Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มลภาวะทางแสง

Description: มลภาวะทางแสง

Search

Read the Text Version

มลภาวะทางแสง กบั การศึกษาทางดาราศาสตร์ มลภาวะทางแสง คือ แสงสว่างที่ปรากฏให้เห็นบนท้องฟ้าเวลา กลางคืนซึ่งเป็นผลจากการติดตั้งแหล่งกำ�เนิดแสงอย่างไม่ระมัดระวัง ทำ�ให้ท้องฟ้าทเี่ คยมืดมิดกลบั ไมม่ ืดสนิทอยา่ งทค่ี วรจะเปน็ ทอ้ งฟ้ายาม กลางคืนเปรียบเสมือนห้องปฎิบัติการทางดาราศาสตร์ขนาดใหญ่ สำ�หรับค้นหาคำ�ตอบทางวิทยาศาสตร์ที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ มลภาวะ ทางแสงท่ีเกิดข้ึนจึงกลายเป็นเร่ืองยากสำ�หรับนักดาราศาสตร์ในการ สังเกตการณ์และศึกษาแสงสว่างจากดวงดาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ดวงดาวเหล่านี้ยังเป็นเหมือนห้องสมุดที่บันทึกเรื่องราว ความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม ศาสนา ตำ�นาน และความเชื่อที่แตกต่าง กันไป แตล่ ะพืน้ ท่ีในอดตี อกี ดว้ ย หากปราศจากทอ้ งฟา้ มืดมิด เรือ่ งเลา่ และความนา่ สนใจเหลา่ น้ี คงค่อยๆ จางหายไปจากสงั คมทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย - LIGHT POLLUTION - Credit : GuillaumePoulin

แสงเรืองบนทอ้ งฟ้า (Sky Glow) แสงสว่างบนท้องฟ้าบริเวณชุมชนเมืองเกิดจากการติดตั้ง แหล่งกำ�เนิดแสงสว่างอย่างไม่ระมัดระวัง เช่น แสงสว่างจาก แหล่งกำ�เนิดแสงภายนอกอาคารและท้องถนนที่ส่องขึ้นสู่ท้องฟ้า แสงเหล่านี้จะกระเจิงกับตัวกลางขนาดเล็กในอากาศ เช่น เมฆ หมอกควัน และอนภุ าคในช้นั บรรยากาศ ปรากฏเป็นแสงเรืองทั่ว ท้องฟ้าและสังเกตเหน็ ได้แมจ้ ะอย่หู ่างไกลออกไป สว่ นใหญ่เกิดขึน้ จากแสงทก่ี ระเจงิ ขน้ึ สทู่ อ้ งฟา้ โดยตรง แตก่ ม็ ปี รมิ าณไมน่ อ้ ยทเ่ี ปน็ แสงสะทอ้ นจากพืน้ ถนนหรอื อาคารทอ่ี ยโู่ ดยรอบ แสงจ้าบาดตา (Glare) แสงรกุ ล�ำ้ (Light Trespass) เป็นมลภาวะทางแสงท่ีเกิดจากทิศทางของแสงไฟท่ีส่อง แสงหรือความสว่างที่รุกล้ำ�ไปยังบริเวณพื้นท่ีของผู้อ่ืน สว่างจ้าเข้ามาในดวงตาโดยตรง ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ เนื่องจากการไม่ควบคุมทิศทางการให้แสงสว่าง เช่น แสงที่ส่อง การมองเห็นของมนุษย์ และการสังเกตเส้นทางของผู้ที่ต้อง ไปยังห้องนอนของเพื่อนบ้าน ในเวลากลางคืนทำ�ให้นอนหลับได้ สัญจรในเวลากลางคนื ไมส่ นิท ซ่งึ อาจกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาสขุ ภาพในระยะยาว Credit : E. Hanlon

- LIGHT POLLUTION -

หอดดู าวส�ำ หรบั สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ หรือพื้นท่ีจัดกิจกรรมดูดาวหลายแห่งจึงถูกสร้างข้ึนในพ้ืนท่ีห่างไกล แหล่งชุมชน เพ่ือหลกี เลยี่ งจากมลภาวะทางแสง ตัวอย่างเช่น หอดูดาว Mauna Kea ในสหรฐั อเมริกา ซึ่งเปน็ สถานทท่ี ีม่ ที อ้ งฟา้ มดื สนิทมาก แห่งหนึ่งของโลก แต่ถึงกระนั้นแล้ว การขยายตัวของชุมชนเมืองที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เราก็ยังเห็นมลภาวะทางแสงที่เรืองขึ้น เหนือภูเขาด้านขวาไดอ้ ย่ดู ี Credit : Gavin Heffernan and Harun Mehmedinovic

