Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุทรสงคราม

Description: สมุทรสงคราม

Search

Read the Text Version

สมทุ รสงคราม

สสมมทุ ุทรสรสงงคครารมาม 2 สมทุ รสงคราม

สมทุ รสงคราม 3

อาสนวิหารแมพ่ ระบงั เกดิ 4 สมทุ รสงคราม

สารบัญ การเดนิ ทาง ๗ สถานที่นา่ สนใจ ๗ อาำ เภอเมืองสมุทรสงคราม ๗ อำาเภอบางคนที ๑๑ อำาเภออัมพวา ๑๔ เทศกาลงานประเพณ ี ๒๒ สินคา้ พ้นื เมอื งและของทีร่ ะลกึ ๒๒ กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ ว ๒๕ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ์ ๒๕ ท่องเทย่ี วเชิงเกษตร ๒๖ โฮมสเตย ์ ๒๖ ตัวอยา่ งรายการนาำ เทีย่ ว ๒๗ สิง่ อำานวยความสะดวก ๒๗ สถานที่พัก ๒๗ รา้ นอาหาร ๓๑ หมายเลขโทรศัพท์สาำ คญั ๓๓ สมุทรสงคราม 5

อทุ ยานพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั สมทุ รสงคราม เมืองหอยหลอด ยอดลิ้นจี่ มอี ุทยาน ร.๒ แมกลองไหลผาน นมสั การหลวงพอ บานแหลม 6 สมทุ รสงคราม

สมุทรสงคราม หรือเมืองแม่กลอง ในอดีตคือแขวง ขอ้ มลู ได้ท่ี สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ โทร. ๐ ๒๔๖๕ บางช้าง มีอีกชื่อว่า “สวนนอกของเมืองราชบุรี” ๒๐๑๗, ๐ ๒๘๙๐ ๖๒๖๐ หรอื www.railway.co.th ต่อมาปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาต่อเน่ืองกับสมัยกรุง ธนบุรี แขวงบางช้างแยกออกจากจังหวัดราชบุรี ระยะทางจากอำาเภอเมอื งไปยังอาำ เภอต่าง ๆ เรยี กวา่ “เมอื งแมก่ ลอง” พน้ื ทด่ี นิ เกดิ ขนึ้ ใหมจ่ ากการ อาำ เภออัมพวา ๖ กโิ ลเมตร ทับถมของโคลนตะกอนบรเิ วณปากแมน่ ้ำา กลายเป็น อำาเภอบางคนที ๑๒ กโิ ลเมตร ทด่ี อน จนในทส่ี ดุ เปน็ ทรี่ าบลมุ่ แมน่ า้ำ ขนาดใหญ ่ พนื้ ที่ อดุ มสมบรู ณ์ไปดว้ ยผลไม้นานาชนดิ ทงั้ ลิ้นจ่ ี ส้มแกว้ สถานทีน่ ่าสนใจ องนุ่ ฝรง่ั มะพรา้ ว และสม้ โอพนั ธข์ุ าวใหญ ่ ซงึ่ ปลกู กนั อาำ เภอเมืองสมุทรสงคราม มากในอาำ เภอบางคนท ี และมีอาหารทะเล วัดเพชรสมุทรวรวิหาร หรือ วัดบ้านแหลม จังหวัดสมุทรสงครามเหมาะกับการท่องเท่ียวสัมผัส ถนนเพชรสมุทร อยู่ติดกับตลาดบ้านแหลม เดิมชื่อ กับวิถีชีวิตด้ังเดิม ไม่ว่าจะเป็นอาชีพการทำาสวน วดั ศรจี าำ ปา เปน็ วดั ทสี่ าำ คญั ของจงั หวดั ตามพงศาวดาร การเคี่ยวนำ้าตาลมะพร้าว หรือวิถีชีวิตริมแม่นำ้า ฉบับราชหัตถเลขา พ.ศ. ๒๓๐๗ พม่ายกทัพเข้า แม่กลอง เที่ยวชมตลาดน้ำาท่าคาที่ยังคงสภาพ มาตีเมืองเพชรบุรี แต่กองทัพของกรุงศรีอยุธยาได้ ตลาดนัดแบบชาวสวนชุมชนริมคลอง ซ่ึงมีชื่อเสียง ยกทัพมาช่วยรักษาเมืองไว้ได้ ชาวบ้านแหลมในเขต และไดร้ ับความนยิ มจากผู้เยีย่ มเยือนอยู่เสมอ เมอื งเพชรบรุ อี พยพหนพี มา่ มาตง้ั บา้ นเรอื นอยบู่ รเิ วณ ตำาบลแม่กลองเหนือวัดศรีจำาปา จึงเรียกหมู่บ้านนี้ การเดนิ ทาง ว่า “บ้านแหลม” ตามช่ือบ้านเดิมของตนในเมือง รถยนต์ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๕ สายธนบุรี- เพชร และช่วยกันบูรณะวัดศรีจำาปา และเรียกวัดนี้ ปากท่อ ผ่านส่ีแยกมหาชัย นาเกลือ ประมาณหลัก ว่า “วดั บา้ นแหลม” ชาวบา้ นแหลมสว่ นใหญ่มีอาชีพ กิโลเมตรท่ี ๖๓ จะมีทางแยกต่างระดับเข้าตัวเมือง เป็นชาวประมง คราวหนึ่งได้ออกไปลากอวนใน สมุทรสงคราม รวมระยะทางจากกรุงเทพฯ ๗๒ อ่าวแม่กลองพบพระพุทธรูปติดอวนขึ้นมา ๒ องค์ กิโลเมตร องค์หนึ่งเป็นพระพุทธรูปน่ัง อีกองค์หน่ึงเป็น รถโดยสารประจ�าทาง สามารถเลือกใช้บริการได้ พระพุทธรูปยืน พระพุทธรูปนั่งได้นำาไปประดิษฐาน หลายสาย จากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สถานี ไวท้ ว่ี ดั เขาตะเครา อาำ เภอบา้ นแหลม จงั หวดั เพชรบรุ ี ขนส่งสายใต้) ถนนบรมราชชนนี บริการสายใต้ สำาหรับพระพุทธรูปยืนอุ้มบาตรสูงประมาณ ๑๖๗ ใหม่-แม่กลอง และสายใต้ใหม-่ อมั พวา-ดำาเนิน จาก เซนติเมตร (แต่บาตรนั้นสูญหายไปในทะเล สมเด็จ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) บริการสาย เจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธ์วงศ์วรเดชได้ถวาย หมอชติ -แมก่ ลอง หรอื สายบางนา-มหาชยั -แมก่ ลอง บาตรแก้วสีนำ้าเงินไว้ให้) นำาไปประดิษฐานไว้ที่วัด รถไฟ ขนึ้ รถไฟท่ีสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ลงทส่ี ถานี บ้านแหลม เรยี กวา่ “หลวงพ่อบา้ นแหลม” เปน็ ท่ี รถไฟมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร ต่อรถโดยสาร เคารพเล่ือมใสของชาวบ้านทั่วไป ต่อมาวัดนี้ได้รับ ประจำาทางไปจังหวัดสมุทรสงคราม หรือนั่งเรือข้าม การยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงช้ันตรีวรวิหาร ฟากจากท่ามหาชัยไปท่าฉลอม เพอ่ื ตอ่ รถไฟทีส่ ถานี ได้รบั พระราชทานนามว่า “วัดเพชรสมทุ รวรวหิ าร” รถไฟบา้ นแหลมไปยงั จงั หวดั สมทุ รสงคราม สอบถาม สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๒๑๑๒ สมทุ รสงคราม 7

