่น  จิตรู้อาการ  ปากขยับขณะเคี้ยวก็อย่างหนึ่ง  จิตรู้รสก็อย่างหนึ่ง  จิตชอบก็อย่าง  หน่ึง  จิตไม่ชอบก็อย่างหนึ่ง  จิตเฉยๆ  ก็อย่างหนึ่ง  เป็นต้น  เราจะ  รสู้ กึ เหมอื นประหนง่ึ วา่  จติ รพู้ รอ้ มๆ กนั  แทท้ จ่ี รงิ แลว้  จติ รไู้ มพ่ รอ้ ม  กัน  จิตเกิดดับสลับกันอย่างรวดเร็ว  จิตรู้อาการขยับ  จิตรู้รส  จิตรู้ 

46 สสบไาตยล..์.ธสบรายร..ม. ะ ชอบ  จิตรู้ไม่ชอบ  ล้วนเป็นจิตคนละดวง  การปฏิบัติธรรม  คือ  การเรียนรดู้ ูร่างกายมนั ทำ�งาน การเรียนร้ดู ูจติ ใจมนั ทำ�งาน มนั ทำ�  ของมนั เอง ใครกลนื ขนมแลว้ ครบั  ยกมอื ขนึ้  ใครสงั่ ใหก้ ลนื  ทกุ คน  หวั เราะ เหน็ ไหมครบั  รา่ งกายมนั กลนื ของมนั เอง รา่ งกายมนั ทำ�งาน  ของมันเอง  เราดูร่างกายมันกินขนม  ให้เหมือนดูคนอื่นมันกินขนม  นะครับ  ต่อไปให้ท่านกัดคำ�ที่สองเค้ียวและกลืนได้เลย  ใครเค้ียว  หมดแล้ว  ให้ต่อคำ�ท่ีสามที่สี่ไปได้เลยครับ  พอท่านกินขนมไปคำ�  ที่สามที่ส่ีแล้ว  สังเกตได้ไหมครับว่า  “คอแห้ง”  อาการคอแห้ง เชญิ มนั มาหรอื วา่ มนั มาเอง ไมไ่ ดเ้ ชญิ มนั มา มนั มาของมนั เอง ใหด้  ู ความเปล่ียนแปลงของมัน  เหตุท่ีทำ�ให้คอแห้งคือ  ขนม  ตอนที่เรา  ไม่ได้กินขนม  คอไม่แห้ง  ขนมช้ินน้ีเป็นเหตุ  คอแห้งเป็นผล  พอ  คอแหง้ แลว้  เราตอ้ งการนา้ํ  ความอยากดม่ื นา้ํ อยทู่ ใ่ี จ อาการคอแหง้   อยู่ที่คอหรือที่กาย  แต่ความอยากด่ืมนํ้าอยู่ที่ใจ  เป็นสภาวธรรม  คนละตัว  “อยาก”  ให้รู้ว่า  “อยาก”  หากไม่มีนํ้าให้ดื่ม  รู้สึกใจเกิด อาการ “หงดุ หงดิ ” ใหร้ วู้ า่  “ใจหงดุ หงดิ ” ความอยากดบั ไป ความ หงุดหงิดโผล่ขึ้นมาแทนที่  เห็นไหมครับ  การปฏิบัติธรรมต้องฝึกรู้  อยู่ในชีวิตประจำ�วัน  อย่าได้แยกการปฏิบัติธรรมออกจากชีวิต  ประจำ�วัน ท่ใี ดทม่ี กี ายมีใจ ทน่ี ั่นคือ สถานทีป่ ฏิบัตธิ รรมครบั

ธีรยุทธ เวชเจริญย่ิง 47 “ปกตแิ ลว้ วนั ๆ หนงึ่ ทา่ นหายใจกนั บอ่ ยไหมครบั ” ....... เราหายใจอยูต่ ลอดเวลา  แต่เราไม่เคยรสู้ ึก และไมเ่ คยสังเกตมนั เลย เพราะเราหายใจด้วยความเคยชิน  เราหายใจแบบทิ้งๆ ขวา้ งๆ เราจะบอกว่า “ฉันไม่มเี วลาปฏิบัตธิ รรมไมไ่ ด้” ตราบใดทีเ่ รายงั มีลมหายใจอยู่ เราก็มีเวลาปฏบิ ัตธิ รรมเสมอ



ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง 49 ถาม-ตอบ ๑คําถามที่   หนเู คยเขา้ คอรส์ ฝกึ เจรญิ สต ิ ๓ ครง้ั  จติ ของหนชู อบคดิ ฟงุ้ ซา่ น คดิ วนุ่ วายในเรอ่ื งไมม่ แี กน่ สารไมม่ สี าระ คดิ เรอ่ื ยเปอ่ื ย เกอื บ  ตลอดทั้งวัน  บ่อยๆ  ส่วนใหญ่จะไม่รู้ตัว  จะมีวิธีปฏิบัติอย่างไรคะ  เพื่อไม่ใหจ้ ิตของเราคิดฟุง้ ซา่ นวุน่ วาย หรือทำ�ให้คิดนอ้ ยลงได้คะ     ในเบ้ืองต้นเราจะต้องหาเครื่องอยู่ให้กับจิต  หาบ้าน ให้กับจิตเสียก่อน  จิตต้องมีบ้าน  ถ้าผมถามว่า  “บ้านของท่านอยู่  ทไ่ี หน” ใครๆ กต็ อบไดว้ า่  บา้ นตนเองอยทู่ ไ่ี หน ถา้ ผมจะถามวา่  “มี  ใครรบู้ า้ งไหม วา่ บา้ นของจติ อยทู่ ไี่ หน” หลายทา่ นทำ�หนา้ งงๆ จติ น ี้ น่าสงสารมาก  เราไม่มีบ้านให้จิตมันอยู่  จิตจึงเหมือนเด็กเร่ร่อน  พเนจร ตกกลางคนื ตอ้ งนอนใตส้ ะพานลอย นอนรมิ ทางเทา้ ขา้ งถนน  ดูน่าอเนจอนาถ  เพราะเราไม่เคยหาบ้านให้จิตมันอยู่  เรามีแต่หา  บา้ นหลงั ใหญโ่ ตใหร้ า่ งกายอย ู่ แตบ่ า้ นของจติ  เรากลบั ไมเ่ คยหาให ้ มนั เลย ฉะนน้ั  เราตอ้ งรจู้ กั หาบา้ นใหก้ บั จติ  แลว้ บา้ นคอื อะไร บา้ น