• หลอดโซเดียมความดันต�ำ่ ววิ ัฒนาการของหลอดไฟ LED • หลอดโซเดียมความดันสูง • หลอดแอลอีดี แม้หลอดไฟแอลอีดีจะถูกประดิษฐ์มานานแล้ว แต่เนื่องจากแสง • หลอดเมทลั ฮาไลด์ ที่เปล่งออกมาน้อยมาก จึงทำ�ให้หลอดไฟแอลอีดีในยุคนั้นไม่ได้รับ ความสนใจเท่าที่ควร จนกระทั่งในปีพ.ศ. 2557 นักวิทยาศาสตร์ สามารถผลิตแสงแอลอีดีสีฟ้าสำ�เร็จจนได้รับรางวัลโนเบล และ พัฒนาจนกลายเป็นหลอดไฟแอลอีดีสีขาวข้ึนใช้งานตามท้องตลาด ดังนั้น คุณสมบัติของแสงจากหลอดไฟแอลอีดีจึงมีลักษณะ ที่จำ�เพาะต่างจากหลอดไฟทั่วไปตามท้องตลาด เช่น หลอดไฟ ชนิดโซเดียมความดันสูง (Hight Pressure Sodium: HPS) และ หลอดไฟชนิดโซเดียมความดนั ตำ�่ (Low Pressure Sodium: LPS) จะให้แสงสว่างในช่วงคลื่นบริเวณแคบๆ ซึ่งนักดาราศาสตร์ สามารถตัดแสงรบกวนนี้ออกไปได้ แต่หลอดไฟแอลอีดีในปัจจุบัน มคี ุณสมบตั ิเปลง่ แสงหลายช่วงความยาวคลืน่ ยากต่อการตดั แสง รบกวนนี้ออกไป ท�ำ ความรจู้ ักหลอดไฟ LED หลอดไฟฟ้าชนิดแอลอีดี คือ หลอดไฟฟ้าที่ทำ�ขึ้นจากไดโอด แบบเปล่งแสง สามารถใหค้ วามสว่างได้เปน็ อย่างดี ปจั จบุ นั หลอด ไฟฟ้าชนิดนี้ถูกนำ�มาพัฒนาและใช้งานอย่างกว้างขวาง ทั้ง อตุ สาหกรรมรถยนต์ โฆษณา การคมนาคม การตดิ ตงั้ ภายในและ นอกอาคาร รวมถึงการตกแต่ง เนื่องจากหลอดไฟฟ้าแอลอีดี ประหยัดพลงั งาน มีอายกุ ารใชง้ านทย่ี าวนาน ควบคมุ ทิศทางของ แสงได้ และราคาทลี่ ดลงตามเทคโนโลยีท่พี ัฒนาในปัจจุบนั แต่งานวิจัยหลายชิ้น ชี้ว่า การใช้หลอดไฟฟ้าชนิดแอลอีดี ที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน กลับเพิ่มมลภาวะทางแสงขึ้นเสียด้วยซ้ำ� เน่ืองจากสว่ นใหญม่ กี ารซ้ือหลอดไฟฟา้ แอลอีดีทช่ี ว่ ยลดค่าไฟฟ้า มากขึ้น แต่กลับติดตั้งจำ�นวนหลอดไฟเพิ่มขึ้นด้วย เพื่อให้พื้นที่ โดยรอบสว่างมากกว่าปกติ จนบางครั้งมากเกินความจำ�เป็น แสงเหล่านี้ทำ�ให้เกิดการสะท้อนขึ้นสู่ท้องฟ้ามากขึ้นตามมา นอกจากนี้หลอดไฟฟ้าชนิดแอลอีดีส่วนใหญ่ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ผลิตแสงสีฟ้าสูงกว่าหลอดไฟทั่วไป ซึ่งเป็นแสงที่มีคุณสมบัติ กระเจิงแสงไดง้ า่ ย จงึ ยง่ิ เพ่ิมมลภาวะทางแสง เมื่อประเทศแคนาดาเปลี่ยนจากหลอดโซเดียมมาใช้หลอดแอลอีดี (Credit : NASA)