ตลาดรม่ หุบ ตลาดร่มหุบ อยู่ติดกับสถานีรถไฟแม่กลอง ตลาด อนุสรณ์สถานแฝดสยามอิน-จัน ตำาบลลาดใหญ่ รม่ หุบ หรือทชี่ าวบา้ นเรียกกนั วา่ “ตลาดเส่ียงตาย” ริมถนนเอกชยั (หา่ งจากศาลากลางจงั หวัดประมาณ หรือ “ตลาดริมทางรถไฟ” ต้ังขายอยู่ริมทางรถไฟ ๔ กิโลเมตร) เพ่อื เป็นอนสุ รณ์สถานแด่ฝาแฝดสยาม ใกล้สถานีรถไฟแม่กลอง ความยาวของตลาด อนิ -จนั ภายในบรเิ วณเปน็ ลานกวา้ งประดบั ดว้ ยตน้ ไม้ ประมาณ ๑๐๐ เมตร บรรดาพ่อค้าแม่ค้า ดอกไม ้ ดา้ นหนา้ มสี ระนา้ำ ขนาดใหญ ่ ฝาแฝดอนิ จนั เกดิ ที่ จะวางขายสนิ คา้ บนพนื้ ตดิ กบั รางรถไฟ เวลารถไฟมา จงั หวัดสมทุ รสงครามเม่อื วนั ท่ ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. แม่ค้าต่างหุบร่มที่กางและเก็บสินค้าภายใน ๒๓๕๔ (ค.ศ.๑๘๑๑) ประมาณป ี พ.ศ. ๒๓๗๑-๒๓๗๒ พริบตา เป็นภาพแปลกตาน่าต่ืนเต้น จนเป็นที่มา (ค.ศ. ๑๘๒๘-๑๘๒๙) กัปตันคอฟฟินและฮันเตอร์ ของชื่อตลาดร่มหุบ สินค้าท่ีวางขายเป็นผัก ผลไม ้ เดนิ ทางมาตดิ ตอ่ การคา้ ทแ่ี มก่ ลอง พบฝาแฝดคนู่ จี้ งึ อาหารทะเลสดๆ เป็นตลาดยอดนิยมของชาวบ้าน ขอนาำ กลบั ไปอเมรกิ าและองั กฤษ เพอ่ื เปดิ การแสดงใน เพราะราคาถูกและคุณภาพดี เปิดขายทุกวัน เวลา ทตี่ า่ งๆ เรอื่ งราวชวี ติ ของแฝดสยามอนิ -จนั ฝาแฝดทมี่ ี ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. เวลารถไฟวิ่งผ่านตลาด รา่ งกายทอ่ นบนตดิ กนั และสามารถใชช้ วี ติ อยไู่ ดอ้ ยา่ ง รม่ หบุ วนั ละ ๘ รอบ เวลา ๐๖.๒๐, ๐๘.๓๐, ๐๙.๐๐, ปกติยาวนานจนถึงอายุ ๖๓ ปี ได้รับการกล่าวขาน ๑๑.๑๐, ๑๑.๓๐, ๑๔.๓๐, ๑๕.๓๐, ๑๗.๔๐ น. ทำาให้เป็นที่รู้จกั ไปทั่วโลกในชือ่ “Siamese Twin” 8 สมทุ รสงคราม

วัดศรัทธาธรรม หรือ วัดมอญ อยู่หมู่ท่ี ๕ ตำาบลบางจะเกร็ง มีพระอุโบสถสร้างโดยพระครู สมุทร วิสุทธิวงศ์ (อดีตเจ้าอาวาส) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ พระอุโบสถทำาด้วยไม้สักทองผนังฝังมุกท้ัง ด้านในและด้านนอก ลวดลายละเอียดงดงามมาก แสดงเร่ืองราวพุทธประวัติ และรามเกียรติ์ ภายใน ประดิษฐานหลวงพอ่ บ้านแหลม หลวงป่ทู วดเหยียบ นำ้าทะเลจืด หลวงพ่อพุทธโสธร เป็นท่ีสักการะของ ชาวสมุทรสงครามและจังหวัดใกล้เคียง บริเวณวัดมี กะละแมรามญั จาำ หนา่ ย โดยกลมุ่ แมบ่ า้ นรามญั พฒั นา เปน็ ขนมขน้ึ ชอ่ื มรี สชาต ิ หวาน มนั หอ่ ดว้ ยกาบหมาก ชมสาธติ กวนกะละแมในกะทะใบใหญ่ การเดนิ ทาง ใชถ้ นนพระราม ๒ สทู่ างหลวงหมายเลข ๓๕ สายธนบรุ -ี ปากทอ่ ประมาณกโิ ลเมตรท ี่ ๖๔ เลย้ี ว ซ้ายเข้าไปประมาณ ๒ กิโลเมตร วัดอยู่ด้านขวามือ กอ่ นถงึ ดอนหอยหลอด ดอนหอยหลอด เป็นสันดอนตั้งอยู่ปากแม่น้ำา ดอนหอยหลอด แม่กลอง เกิดจากการตกตะกอนของดินปนทราย หรอื ทชี่ าวบา้ นเรยี กวา่ “ทรายขเ้ี ปด็ ” ดอนหอยหลอด บริเวณสันดอนมีหอยอาศัยอยู่หลายชนิด ได้แก ่ มีอาณาบริเวณกว้างประมาณ ๓ กิโลเมตร ยาว ๕ หอยหลอด หอยลาย หอยปกุ หอยปากเปด็ หอยแครง กิโลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ทข่ี อง แต่พบว่าหอยหลอดมีจำานวนมากที่สุด จึงเป็น -ดอนนอก ปากอ่าวแม่กลอง เดินทางไปได้โดยเรือ จุดเด่นของทแ่ี หง่ น ี้ หอยหลอดเปน็ หอยชนดิ ๒ ฝา เท่านั้น มเี รือขนาดต่างๆ บริการจากท่าริมน้าำ ตวั สขี าวขนุ่ เปลอื กคลา้ ยหลอดกาแฟฝังตัวอย่ใู นเลน แม่กลอง หนา้ วัดบ้านแหลม การจับหอยหลอดจะจับในช่วงนำ้าลงโดยใช้ไม้เล็กๆ -ดอนใน อยู่ทชี่ ายหาดหมูบ่ ้านฉูฉ่ ี ่ ตำาบลบางจะเกรง็ ขนาดก้านธูป จุ่มปูนขาว แล้วแทงลงไปในรู สามารถใชเ้ ส้นทางสายธนบรุ -ี ปากทอ่ (ถนนพระราม หอยหลอด หอยจะเมาปูนแลว้ โผล่ข้ึนมา ไมค่ วรสาด ๒) ประมาณกิโลเมตรท่ี ๖๔ ก่อนข้ามสะพาน ปูนขาวลงบนสนั ดอน เพราะจะทำาให้หอยท่อี าศัยอยู่ พุทธเลิศหล้านภาลัย เชิงสะพานมีป้ายบอกทางเข้า ในบรเิ วณนนั้ ตายหมด ชว่ งเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ดอนหอยหลอดระยะทาง ๕ กิโลเมตร เหมาะที่จะท่องเท่ียวมากท่ีสุดเพราะนำ้าทะเลลดลง -ชายหาดหมบู่ า้ นบางบอ่ ตาำ บลบางแกว้ สามารถเดนิ นานกว่าช่วงเวลาอื่นและสามารถมองเห็นสันดอน ทางไปได้ทางรถยนต์ ใช้เส้นทางสายธนบุรี-ปากท่อ โผลข่ ึ้นมา นักท่องเที่ยวสามารถเช่าเรอื บริเวณศาลา (ถนนพระราม ๒) ก่อนถึงหลักกิโลเมตรท่ี ๖๒ มี อาภร ใกล้ศาลกรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ดิ ์ เพ่ือไป ป้ายซา้ ยบอกทางเข้าดอนหอยหลอดอกี ๗ กโิ ลเมตร ชมจุดตา่ งๆ ดงั น้ ี สมุทรสงคราม 9

วัดแก่นจันทร์เจริญ ชมดอนหอยหลอด คนละ ๒๐ บาท หรอื เหมาลาำ ลาำ รูปเรือ เปน็ ทป่ี ระดิษฐานพระพทุ ธบาทสี่รอย ซึง่ เป็น ละ ๑๒๐ บาท (ไมเ่ กนิ ๖ คน) ชมปากอ่าว ลำาละ องค์ประธานของวัด พระมณฑป และ บานประตไู ม้ ๒๐๐ บาท (ไมเ่ กิน ๔ คน) ชมทิวทศั น์ป่าชายเลน ลาำ ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย พระอุโบสถ บูรณะ ละ ๔๐๐ บาท (ไมเ่ กนิ ๗ คน) (หรือตามราคาทตี่ กลง ใหม่ประดิษฐ์ลวดลายปูนปั้นด้วยฝีมือช่างเมืองเพชร กบั คนขบั เรอื ) นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถสอบถามเวลานา้ำ ภายในมีภาพจิตรกรรมด้ังเดิม บานหน้าต่างเป็นรูป ขน้ึ –นาำ้ ลง ไดท้ ี่ อบต.บางจะเกรง็ มลู นธิ ศิ าลกรมหลวง บุคคลในพงศาวดารจีน ถ�้าพระนอน ประดิษฐาน ชุมพรเขตอดุ มศักดิ์ โทร. ๐ ๓๔๗๒ ๓๗๓๖ พระพทุ ธไสยาสนซ์ งึ่ มนี วิ้ พระบาทเกา้ นว้ิ นอกจากน ี้ บริเวณดอนหอยหลอดเป็นที่ประดิษฐานศาลกรม ดา้ นล่าง มีศาลประดิษฐานหลวงพ่อปศู่ รีราชา เป็นที่ หลวงชมุ พรเขตอุดมศักด์ิ ทส่ี นามหญา้ นอกจากน้มี ี เคารพนับถือของชาวบ้านทั่วไป มีงานนมัสการ รา้ นอาหารและรา้ นขายสนิ คา้ ของ ทร่ี ะลกึ หลายรา้ น หลวงพอ่ ป่กู ลางเดือนอ้ายของทกุ ปี เรียงรายบริเวณดอนหอยหลอดขายอาหารทะเลสด- พิพธิ ภัณฑ์บา้ นเขายสี่ าร อยภู่ ายในศาลาการเปรยี ญ แห้ง หอยหลอดสด-แห้ง นำ้าปลา กะปิคลองโคน วดั เขาย่สี าร เริม่ ก่อตง้ั เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ดว้ ยความ นำ้าตาลปกึ นำ้าตาลสด ฯลฯ ร่วมมือร่วมใจของชาวชุมชนยี่สารที่มีความสำานึก ในประวัติศาสตร์ความเป็นมาของท้องถ่ิน ชุมชน วดั เขายส่ี าร บา้ นเขายสี่ าร ตาำ บลเขายส่ี าร สนั นษิ ฐาน เขาย่ีสารเป็นชุมชนโบราณร่วมสมัยกับการเกิด ว่าสร้างมาแต่คร้ังกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ส่ิงที่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา มกี ารอยอู่ าศยั มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อาคาร น่าสนใจได้แก ่ พระวหิ าร บนยอดเขา มลี กั ษณะเปน็ ชั้นล่างจัดแสดงภูมิปัญญาชาวบ้าน ชีวิตวัฒนธรรม 10 สมุทรสงคราม