มลภาวะทางแสง ดวงตามนุษย์ไวต่อแสงสีฟ้า ทส่ี ง่ ผลตอ่ ปญั หาสขุ ภาพ หากได้รับมากเกินไปจะเกิด เมื่อร่างกายมนุษย์ได้รับแสงในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม อันตรายต่อประสาท หรือได้รับในปริมาณที่มากเกินพอดี จะส่งผลให้ร่างกาย และรบกวนนาฬิกาชีวิต หลั่งฮอร์โมนผิดปกติ ทำ�ให้นาฬิกาชีวิตสับสนและแปรปรวน ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาสขุ ภาพต่างๆ ตามมา เช่น เส่ียงต่อการ แสงสฟี ้าตอ่ การนอนหลบั เกิดโรคอ้วน โรคซึมเศร้า โรคเบาหวาน หรือแม้กระทั่งโรค มะเร็ง ซ่ึงงานวิจัยแรกที่สามารถเชอ่ื มโยงวา่ แสงท่ีไมเ่ หมาะสม ร่างกายของมนุษย์ถูกควบคุมจังหวะชีวิตด้วยส่ิงที่เรียกว่า เป็นตัวการที่ทำ�ให้ร่างกายเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง คือ “นาฬกิ าชีวิต” ซ่งึ จะปรบั สภาพให้สอดคลอ้ งกับชว่ งเวลากลางวนั การทดลองเปิดแสงสว่างให้หญิงสาวตาปกติและหญิงสาว และกลางคืน หากมนุษยไ์ ด้รบั แสงในช่วงเวลาทไี่ ม่เหมาะสม ตัวรับ ตาบอดในช่วงเวลากลางคืน และพบว่าหญงิ สาวตาบอดน้นั แสง (melanopsin) ที่อยู่ในตาของมนุษย์ จะส่งสัญญาณไปยัง เสี่ยงเป็นโรคมะเร็งน้อยกว่าหญิงสาวตาปกติถึงร้อยละ 36 สมองให้หล่ังฮอรโ์ มนบางชนดิ ผดิ ปกตไิ ป เนื่องจากไม่มีเซลล์ประสาทตารูปกรวยและรูปแท่งทำ�งาน ร่วมกบั ตัวรับแสง จงึ ไมอ่ อ่ นไหวต่อแสงสวา่ ง ท�ำ ให้รา่ ยกาย ตัวรับแสงของมนุษยท์ ำ�งานรว่ มกับเซลล์ประสาทตา 2 ชนดิ รักษาระดับการหลั่งสารเมลาโทนินได้ดีกว่า นอกจากนี้ยัง คือ เซลล์ประสาทตารูปกรวย (cone cell) และเซลล์ประสาทตา มีการทดลองและงานวิจัยอีกมากมายที่รองรับว่า การได้ รปู แท่ง (rod cell) ซง่ึ เซลล์ทง้ั สองชนดิ ลว้ นตอบสนองได้ดีตอ่ รับแสงในชว่ งเวลากลางคืนเสีย่ งตอ่ การเป็นโรคต่างๆ แสงในช่วงความยาวคลน่ื สฟี า้ หากมนษุ ยไ์ ดร้ บั แสงสีฟา้ ในชว่ ง เวลากลางคืน เซลล์ประสาทตาทั้งสองจะตรวจจับแสงดังกล่าว และส่งสัญญาณไปยังสมองให้ยับยั่งการหล่ังสารเมลาโทนิน (melatonin) ทำ�ให้นอนไม่หลับ รู้สึกอ่อนเพลีย เป็นเหตุให้เกิด ผลเสียต่อสขุ ภาพในระยะยาว Credit : International Dark-Sky Association

ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศ กบทีร่ ้องหาคใู่ นตอนกลางคืน ลกู เตา่ ทะเลคลานขึ้นชายฝงั่ สับสนเวลาในการร้องหาคู่ เพราะคิดวา่ เปน็ แสงเส้นขอบฟ้า ส่ิงมีชีวิตบนโลกดำ�รงชีวิตภายใต้ช่วงเวลากลางวัน กลางคืนตลอดหลายล้านปี มลภาวะทางแสงที่เพิ่มขึ้น นกอพยพผดิ ฤดูกาล แมลงบางชนดิ อย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ส่งผลโดยตรงต่อ แสงจา้ ท�ำ ให้นกบินชนตกึ ตาย มีแนวโนม้ เคล่อื นทเี่ ขา้ หาแสง พฤติกรรมและการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ไม่ว่า George Fleenor จะเปน็ สตั ว์เล้ยี งลูกด้วยนม นก ปลา หรือแมแ้ ตส่ ่ิงมีชวี ติ ขนาดเลก็ เช่น แมลง และจุลนิ ทรีย์ พฤติกรรมของสัตว์หลายชนิดที่ต้องปรับตัวตาม มลภาวะทางที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังสิ่ง มีชีวิตอื่นในห่วงโซ่อาหาร และส่งผลต่อระบบนิเวศใน ระยะยาวอย่างไม่อาจหลีกเลยี่ งได้ แม้การศกึ ษาเกย่ี วกบั ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตจากมลภาวะทางแสงจะยัง ไม่ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน แต่ตัวอย่างข้างต้นก็น่าจะ เพียงพอให้เกิดความตระหนักและช่วยลดปัญหาดังกล่าว อย่างยั่งยนื George Fleenor สว่างกว่า... ไม่ได้หมายความว่า “ ปลอดภัยกว่า ” การใชแ้ สงไฟฟา้ นอกอาคารมีจดุ ประสงค์ เพ่ือทำ�ให้เกิดความปลอดภัยในเวลากลางคืน แต่การใช้แสงมากเกินไปกลับจะให้ผลในทาง ตรงกันข้าม จุดประสงค์ของการใช้แสง คือ เพ่ือใหม้ องเหน็ ไดช้ ดั เจน แตแ่ สงเจดิ จา้ บาดตา ท่ีปราศจากการควบคุมกลับลดความปลอดภัย ลงดวงตาของเราจะปรบั ใหร้ มู า่ นตาหดลง ซงึ่ ไม่เพียงแต่ทำ�ให้ตามืดบอดไปชั่วขณะ แต่ยัง ทำ�ให้ตาของเรายากที่จะปรับการมองเห็นใน ภาวะแสงน้อยอกี ด้วย

6500K “ การเลือกชนิดและ 2700K ช่วงอุณหภูมิสีของหลอดไฟฟ้า ”เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้งานแสงสว่างให้สูงขึ้น แสงสว่างสีฟา้ เปน็ แสงท่มี คี วามยาวคล่นื สัน้ สามารถกระเจงิ แสงไดง้ า่ ย จงึ รบกวน ต่อการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ เช่น การศึกษาดาวฤกษ์และกาแล็กซีเกิดใหม่ที่ ต้องวิเคราะห์แสงในช่วงคลื่นสีฟ้า รวมไปถึงผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ป่า ระบบนเิ วศ จงึ ท�ำ ให้แสงสฟี ้ายงั ไม่เหมาะสมสำ�หรับการใชง้ านเท่าทคี่ วร แสงสว่างสีแดง เป็นแสงที่มีความยาวคลื่นยาว ทำ�ให้เกิดการกระเจิงแสงน้อย แต่กย็ ังท�ำ ให้เกดิ แสงสวา่ งเรืองๆ บนทอ้ งฟา้ และสังเกตเห็นไดจ้ ากระยะไกล สีของแสงไฟที่เหมาะสมและควรให้เกิดการใช้งานอย่างกว้างขวาง คือ แสงสว่าง สีเหลือง (Warm-light color) ในช่วงอุณหภูมิ 2,000-3,000 เคลวิน ซึ่งเป็นแสงใน ชว่ งคลืน่ ไมย่ าวมาก กระเจงิ แสงน้อย ไม่รบกวนทศั นวสิ ยั การมอง และไม่สวา่ งจา้ จน ส่งผลตอ่ สิง่ มชี วี ิตทอี่ าศยั รอบๆ การเลือกรูปแบบโคมที่ดี ช่วยลดมลภาวะทางแสง Credit : Cities at Night by Alejandro Sánchez de Miguel et al. เราสามารถช่วยลดมลภาวะทางแสงได้โดย สมาคมอนุรักษ์ท้องฟ้ามืดสากล (International Dark Sky • เปิดไฟเฉพาะบริเวณทจ่ี ำ�เปน็ ต้องใช้ Association: IDA) ประมาณการว่า 30% ของแสงสว่างจาก • ไม่เปดิ ไฟสวา่ งเกินความจำ�เปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงภายนอก อาคารในประเทศอเมริกา สอ่ งสว่างขน้ึ • ชี้ไฟใหส้ อ่ งสวา่ งลงพืน้ ดิน สู่ท้องฟ้า ส่วนใหญ่เกิดจากการไม่ติดตั้งโคมครอบแหล่งกำ�เนิด • ปิดไฟเมือ่ ไมใ่ ช้งาน แสงทำ�ให้แสงบางส่วนกระเจิงหรือส่องขึ้นสู่ท้องฟ้า สังเกตเห็นได้ • พยายามลดการใช้ไฟสีฟา้ อย่างชัดเจนจากภาพถ่ายดาวเทียมในอวกาศ แสงสว่างเหล่านี้ นอกจากไม่มีประโยชน์แล้ว ยังทำ�ให้เสียค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า โดยไมจ่ ำ�เป็นอีกดว้ ย