ของผคู้ น เคร่ืองมือผลติ ยาสมุนไพร ชนั้ บนจดั แสดง การเก็บรวบรวมส่ิงของด้วยใจรักของเจ้าของและ ภาชนะ เครื่องมือเคร่ืองใช้ในชุมชน เปิดให้เข้าชม เปิดให้เข้าชมด้วยไมตรีจิต โดยไม่เก็บค่าเข้าชม เฉพาะวันเสาร-์ อาทติ ย ์ และวันหยดุ นกั ขัตฤกษ์ เวลา (มีกล่องรับบริจาคหากต้องการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น. ปิดวันเสาร์-อาทิตย์ ที่ตรงกับ พิพธิ ภัณฑ)์ ชมเคร่ืองปนั้ ดินเผารปู แบบตา่ งๆ ต้ังแต่ วันธรรมสวนะในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ไม่เสียค่า ยุคกรุงสุโขทัย กรุงรัตนโกสินทร์ ท่ีงมได้จากแม่นำ้า เข้าชม หรือทำาบุญตามศรัทธา ค่ามัคคุเทศก์นำาชม แม่กลอง คนั ฉอ่ งไม้สัก ถาดนเิ กิล เรอื บดไมส้ กั เตา ๒๐๐ บาท (ไม่เกิน ๑๐ คน) กรุณาตดิ ตอ่ ลว่ งหน้า เชิงกราน และของโบราณหายากหลายชนิด เปิดให้ หรือสอบถามข้อมูลท่ีคุณสิริอาภา รัชตะหิรัญ โทร. เข้าชมวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๑๐.๐๐-๑๕.๐๐ น. ๐๘ ๑๘๕๙ ๓๑๙๕ และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาำ บลเขา สอบถามข้อมูลที่ คุณธวัชชัย-คุณประพีร์ภัทร ยส่ี าร โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๓๑๐๘ พเิ สฏฐศลาศยั โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๐๙๘ คณุ ประพรี ภ์ ทั ร การเดินทาง ไปตามถนนพระราม ๒ (ทางหลวง โทร. ๐๘ ๖๖๑๕ ๓๑๒๗ คณุ ธวชั ชยั โทร.๐๘ ๙๖๖๖ หมายเลข ๓๕ สายธนบรุ -ี ปากทอ่ ) ประมาณกโิ ลเมตร ๑๒๑๔ ท่ี ๗๒ มีสถานีบริการนำ้ามัน ปตท.ซ้ายมือ เลี้ยว ซ้ายตามป้ายบอกทางเข้าวัดเขาย่ีสาร ตรงเข้าไป ๗ วดั แกน่ จนั ทรเ์ จรญิ อยตู่ าำ บลบางพรม เปน็ วดั เกา่ แก่ กิโลเมตร สรา้ งเมอ่ื ป ี พ.ศ.๒๓๕๐ เคยเปน็ วดั รา้ งมากอ่ น ตอ่ มา พระครูสุนธร สุตกิจ (หลวงพ่อโห้) อดีตเจ้าอาวาส อาำ เภอบางคนที วัดบางพลับ ซ่ึงเป็นท่ีนับถือของชาวบ้าน ได้บูรณะ ตลาดนา้ำ บางนอ้ ย ตงั้ อยทู่ ป่ี ากคลองบางนอ้ ย วดั เกาะแกว้ ปรับปรุงซ่อมแซมวัดแก่นจันทร์เจริญแห่งนี้วัดน้ี ตาำ บลกระดงั งา อยหู่ า่ งจากอทุ ยาน ร. ๒ อาำ เภออมั พวา เปน็ ทจี่ ดั งานประเพณตี กั บาตรขนมครกนา้ำ ตาลทราย ประมาณ ๕ กิโลเมตร ชุมชนปากคลองบางน้อยหรือ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมท้องถ่ินติดต่อกันมายาวนาน บางนอ้ ยนอกเคยเปน็ ย่านการค้าทางนำ้าทีส่ าำ คญั มาก กว่า ๑๐๐ ปี จัดในวันข้ึน ๘ คำ่า เดือน ๑๐ ของ จุดหนึ่งในลุ่มน้ำาแม่กลอง เม่ือประมาณ ๔๐ ปีก่อน ทกุ ปี สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๕๑๐ มาถึงวันนี้ ตลาดนำ้าบางน้อยได้เปิดขายของในวัน การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทางอมั พวา-บางนกแขวก ทางเดยี ว เสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. สินค้าท่ี กับทางไปอทุ ยาน ร.๒ เลยอุทยาน ร.๒ ไปประมาณ จำาหน่ายมีทั้งผลผลิตทางการเกษตรจากชาวสวน ๓ กโิ ลเมตร จะมที างแยกขวาเขา้ วดั แกน่ จันทร์เจริญ รวมทั้งอาหารคาวหวานอันข้ึนช่ือของสมุทรสงคราม เชน่ กะปิคลองโคลน มะนาวดอง โรตีแต้จว๋ิ เจ๊เรณู ค่ายบางกุ้ง อยู่หมู่ที่ ๔ ตำาบลบางกุ้ง เม่ือมาถึง เจ้าเดียวที่ยังเหลืออยู่ในตลาดน้ำาบางน้อย สามารถ บรเิ วณคา่ ยจะมองเหน็ แนวกาำ แพงจาำ ลองสรา้ งไวเ้ พอ่ื เดินเลียบคลองชมบรรยากาศบ้านไม้เก่าแก่และ เป็นอนุสรณ์จากการสู้รบ ค่ายแห่งนี้เป็นค่ายทหาร ร้านค้าต่างๆ ท่ีเรียงรายริมคลองบางน้อยได้อย่าง เรือไทยท่ีมีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์ หลังจาก เพลดิ เพลิน เหตกุ ารณเ์ สยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครง้ั ท ี่ ๒ เมอ่ื พ.ศ.๒๓๑๐ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช โปรดฯ ใหก้ องทพั เรอื พิพิธภัณฑ์ต้ังเซียมฮะ (บ้านไหพันใบ) อยู่ภายใน มาอยทู่ ีต่ าำ บลบางกงุ้ เรียกวา่ คา่ ยบางกงุ้ เนอื่ งจาก ตลาดน้ำาบางน้อย เป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านที่เกิดจาก เมืองแม่กลองเป็นเส้นทางท่ีกองทัพพม่าใช้ในการ สมทุ รสงคราม 11

อาสนวิหารแม่พระบงั เกดิ เดินทัพ โดยสร้างกำาแพงล้อมวัดบางกุ้งให้อยู่กลาง หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสถาปนา ค่ายเพ่ือเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจและเป็นที่เคารพบูชา กรงุ ธนบรุ เี ปน็ ราชธาน ี คา่ ยบางกงุ้ แหง่ นถี้ กู ปลอ่ ยให้ ของทหาร พระเจา้ ตากสนิ มหาราช โปรดฯ ใหช้ าวจนี รา้ งเกอื บ ๒๐๐ ป ี จนมาถงึ ป ี พ.ศ. ๒๕๑๐ กระทรวง จากระยอง ชลบุร ี ราชบรุ ี และกาญจนบรุ ี รวบรวม ศึกษาธิการไดต้ ้งั เปน็ ค่ายลูกเสอื ข้ึน เพอื่ เป็นการเทิด ผู้คนมาต้ังเป็นกองทหารรักษาค่าย ค่ายนี้จึงมีช่ือ พระเกียรติพระเจ้าตากสนิ มหาราช และไดส้ รา้ งศาล เรียกอกี ช่อื หน่ีงว่า คา่ ยจีนบางกุ้ง พระองคท์ รงใหช้ อื่ พระเจ้าตากสินมหาราชไว้เป็นอนุสรณ์ โดยทำาพิธี ทหารเหลา่ นวี้ า่ “ทหารภกั ดอี าสา” ในป ี พ.ศ. ๒๓๑๑ ยกศาลเม่ือวันท่ ี ๒๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๑๑ ภายใน พระเจ้ากรุงอังวะทรงยกทัพผ่านกาญจนบุร ี มาล้อม บริเวณค่ายมีโบสถ์ท่ีสร้างตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ค่ายจีนบางกุ้ง พระเจ้าตากสินมหาราช และพระ เป็นราชธานี ชาวบ้านเรียกว่า “โบสถ์หลวงพ่อดำา” มหามนตร ี (บญุ มา) ร่วมรบขบั ไลก่ องทพั พม่า ทำาให้ มีลักษณะพิเศษคือ โบสถ์ท้ังหลังปกคลุมด้วยต้นไม้ ข้าศึกแตกพ่าย นับเป็นค่ายทหารไทยท่ีสร้างความ ถึงส่ีชนิด คือ ต้นโพธ์ิ ต้นไทร ต้นไกร ต้นกร่าง เกรงขามใหก้ องทพั พมา่ สรา้ งขวญั กาำ ลงั ใจชาวไทยให้ ชาวบา้ นเรยี กวา่ “โบสถป์ รกโพธ”ิ์ และไมไ่ กลนกั เปน็ กลบั คนื มา และเปน็ สงครามครง้ั แรกทไ่ี ทยทาำ กบั พมา่ ท่ีต้ังของอนุสาวรีย์สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช 12 สมทุ รสงคราม

วัดบางกุ้ง อยู่ในเขตพื้นที่เดียวกับค่ายบางกุ้ง แต่อยู่คนละฝั่งกัน มีถนนตัดผ่านกลาง ภายในวัดมี โบสถ์เก่าประดิษฐานพระประธานเป็นพระพุทธรูป ขนาดใหญ ่ ชาวบา้ นเรยี กวา่ หลวงพอ่ โบสถน์ อ้ ย และ มภี าพจติ รกรรมฝาผนงั สมยั ปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยาแสดง เรอื่ งราวพทุ ธประวตั ิ เปน็ ภาพพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง ธรรม และภาพพระพทุ ธเจา้ ประทบั นง่ั อยใู่ นซมุ้ ขนาบ ขา้ งดว้ ยพระอคั รสาวกน่ังพนมมอื การเดินทาง ใช้เส้นทางสายแม่กลอง-บางนกแขวก (เส้นทางเดียวกับอุทยาน ร.๒) ก่อนถึงอาสนวิหาร แม่พระบังเกิด เล้ียวซ้ายข้ึนสะพานสมเด็จพระ อมั รินทร ์ และเลี้ยวซ้าย ตรงไปประมาณ ๗ กิโลเมตร อาสนวิหารแม่พระบังเกิด อยู่หมู่ที่ ๗ ตำาบลบาง นกแขวก โบสถ์น้ีเป็นสถานที่สักการะของคริสตชน ที่อาศัยอยู่โดยรอบ สร้างข้นึ เม่ือป ี พ.ศ.๒๔๓๓ (ค.ศ. ๑๘๙๐) โดยบาทหลวงเปาโลซัลมอน มิชชันนารี ชาวฝร่ังเศส ได้รับทุนสนับสนุนจากญาติพ่ีน้องของ ท่านในประเทศฝร่ังเศส คณะมิสซังต่างประเทศ แห่งกรุงปารีส กรุงโรมและผู้ใจบุญในกรุงเทพฯ ใช้ วัดบางก้งุ เวลาสร้างถงึ ๖ ปี จึงเสรจ็ สมบูรณ์ ทาำ พิธีเปดิ อยา่ ง เป็นทางการในวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๙ วดั เจริญสขุ ารามวรวิหาร ตำาบลบางนกแขวก หา่ ง (ค.ศ.๑๘๙๖) เป็นสถาปัตยกรรมแบบโกธิคของ จากตัวอำาเภอบางคนที ๕ กิโลเมตร ส่ิงท่ีน่าสนใจ ฝรั่งเศส ฉาบด้วยปูนตำา ภายในประดับด้วยภาพ ภายในวดั ไดแ้ ก ่ พระอโุ บสถมเี พดานเปน็ รปู โคง้ คลา้ ย กระจกสีสวยงดงาม มีรูปปั้น ธรรมาสน์เทศน์ อ่าง ประทุนเรือ ภายในประดิษฐานหลวงพ่อโตลักษณะ ล้างบาป ขาเทียนลักษณะต่างๆ และรูปแกะสลัก เป็นพระปฏิมากรสมัยสุโขทัยสร้างด้วยศิลาแลง บรรยายเกร็ดประวัติในพระคัมภีร์คริสตศาสนา ขนาดหน้าพระเพลากว้าง ๑๗๘ เซนติเมตร สูงจาก เปน็ โบสถท์ ม่ี คี วามสวยงามอยไู่ มไ่ กลจากรมิ ฝง่ั แมน่ า้ำ พนื้ รองประทบั ถงึ จฬุ า ๒๐๘ เซนตเิ มตร บรเิ วณทา่ นาำ้ การเข้าชมต้องติดต่อขออนุญาตล่วงหน้า โทร. ๐ หน้าวดั มีฝงู ปลาอาศัยอยู่เป็นจาำ นวนมาก โดยเฉพาะ ๓๔๗๐ ๓๒๑๙ ปลาตะเพยี นเงนิ และปลาตะเพยี นทอง ประชาชนนยิ ม การเดินทาง ไปตามเส้นทางสายแม่กลอง-บางนก มาใหอ้ าหารปลา และรบั ประทานกว๋ ยเตยี๋ วเรอื รสชาติ แขวก ผ่านอทุ ยาน ร.๒ อาสนวหิ ารแมพ่ ระบงั เกิดอยู่ อรอ่ ยบริเวณท่าน้าำ เลยแยกสะพานสมเด็จพระอัมรนิ ทรไ์ ป ๑๐๐ เมตร การเดินทาง ไปตามเส้นทางสายแม่กลอง-บาง นกแขวก ผ่านอทุ ยาน ร.๒ ประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร สมทุ รสงคราม 13

ตลาดน�้ายามเยน็ อมั พวา ผ่านอาสนวิหารแม่พระบังเกิด ข้ามสะพานบาง (Honorable Mention) จากการประกวดรางวัล นกแขวก ป้ายวัดอยู่ด้านขวามือ เล้ียวขวาเข้าไป เพื่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ในภูมิภาค ๕๐๐ เมตร เอเชียและแปซิฟิก แห่งองค์การยูเนสโก ประจำาป ี พ.ศ. ๒๕๕๑ (UNESCO Asia-Pacific Heritage อาำ เภออมั พวา Awards for Culture Heritage Conservation) ตลาดนาำ้ ยามเย็นอัมพวา เปน็ ตลาดริมคลองอยู่ใกล้ ซึ่งถือเป็นความสำาเร็จในการประสานความร่วม วัดอัมพวันเจติยาราม เปิดทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ มือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการอนุรักษ์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา ๑๒.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาคารเก่าแก่ท่ีทรงคุณค่า มีความงดงามด้าน ในคลองอัมพวามีพ่อค้าแม่ค้าพายเรือขายอาหาร สถาปัตยกรรม และสะท้อนถึงลักษณะสำาคัญ และเคร่ืองดื่ม เช่น หอยทอด ก๋วยเตี๋ยว กาแฟ ทางทอ้ งถ่นิ ได้เป็นอยา่ งดี โอเล้ียง ขนมหวานต่างๆ และมีรถขายของบนสอง การเดนิ ทาง ใชถ้ นนพระราม ๒ (ทางหลวงหมายเลข ฝั่งคลอง บรรยากาศสบายๆ มเี พลงฟังจากเสียงตาม ๓๕ สายธนบุรี-ปากท่อ) ถึง กิโลเมตรที่ ๖๓ เข้า สายของชุมชน สามารถเช่าเรือเที่ยวชมหิ่งห้อยใน ตัวเมืองสมุทรสงครามเล้ียวขวาเข้าทางหลวง ยามคา่ำ คนื ชมุ ชนรมิ คลองอมั พวา ไดร้ บั รางวลั ชมเชย หมายเลข ๓๒๕ สายสมทุ รสงคราม-บางแพ กโิ ลเมตร 14 สมุทรสงคราม