- LIGHT POLLUTION - มลภาวะทางแสงท่ีเกิดจากการใช้หลอดไฟประดิษฐ์ ชว่ งเวลากลางคนื ในปพี .ศ. 2559 สที ป่ี รากฏแตกตา่ งกนั บ่งบอกขีดจำ�กัดในการสังเกตการณ์ท้องฟ้าแต่ละพื้นท่ี เช่น บริเวณสีเหลือง แสงจากหลอดไฟจะรบกวนการ สงั เกตการณ์ วัตถุท้องฟา้ ในเวลากลางคืนบ้าง สว่ นสี แดงรบกวนจนไม่สามารถสังเกตการณ์ทางช้างเผือก ไดเ้ ลย เปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายอยา่ งมากทป่ี จั จบุ นั มปี ระชาชนถงึ 1 ใน 3 ของประชากรทั้งหมดทไี่ มเ่ คยเหน็ ทางช้างเผือก เน่ืองจากมลภาวะทางแสง Credit : Skyglowproject.com

Visual Impacts Pristine Sky Degraded near Horizon Degraded to Zenith Natural Sky Lost Milky Way Lost Cones Active From Falchi et al. \"The new world atlas of artificial night sky brightness\" Sci. Adv. 2016;2:e1600377, 10 June 2016. This figure is licensed under CC BY-NC (http://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0/). พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562

แนวทางการลดมลภาวะทางแสง อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิภาพในการลดมลภาวะทางแสง เปด ไฟเฉพาะเวลาและ บริเวณทจ่ี ำเปนตองใช 10 เทา ใชแ หลงกำเนิดแสงสีเหลือง ลดการใชแ สงสฟี า 5 เทา - 12 เทา ไมเปด ไฟสวา งเกินความจำเปน 2 เทา - 4 เทา ปลกู ตนไม 2 เทา เพือ่ ลดแสงสะทอ นสูทอ งฟา หรอื ใชโคมควบคุมทศิ ทางแสง ไมป ลอ ยแสงเรอื งสูท องฟา เมอื ง ชนบท 2 เทา 5 เทา Credit : Elian Abril Diaz Rosas / IAU Office for Astronomy Outreach การวางแผนการติดตั้งแหล่งกำ�เนิดแสงให้มีความเหมาะสมแต่ละพื้นที่และช่วงเวลาใช้งาน ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีจัดการแสงสว่างที่มี ประสทิ ธิภาพและไมก่ ระทบสง่ิ มชี วี ิตอ่ืนที่อาศัยอย่โู ดยรอบ อา้ งองิ :