ที่ ๓๖-๓๗ เลยี้ วซา้ ยไปทางอทุ ยาน ร. ๒ ตลาดนาำ้ ฯ บ้านครเู อื้อ อมั พวา อย่เู ลขท่ี ๑๙๓-๑๙๕ ริมคลอง อย่ใู กล้อุทยาน ร. ๒ จอดรถท่ีวัดอมั พวนั เจติยาราม อัมพวา ตำาบลอัมพวา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ รถโดยสารประจำาทาง สายแม่กลอง-โรงเจอัมพวา อัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ มูลนิธิชัยพัฒนา ในสมเด็จ หรอื สายแม่กลอง-บางนกแขวก–ราชบุรี จากตลาด พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ เทศบาลอำาเภอเมือง ลงหนา้ วัดอัมพวันเจตยิ าราม สยามบรมราชกมุ าร ี จดั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑจ์ ดั แสดงนทิ รรศ การประวตั ผิ ลงานของครเู ออื้ ศนู ยร์ วมขอ้ มลู สาำ หรบั บคุ คล โครงการอมั พวา ชยั พฒั นานรุ กั ษ์ อยตู่ าำ บลอมั พวา ทั่วไปท่ีสนใจค้นคว้าเรื่องราวของเพลงสุนทราภรณ์ ใกล้ตลาดน้ำาอัมพวา เป็นโครงการท่ีสมเด็จพระ ตงั้ แตอ่ ดตี ถงึ ปจั จบุ นั เปดิ ใหแ้ ฟนเพลงเขา้ ไปนง่ั ฟงั เพลง กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ คน้ ควา้ อา่ นหนงั สอื นอกจากน ้ี จดั แสดงของใชส้ ว่ นตวั สยามบรมราชกมุ าร ี มีพระราชดำาริให้สำานักงาน ของครเู ออ้ื และภาพเกา่ ๆ ทห่ี าชมไดย้ าก รวมทงั้ จาำ หนา่ ย มูลนิธิชัยพัฒนานำาท่ีดินท่ีคุณประยงค์ นาคะวะรังค์ ของทรี่ ะลึกและผลงานเพลงของครูเออื้ สุนทรสนาน ชาวอัมพวา น้อมเกล้าฯ ถวายมาดำาเนินการพัฒนา บา้ นครเู ออื้ อมั พวา เปดิ วนั เสาร-์ อาทติ ย ์ และวนั หยดุ ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนอัมพวา เพ่ือสืบสาน นกั ขตั ฤกษ ์ เวลา ๑๑.๐๐-๒๐.๐๐ น. สอบถามขอ้ มูล ภูมิปัญญาชาวบ้าน และอนุรักษ์วิถีการดำาเนิน โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๒๔๕, ๐ ๓๔๗๕ ๒๑๙๙ ชีวิตของชาวอัมพวา และด้วยที่ “ชุมชนอัมพวา” เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเกี่ยวข้อง วัดอัมพวันเจติยาราม อยู่ตดิ กับอทุ ยาน ร. ๒ เป็น กับความเป็นชาติไทย ซึ่งอนุชนรุ่นหลังสามารถ วัดของตระกูลราชนิ กิ ุลบางชา้ ง สนั นษิ ฐานวา่ สร้าง หวนรำาลึกและมองย้อนเห็นภาพอดีตอันรุ่งเรือง ในสมยั รชั กาลท ่ี ๑ หลงั วดั แหง่ นเี้ คยเปน็ นวิ าสสถาน ถึงความเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรม และประเพณี เก่าของหลวงยกกระบตั ร (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธ ทีง่ ดงามสะท้อนความเปน็ ไทยไดอ้ ยา่ งน่าภาคภูมิใจ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) และ คุณนาค (สมเดจ็ พระ โครงการ “อมั พวา ชยั พฒั นานุรกั ษ”์ แบ่งพนื้ ที่เปน็ อมรินทรามาตย์พระบรมราชินีในรัชกาลท่ี ๑) และ ส่วนต่างๆ ประกอบด้วย ภูมิสังคมและพระราชดำาริ เปน็ สถานท่ีพระราชสมภพของรัชกาลที ่ ๒ เชอื่ กนั ว่า เศรษฐกิจพอเพียง สวนสาธิตการเกษตรเพ่ือการ บรเิ วณพระปรางคข์ องวดั อมั พวนั เจตยิ าราม เดมิ เปน็ เรียนรู้ อาทิ สวนมะพร้าวและพืชต่างๆ ร้านค้า เรอื นทคี่ ณุ นาคใชเ้ ปน็ ทคี่ ลอดคณุ ฉมิ บตุ รชาย ซงึ่ ตอ่ มา ชุมชน ลานวัฒนธรรมนาคะวะรังค์ ลานสำาหรับจัด ได้เป็น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กิจกรรมและจำาหน่ายของท่ีระลึกจากชาวอัมพวา วดั อมั พวนั เจตยิ ารามไดร้ บั การบรู ณะปฏสิ งั ขรณ ์ โดย รา้ นกาแฟอายกุ วา่ ๒๐๐ ป ี พพิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นอมั พวา รัชกาลที่ ๓ รัชกาลท่ี ๔ และรัชกาลท่ี ๕ ปัจจุบัน เป็นพิพิธภัณฑ์ที่แสดงสิ่งของเครื่องใช้สมัยโบราณ วัดอัมพวันเจติยารามเป็นพระอารามหลวงช้ันโท ที่ค้นพบในอำาเภออัมพวา ร้านชานชาลา จำาหน่าย พระอุโบสถตลอดจนถาวรวัตถุในวัดน้ีส่วนใหญ่เป็น เครื่องดม่ื และของวา่ ง บ้านครเู อ้ือ แสดงนิทรรศการ ศิลปะและสถาปัตยกรรมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ประวัติและผลงาน รวมทั้งข้าวของเครืองใช้ของ ตอนต้น ซ่ึงนับเป็นพระอุโบสถที่มีความงดงาม ครูเอื้อ สุนทรสนาน หรือสุนทราภรณ์ สอบถาม นอกจากนี้มีพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ ข้อมลู โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๒๔๕ , ๐ ๓๔๗๕ ๒๑๙๙ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยประดิษฐานอยู่ สอบถาม หรอื www.amphawanurak.com ข้อมูล โทร. ๐ ๓๔๗๒ ๕๕๔๗ สมุทรสงคราม 15

การเดนิ ทาง ใชถ้ นนพระราม ๒ (ทางหลวงหมายเลข การละเลน่ สมยั โบราณ “หมากสกา” และเครอ่ื งดนตรี ๓๕ สายธนบุร-ี ปากทอ่ ) ถงึ กิโลเมตรที่ ๖๓ เขา้ ตวั ไทย เรือนกลาง (เรอื นประธาน) ภายในห้องแบ่งการ เมอื งสมทุ รสงคราม เลย้ี วขวาเขา้ ทางหลวงหมายเลข จัดแสดงเป็นห้องต่างๆ อาทิ ห้องพระ ห้องนอน ๓๒๕ สายสมุทรสงคราม-บางแพ กิโลเมตรที่ ๓๖- ห้องนวดประคบ และห้องแต่งตัว ซ่ึงในห้อง ๓๗ เลีย้ วซ้ายเขา้ ไปอกี ๑ กโิ ลเมตร หรอื รถโดยสาร แต่งตัวจำาลองให้เห็นถึงวิถีชีวิตของหญิงไทยใน ประจำาทาง สายแม่กลอง-โรงเจอัมพวา หรือ สาย สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ที่แต่งกายให้มีความงาม แม่กลอง-บางนกแขวก–ราชบุรี จากตลาดเทศบาล ตามลักษณะกุลสตรีไทย รู้จักดัดแปลงสิ่งที่ได้ อาำ เภอเมือง ลงหน้าวดั อมั พวนั เจตยิ าราม จากธรรมชาติมาปรุงเป็นเคร่ืองสำาอางใช้ประทินผิว เช่น การปรุงเครื่องร่ำาน้ำาหอมนำามาประพรม ลูบไล้ อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จ ผวิ กายใหม้ กี ลนิ่ หอม หรอื ใชแ้ ปง้ ราำ่ แปง้ พวง ผดั ผวิ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (อุทยาน ร.๒) เป็น ให้จับนวล เป็นต้น นอกจากนี้ จัดแสดงศิลปวัตถุ โครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธ สมัยต้นรัตนโกสินทร์ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ เช่นเครื่อง เลิศหล้านภาลัยของมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ ถว้ ยเบญจรงคด์ ว้ ย เรอื นหญงิ จดั แสดงวถิ ชี วี ติ เดก็ หญงิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ในพระบรม ในอดีตที่ศึกษาเล่าเรียนวิชาการบ้านการเรือนและ ราชูปถัมภ์ เพ่ือเป็นการสนองพระมหากรุณาธิคุณ วชิ าชา่ งฝมี อื อยกู่ บั บา้ น เพอ่ื เตรยี มตวั เปน็ แมศ่ รเี รอื น ท่ีได้พระราชทานศิลปวัฒนธรรมอันงดงามไว้เป็น ทดี่ ใี นอนาคต เชน่ สอนวชิ าการรอ้ ยมาลยั การทาำ บายศรี มรดกแกช่ าต ิ จนไดร้ บั ยกยอ่ งใหเ้ ปน็ บคุ คลสาำ คญั ของ และจดั แสดงการเลย้ี งลกู การกลอ่ มลกู ตามแบบโบราณ โลกจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม และ เรอื นกลางนา้� จดั แสดงเปน็ พพิ ธิ ภณั ฑม์ รดกทาง แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) พ้ืนที่ของอุทยาน วฒั นธรรมอมั พวา เดมิ เรอื นกลางนำ้า จดั เปน็ หอสมุด พระบรมราชานสุ รณป์ ระมาณ ๑๑ ไร ่ พระราชสมทุ ร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้ังอยู่กลางนำ้าตาลักษณะ เมธ ี เจา้ อาวาสวดั อมั พวนั เจตยิ ารามเปน็ ผนู้ อ้ มเกลา้ ฯ หอไตร เพ่ือกันปลวกมดทำาลายหนังสือ ซึ่งเป็น ถวาย สถานท่ีแห่งน้ีเป็นสถานท่ีพระราชสมภพ หอสมุดแบบฉบับของไทยสมัยโบราณ เม่ือปี พ.ศ. ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (รชั กาล ๒๕๓๐ ได้เกิดเหตุเพลิงไหม้หอสมุด จึงได้ก่อสร้าง ท ี่ ๒) ภายในอุทยานพระบรมราชานสุ รณ์ มสี ิ่งท่นี า่ อาคารหลังใหม่แทน และเป็นท่ีซ้อมโขน และเก็บ สนใจไดแ้ ก ่ พพิ ธิ ภณั ฑว์ ถิ ไี ทยสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เครื่องดนตรีไทย ต่อมาจึงจัดเป็นพิพิธภัณฑ์มรดก ลกั ษณะเปน็ อาคารทรงไทย ๕ หลงั แบง่ เปน็ สว่ นตา่ งๆ ทางวัฒนธรรมอัมพวา จัดแสดงวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำา ๔ หลัง ดังนี้ เรือนชาย จัดแสดงเก่ียวกับวิถีชีวิต เอกลักษณ์ของอัมพวา วัด บ้าน การดนตรี อาหาร ของเด็กผู้ชายไทยในอดีต เมื่อเด็กจำาเริญวัยสมควร และขนม วฒั นธรรมและประเพณีอัมพวา เปน็ ต้น แกก่ ารศึกษาเล่าเรียนจะถูกส่งไปศึกษากับพระสงฆ์ นอกจากน้ี มีโรงละครกลางแจ้ง และสวนพันธุ์ไม้ ตามวัดวิชาท่ีพระสงฆ์สอนอาจเป็นวิชาช่างศิลปะ ในวรรณคดีนานาชนิด ภายในสวนมีพระท่ีน่ัง วิชาหนังสือธรรมะ เพื่อว่าเม่ือเด็กเจริญเติบโต สนามจันทร์จำาลอง และประติมากรรมจากบท จะได้รับราชการเป็นขุนนาง เด็กชายเม่ือไปเรียน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จะนำากระดานชนวนและดินสอที่ทำาจากหินไปด้วย นภาลยั รา้ นจาำ หนา่ ยสนิ คา้ พนื้ เมอื ง จาำ หนา่ ยพนั ธไ์ุ ม้ เพื่อใช้หัดอ่านเขียน นอกจากนี้ จัดแสดงเกี่ยวกับ อทุ ยาน ร. ๒ เปน็ สถานทท่ี มี่ คี วามรม่ รน่ื เหมาะสาำ หรบั 16 สมุทรสงคราม