โครงการลดผลกระทบ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จึง จากมลภาวะทางแสงในพื้นท่ี ดำ�เนินโครงการลดผลกระทบจากมลภาวะทางแสงในพื้นท่ี อทุ ยานแห่งชาติดอยอนิ ทนนท์ อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์ รว่ มกับ 4 หนว่ ยงานภาคี ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิ เนื่องจากเกษตรกรในพื้นท่ีดอยอินทนนท์นิยมปลูกไม้ดอก โครงการหลวง และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เบญจมาศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพืชวันสั้น คือ ดอกไม้ที่ต้องได้รับแสง เพื่อรณรงค์เปลี่ยนหลอดไฟชนิดคอมแพคต์ฟลูออเรสเซนต์ (CFL) เวลากลางวนั ไมน่ ้อยกว่า 13.5 ชวั่ โมง เพอื่ ให้ดอกท่ีได้มีคุณภาพ บริเวณแปลงดอกเบญจมาศเป็นหลอดไฟชนิดแอลอีดี (LED) และขายไดร้ าคาดี ในขณะทป่ี ระเทศไทยโดยปกตจิ ะมชี ว่ งกลางวนั อณุ หภมู สิ ี 3,000 เคลวนิ จ�ำ นวนกวา่ 43,500 หลอด พรอ้ มโคมไฟ สนั้ กวา่ 13 ชั่วโมง จึงท�ำ ใหเ้ กษตรกรจำ�เป็นตอ้ งเปดิ ไฟใหแ้ สงสวา่ ง จำ�นวนกว่า 73,500 โคม เพื่อลดผลกระทบจากมลภาวะทางแสง แก่ดอกเบญจมาศต่อในเวลากลางคืนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง สร้างความตระหนักในการประหยัดพลังงานและใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า ต่อคืน ซึ่งการให้แสงสว่างในแปลงดอกเบญจมาศที่ไม่ระมัดระวัง ส่องสว่างในเขตชุมชนอย่างเหมาะสมกับการสังเกตการณ์ทาง ท�ำ ใหแ้ สงสว่างทีเ่ ปิดใช้งานปรมิ าณคร่ึงหน่งึ ได้สูญเสีย โดยสอ่ ง ดาราศาสตร์ และเพื่อรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการ สว่างข้นึ ไปบนท้องฟา้ อย่างไม่เกดิ ประโยชน์ ส่งผลกระทบต่อส่ิง อยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิตและระบบนิเวศในเขตพื้นท่ีดอยอินทนนท์ มีชีวิตในระบบนิเวศที่ถูกแสงรบกวน และเป็นมลภาวะทางแสงที่ รวมถึงผลักดันให้อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เป็นเขตสงวน รบกวนความสวยงามของท้องฟ้ายามคำ่�คืนครอบคลุมพื้นที่ เพอ่ื ทอ้ งฟา้ ยามราตรี (Dark Sky Researved Area) และกลายเปน็ กว่า 1,132 ไร่ บรเิ วณพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติดอยอินทนนท์ ชุมชนต้นแบบการใช้แสงสว่างที่ไม่เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และท�ำ ให้เกิดผลดีต่อประเทศชาติโดยรวม ภาพก่อนติดตั้งหลอดแอลอีดีและโคม ที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีแสงเรืองบนท้องฟ้า ภาพหลังติดตั้งหลอดแอลอีดีและโคม ที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แสงเรืองบนท้องฟ้าหายไป



เขตสงวนเพ่ือท้องฟา้ ยามราตรี กบั การทอ่ งเท่ียวเชงิ นเิ วศ ในปัจจุบันเขตสงวนเพื่อท้องฟ้ายามราตรี (Dark Sky Researved Area) เป็นทีร่ ู้จักอย่างกว้างขวางในหลายประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา สเปน อังกฤษ เยอรมัน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฯลฯ ซึ่งมีจำ�นวนเพิ่มขึ้นกว่า 115 แห่งทั่วโลก ส่วน สำ�คัญท่ีทำ�ให้เกิดเขตสงวนเพื่อท้องฟ้ายามราตรีมาจากความ ร่วมมือของชุมชนที่เข้าใจถึงปัญหาและสามารถต่อยอดจนพื้นที่ ดังกล่าวกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสร้างรายได้และอาชีพแก่ คนในชมุ ชน จากการสำ�รวจ พบว่า ชุมชนที่ได้รับคัดเลือกเป็นเขตสงวน เพื่อท้องฟ้ายามราตรี ตามมาตรฐานที่สมาคมอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด สากลกำ�หนด เช่น เขตสงวนฟ้ามืด อาโอรากิ เมาท์คุก ประเทศ นิวซีแลนด์ มีอัตราการจ้างงานและรายได้ของคนในพื้นที่เพิ่ม สูงข้ึนทกุ ปี จากการจัดบริการทอ่ งเที่ยวเชิงนเิ วศ กจิ กรรมดดู าว/ ถา่ ยภาพในเวลากลางคืน ห้องพกั /โรงแรม รา้ นอาหาร ร้านขาย ของที่ระลึก เทศกาลชมดาว และการบรรยายพิเศษแก่นักท่องเที่ยว ที่สนใจมากกว่า 1 ล้านคนต่อปี ซึ่งล้วนแล้วแต่เกิดประโยชน์ใน วงกวา้ งต่อคนในชมุ ชนเป็นอยา่ งมาก