วดั บางกะพ้อม เข้าไปเยี่ยมชมบรรยากาศแบบไทยที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ วัดบางกะพ้อม เป็นวัดที่สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา อทุ ยานฯ เปดิ ให้เขา้ ชมทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๗.๓๐ ตอนปลาย สิ่งที่น่าสนใจคือ วิหาร เป็นอาคาร น. คา่ เข้าชมผูใ้ หญ่ ๓๐ บาท เดก็ ๑๐ บาท สอบถาม ก่ออิฐถือปูนท่ีได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมจีน ข้อมูลเพิ่มเติม โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๖๖๖, ๐ ๓๔๗๕ ตามแบบศิลปะพระราชนิยมสมัยราชกาลที่ ๓ ๑๓๗๖ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ ๑๓๗๖ ภายในวิหาร ผนังด้านบนเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง การเดนิ ทาง ใชถ้ นนพระราม ๒ (ทางหลวงหมายเลข ลักษณะแตกต่างจากทั่วไป คือ เป็นปูนปั้นลวดลาย ๓๕ สายธนบรุ ี-ปากท่อ) ถึง กโิ ลเมตรท่ี ๖๓ เข้าตวั นูนแสดงเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธประวัติ ส่วนผนัง เมอื งสมทุ รสงคราม เลยี้ วขวาเขา้ ทางหลวงหมายเลข วหิ ารดา้ นล่างโดยรอบมีช่องเจาะเป็นซุ้มประดษิ ฐาน ๓๒๕ สายสมุทรสงคราม-บางแพ กิโลเมตรที่ ๓๖- พระพุทธรูป นอกจากนี้กลางวิหารประดิษฐาน ๓๗ เลย้ี วซา้ ยเขา้ ไปอกี ๑ กิโลเมตร หรอื รถโดยสาร รอยพระพุทธบาทจำาลองขนาดใหญ่ซ้อนกันส่ีรอย ประจำาทาง สายแม่กลอง-โรงเจอัมพวา หรือ สาย ลดหลั่นกันไป สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงธนบุรี แม่กลอง-บางนกแขวก–ราชบุรี จากตลาดเทศบาล เดิมมีแผ่นเงินหุ้มแต่ถูกขโมยไปเมื่อคร้ังสงคราม อำาเภอเมือง ลงหนา้ อทุ ยาน ร.๒ สมุทรสงคราม 17

พระพุทธบาทรอยที่ซ้อนลึกที่สุดนั้นเป็นไม้ประดับ ฉลู ปัจจุบันหาชมศิลปะการแกะสลักเช่นนี้ได้ยาก มกุ ยังคงปรากฎลวดลายงดงาม นักท่องเที่ยวท่ีสนใจสามารถชมศิลปะการแกะสลัก การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย ซอและเรียนรู้การใช้ซอไดท้ ี่ บา้ นคณุ สมพร เกตุแก้ว สมทุ รสงคราม-บางแพ วดั บางกะพอ้ มตง้ั อยกู่ โิ ลเมตร เลขท่ ี ๔๓ หมู่ท ่ี ๕ ตาำ บลบางพรม อาำ เภอบางคนที ที ่ ๓๗–๓๘ สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๙๔๙ การเดนิ ทาง บา้ นพญาซอ จากตวั เมอื งสมทุ รสงคราม บ้านพญาซอ ศิลปะการทำาซออู้ ซอเป็นเคร่ือง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สายสมทุ รสงคราม- ดนตรีไทยพื้นบ้านภาคกลาง บ้านพญาซอเป็นบ้าน บางแพ กโิ ลเมตรท ่ี ๓๖-๓๗ มที างแยกซา้ ยไปอทุ ยาน ช่างซออู้ ท่ีนำาศิลปะการเล่นดนตรีไทยมาผนวกกับ ร.๒ บ้านพญาซออยู่เลยอทุ ยาน ร.๒ ไปประมาณ ๔ การแกะสลักซอเป็นลวดลายที่งดงาม โดยการนำา กโิ ลเมตร ผ ล ม ะ พ ร ้ า ว ที่ ใ ช ้ ทำ า ซ อ ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ พิ เ ศ ษ ม า แกะสลักเป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายตัวละคร วดั จุฬามณี ตาำ บลท่าชา้ ง เป็นวดั โบราณริมฝง่ั คลอง ลายพุดตาน ลายนามย่อ ลายปีนักษัตร เช่น ชวด อัมพวาต่อเนื่องกับคลองผีหลอก สร้างขึ้นตั้งแต่ วัดภมุ รนิ ทรก์ ุฎที อง 18 สมุทรสงคราม

สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ทำานายว่าจะได้เป็นพระราชินี เศรษฐีบิดาคุณนาค ปราสาททอง สนั นษิ ฐานวา่ นายตลาดบางชา้ ง เปน็ หญงิ จึงให้ คำาม่ันว่า ถ้าเป็นจริงจะสร้างกุฎีทองถวายให้ ชื่อน้อย มีบรรดาศักดิ์เป็นท้าวแก้วผลึก (น้อย) ต้น วดั วดั บางลจ่ี งึ ไดช้ อ่ื วา่ วดั บางลกี่ ฎุ ที อง ตอ่ มาวดั บางลี่ วงศ์ราชินิกุลบางช้างเป็นผู้สร้างข้ึน บริเวณหลังวัด ถูกน้ำาเซาะท่ีดินพังลง จึงรื้อกุฎีทองมาสร้างไว้ที่ เดิมเป็นนิวาสสถานของคุณนาค (สมเด็จพระอมริน วัดภุมรินทร์ วัดนี้จึงได้ช่ือว่า วัดภุมรินทร์กุฎีทอง ทรามาตย ์พระบรมราชนิ ใี นรชั กาลท ี่๑) และคณุ บญุ รอด นอกจากน้ีมีพิพิธภัณฑ์วัดภุมรินทร์และอุทยาน (สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ พระบรมราชินี การศกึ ษา เปน็ สถานทเี่ กบ็ รวบรวมโบราณวตั ถลุ าำ้ คา่ ในรชั กาลที ่ ๒) สงิ่ ท่ีนา่ สนใจภายในวดั ไดแ้ ก่ อโุ บสถ สมควรแกก่ ารศกึ ษาและอนรุ กั ษไ์ ว ้ เชน่ พระพทุ ธรปู จตั ุรมขุ หินอ่อน ปพู ื้นด้วยหินหยกสีเขียวจากเมอื งกา หนังสือไทย โถลายคราม และ เคร่ืองทองเหลือง ราจ ี ประเทศปากสี ถาน ภายในประดษิ ฐานพระประธาน พระพทุ ธรปู เกา่ แกอ่ ายกุ วา่ ๓๐๐ ป ี เปน็ พระพทุ ธรปู บนฐานสูงประดับประดาด้วยโคมไฟ บานหน้าต่าง ปูนปั้นปิดทอง ปางมารวิชัยช่ือ พระพุทธรัตน ด้านนอกลงรักฝังมุกเป็นภาพตราพระราชลัญจกร มงคลหรือหลวงพ่อโต และ พระบรมราชานุสาวรีย์ ตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๙ พระนามาภิไธย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ประดษิ ฐาน ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จ ภายในวัดเป็นที่ต้ังของ บ้านดนตรี โดยใช้อาคาร พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรม โรงเรียนเป็นสถานท่ีสอนดนตรีไทย ด้วยสำานักงาน วงศานุวงศ์ ตลอดจนภาพเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสงครามเล็งเห็นคุณค่า ช้ันต่างๆ นอกจากน้ีบริเวณฝาผนังโดยรอบพระ วัฒนธรรมของภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ควรอนุรักษ์ให้ อุโบสถ ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังแสดงเร่ืองราว ลูกหลานชาวสมุทรสงครามได้ภาคภูมิใจ จึงได้ เกย่ี วกบั พทุ ธประวตั แิ ละนทิ านชาดกทปี่ ระณตี งดงาม รวบรวมนักดนตรีไทยรุ่นเก่า ๆ ท่ีสมัครใจสอน ฝีมือของจิตรกรหญิงนิตยา ศักด์ิเจริญ ซ่ึงใช้เวลาใน เด็กรุ่นใหม่เพื่อสืบทอดความเป็นเมืองแห่งดนตรี การวาดนานถงึ ๖ ป ี และวหิ ารหลวงพ่อเนือ่ ง วิหาร ไทยไวช้ ว่ั ลกู หลาน โดยปจั จบุ ันใชช้ ่ือวา่ “บา้ นดนตรี เรือนไทยซ่ึงภายในตกแต่งลวดลายรดน้ำาปิดทอง ไทย สมทุ รสงคราม” สอนวันจนั ทร์ พธุ ศุกร์และวนั สวยงามตระการตา เป็นท่เี กบ็ รกั ษาสังขารของหลวง เสาร์-อาทิตย ์ โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๕๐๐, ๐๙ ๙๖๗๘ พ่อเน่ือง พระบูรพาจารย์ที่ไม่เน่าไม่เปื่อยเอาไว้ให้ ๙๖๕๑ ลูกศิษย์ไดส้ ักการะกราบไหว้ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย การเดนิ ทาง วัดตั้งอย่บู นทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สมทุ รสงคราม-บางแพ เลีย้ วซ้ายข้ามสะพานพระศรี สายสมทุ รสงคราม-บางแพ กโิ ลเมตร ๓๔–๓๕ สรุ ิเยนทร ์ เลย้ี วขวาไปวดั ภมุ รนิ ทรก์ ฎุ ีทอง วดั ภมุ รนิ ทรก์ ฎุ ที อง ตง้ั อยรู่ มิ แมน่ า้ำ แมก่ ลอง ตรงปาก วัดบางแคใหญ่ อยู่ริมฝั่งแม่นำ้าแม่กลอง บริเวณ คลองประชาชมชนื่ ฝง่ั ตะวนั ตก ตาำ บลสวนหลวง สงิ่ ท่ี ปากคลองบางแค ตำาบลแควอ้อม สรา้ งขน้ึ เม่ือ พ.ศ. นา่ สนใจภายในวัดมีมากมาย ไดแ้ ก ่ กฎุ ที อง ทำาดว้ ย ๒๓๕๗ ภายในวัดมีโบราณสถานและโบราณวัตถุท่ี ไมส้ ัก ประวตั เิ ลา่ วา่ เศรษฐบี ดิ าของคุณนาค (สมเด็จ นา่ สนใจ ไดแ้ ก ่ พระอโุ บสถหลงั ใหญอ่ ายกุ วา่ ๑๕๐ ปี พระอมรินทรามาตย์ พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๑) ด้านหน้ามีเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองศิลปะ ให้สมภารวัดบางล่ีตรวจดูดวงชะตาคุณนาค สมภาร สมัยกรุงศรีอยุธยา พระประธานในอุโบสถปาง สมุทรสงคราม 19

วัดบางแคนอ้ ย มารวชิ ยั ทาำ ดว้ ยศลิ าแลง มธี รรมเจดยี ์ ๗ องคส์ รา้ งเมอื่ เพ่ือนที่นิยมเลี้ยงแมวไทยเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ พ.ศ. ๒๔๑๕ มีกำาแพงแก้วล้อมรอบ นอกจากนี้ฝา แมวไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทยเป็นสมบัติของ ประจัน (ฝาก้นั หอ้ ง) กฏุ ิสงฆม์ ีภาพจติ รกรรมฝาผนงั ชาติตลอดไปและเพ่ือเผยแพร่ความรู้เรื่องแมวไทย ท่ีเขียนด้วยสีฝุ่นผสมกาวเขียนในปลายสมัยรัชกาล พันธุ์แท้ คุณสมบัติและลักษณะท่ีถูกต้องของแมว ท่ ี ๒ เปน็ เรอ่ื งราวการทาำ สงครามไทย-พม่า ซง่ึ น่าจะ สนับสนุนการค้นคว้าวิจัย แลกเปลี่ยนความรู้ความ เป็นครั้งท่ีรัชกาลที่ ๒ โปรดให้ไปขัดตาทัพท่ีราชบุรี คดิ เหน็ ระหวา่ งสมาชกิ คณุ ปรชี า พคุ คะบตุ ร เปน็ ผรู้ ว่ ม เม่ือ พ.ศ.๒๓๖๔ ซ่ึงไม่ได้เปิดให้ชมท่ัวไปต้องขอ กอ่ ตงั้ และดแู ลบา้ นแมวไทยโบราณ แมวไทยมหี ลายพนั ธ์ุ อนุญาตลว่ งหน้า ทง้ั พนั ธส์ุ สี วาท ศภุ ลกั ษณ ์ โกญจา ภายในบา้ นแมวไทย การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย มเี รือนเพาะเลี้ยง แบ่งเป็นกรงเลี้ยงแมวไทยประเภท สมุทรสงคราม-บางแพ เล้ยี วซา้ ยข้ามสะพานพระศรี ต่างๆ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. สุรเิ ยนทร ์ เลีย้ วขวาไป ๒ กโิ ลเมตร ผ่านวดั ภมุ รินทร์ สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๓๔๗๐ ๒๐๖๘ กฎุ ที อง จะเห็นวัดบางแคใหญ่ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย สมทุ รสงคราม-บางแพ เลย้ี วซา้ ยขา้ มสะพานพระศรี บ้านแมวไทยโบราณ อยู่เลขท่ี ๒/๑ หม่ทู ี ่ ๗ ตำาบล สรุ เิ ยนทร ์เลยี้ วขวาผา่ นวดั ภมุ รนิ ทรก์ ฎุ ที อง วดั บางแคใหญ ่ แควออ้ ม บา้ นแมวไทยโบราณเกดิ จากการรวมตวั ของ ขา้ มคลองประชาชมชนื่ จะเหน็ ปา้ ยบา้ นแมวไทย 20 สมทุ รสงคราม

วัดบางแคน้อย อยู่ที่ตำาบลแควอ้อม ริมแม่นำ้า (ทกุ ๕ วัน) และวนั เสาร-์ อาทติ ย์ตั้งแตเ่ วลา ๐๘.๐๐– แมก่ ลอง คุณหญิงจ้ยุ (นอ้ ย) วงศาโรจน์ เปน็ ผู้สร้าง ๑๒.๐๐ น. และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา ๐๖.๐๐- เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๑๑ เดิมอุโบสถของวัดสร้างบนแพ ๑๔.๐๐ น. นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อเช่าเรือพาย ไม้ไผ่ผูกไว้กับต้นโพธิ์ริมฝั่งแม่น้ำาแม่กลอง ปัจจุบัน เที่ยวชมหมู่บ้านและเรือกสวนผลไม้ในบริเวณน้ันได้ วดั นไี้ ดร้ บั การบรู ณะอยา่ งด ี สงิ่ ทนี่ า่ ชมภายในวดั ไดแ้ ก ่ สอบถามข้อมูลท่ี องค์การบริหารส่วนตำาบลท่าคา ผนังภายในพระอุโบสถทำาจากไม้สักแกะสลักเป็น โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๓๗๒๘ เรอื่ งราวในพทุ ธประวตั ิ การประสตู ิ ตรสั ร ู้ ปรนิ พิ พาน การเดินทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย และเรื่องพระเจ้าสิบชาติ ลวดลายงดงามชัดเจน สมทุ รสงคราม-บางแพ กิโลเมตรที ่ ๓๒ (เลยทางแยก โดยฝีมือช่างแกะสลักจังหวัดเพชรบุรีซึ่งมีช่ือเสียง เข้าวัดเกาะแก้วไปเล็กน้อย) มีทางแยกขวาไป ๕ ด้านการแกะสลักไม้ นอกจากนี้พ้ืนอุโบสถปูด้วยไม้ กิโลเมตร หรือโดยสารรถประจำาทาง สายท่าคา-วัด ตะเคียน ๗ แผน่ เท่านัน้ ติดต่อไม่ได้ เทพประสิทธ์ิ จากตลาดเทศบาลเมือง ต้ังแต่เวลา ๐๗.๐๐–๑๘.๐๐น. รถออกทกุ ๒๐ นาที วัดอินทาราม อยู่ตำาบลเหมืองใหม่ เป็นวัดโบราณ สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๓๐๐ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และ วัดประดู่ อยู่ตำาบลวัดประดู่ ตามหลักฐานบันทึก ปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยรัชกาลท่ี ๓ สิ่งที่น่าสนใจ ที่ปรากฏอยู่ในจดหมายเหตุเสด็จประพาสต้น เม่ือ ภายในวัดได้แก่ พระพุทธรูปหลวงพ่อโตอายุกว่า วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๔๗ พระบาทสมเด็จ ๓๐๐ ปี พระอุโบสถสร้างด้วยหินอ่อนท้ังหลัง พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จประพาสต้นทาง บานหน้าต่างและบานประตูเป็นไม้สักแกะสลัก ชลมารคมายังวัดประดู่ พระองค์ทรงมีพระราช สภุ าษติ สอนใจ ทา่ นาำ้ ของวดั เปน็ อทุ ยานปลาตะเพยี น ศรัทธาต่อหลวงปู่แจ้ง ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสในขณะ นกั ทอ่ งเทยี่ วสามารถใหอ้ าหารปลาได ้ สอบถามขอ้ มลู นั้น พระองค์ได้ทรงอาราธนาหลวงปู่แจ้งเข้าไปใน โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๗๑๕๗ พระราชวังและได้ถวายเคร่ืองราชศรัทธาหลวงปู่ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย แจ้ง เช่น เรือพร้อมเก๋งพระท่ีน่ัง ๔ แจว พระแท่น สมุทรสงคราม-บางแพ เลี้ยวซ้ายข้ามสะพานพระ บรรทม ตาลปัตรพัดรองนามาภิไธยย่อ “จ.ป.ร.” ศรีสุริเยนทร ์ แลว้ เลย้ี วขวา จากนั้นเลี้ยวขวาอกี ครงั้ และตาลปัตรพัดรองนารายณ์ทรงครุฑพร้อมปลอก ไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๐๐๒ ผ่านโรงพยาบาล หนังสำาหรับคลุมตู้เล็กและตู้ทึบ ปิ่นโต สลกบาตร อัมพวา แลว้ ไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๐๐๗ หรือ พรอ้ มฝาบาตรไมฝ้ งั มกุ อกั ษรยอ่ “ส.พ.ป.ม.จ” ซง่ึ ยอ่ ใช้รถประจำาทางสาย ๘๑๓๑ สายสมุทรสงคราม- มาจากคำาว่า สมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ ทา่ เรือวัดแก้วเจรญิ ปัจจุบันจัดแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์เครื่องราชศรัทธา รัชกาลท่ี ๕ และมีส่ิงที่น่าสนใจอ่ืนๆ เช่น อุโบสถ ตลาดนำ้าท่าคา อยู่ตำาบลท่าคา ยังคงความเป็น หลวงพ่อใหญ่ ภาพจิตรกรรมเพดานเขียนด้วย ธรรมชาติของวิถีชีวิตชาวบ้านซ่ึงพายเรือนำา สีฝุ่นสมัย รัชกาลท่ี ๒ ศูนย์สาธิตศิลปะการทำา ผลผลิต พืชผักและผลไม้จากสวน เช่น พริก หอม หัวโขนและเศยี รครู ต้นสะเดาประวัติศาสตร ์ บอ่ น้าำ กระเทียม น้ำาตาลมะพร้าว ฝรง่ั มะพรา้ ว ชมพู ่ สม้ โอ มนต์ศักด์ิสิทธิ์ หุ้นปั้นรูปเหมือนทำาจากดินสอพอง มาขาย เฉพาะในวันข้ึนหรือแรม ๒ คำา่ ๗ ค่ำา ๑๒ ค่ำา เป็นต้น สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๓๔๗๗ ๒๒๙๙ สมุทรสงคราม 21

เทศกาลงานประเพณี ช่วยกันหยอดแป้งทำาขนมครก และร่วมกันตักบาตร งานสนุ ทราภรณ์คนื ถิ่นเดมิ อัมพวา จัดในช่วงเดือน พระสงฆ ์ มกราคม ทอี่ ทุ ยาน ร.๒ อาำ เภออมั พวา (จดั เปน็ บางป)ี งานประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยเมืองแม่กลอง งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ จดั ชว่ งวนั ลอยกระทง ทอี่ ทุ ยาน ร. ๒ และวดั ภมุ รนิ ทร์ หล้านภาลัย จัดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ณ อุทยาน กุฏที อง อำาเภออมั พวา พระบรมราชานุสรณ์ รัชกาลท่ี ๒ อำาเภออัมพวา ภายในงานมีการแสดง สาธิตการทำาขนมไทยโบราณ งาน Countdown “อัมพวาร่ืนเริงเถลิงศกใหม่” การละเล่นพื้นบ้าน การแสดงโขนกลางแจ้ง และ จดั วนั ท ่ี ๒๑ ธนั วาคม-๑ มกราคม ของทกุ ป ี ณ บรเิ วณ การจำาหน่ายงานศิลปหัตถกรรม รวมท้ังสินค้า ริมเขื่อนหนา้ ทว่ี ่าการอาำ เภออัมพวา พน้ื เมืองตา่ ง ๆ สนิ คา้ พืน้ เมืองและของท่รี ะลึก งานเทศกาลลิ้นจ่ีและของดีสมุทรสงคราม จัดใน อำาเภอเมอื งสมุทรสงคราม ชว่ งปลายเดอื นมีนาคมถึงตน้ เดอื นเมษายน (จัดเปน็ ตลาดกลางบางแกว้ ริมถนนพระราม ๒ กโิ ลเมตร บางปี ขน้ึ อยกู่ ับผลผลิตของล้นิ จ)่ี ท ี่ ๕๘ เปน็ ศนู ยก์ ลางแสดงและจาำ หนา่ ยสนิ คา้ อปุ โภค บริโภค สินค้าเกษตร สินค้าหัตถกรรมพ้ืนเมือง งานนมัสการและสรงน้ำาหลวงพ่อบ้านแหลม และสินค้าเกษตรแปรรูปจากโรงงานอุตสาหกรรม จดั วันที่ ๑๒-๒๐ เมษายน ท่วี ดั เพชรสมทุ รวรวิหาร และร้านเศรษฐกิจชุมชนของกลุ่มแม่บ้าน เปิดวัน อาำ เภอเมอื งสมุทรสงคราม พฤหัสบด ี และวันอาทิตย์ งานเทศกาลส้มโอขาวใหญ่ จดั ปลี ะ ๒ ครง้ั วนั ศกุ ร ์ ตลาดของดีแม่กลอง ๖๙ ริมถนนพระราม ๒ เสาร ์ และอาทติ ย ์ กอ่ นวนั ตรษุ จนี และวนั สารทจนี ณ กิโลเมตรที่ ๖๙ ตำาบลบางขันแตก จำาหน่ายสินค้า บริเวณหน้าศาลากลางจงั หวัดสมทุ รสงคราม พน้ื เมือง เชน่ ผลไม้จากสวน ส้มโอขาวใหญ่ มะพรา้ ว นาำ้ หอม อาหารทะเลแหง้ เชน่ หอยหลอด ปลาเคม็ งานประเพณีตักบาตรขนมครกน้ำาตาลทราย ปลาหมึก กุ้งแห้งและผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น กะปิ วนั ขนึ้ ๘ คา่ำ เดอื น ๑๐ ของทกุ ป ี ณ วดั แกน่ จนั ทรเ์ จรญิ คลองโคน นำ้าปลา นำ้าตาลสด นำ้าตาลมะพรา้ ว อำาเภอบางคนที ประเพณีตักบาตรขนมครกน้ี เลียนแบบมาจากประเพณีการตักบาตรขนมเบื้อง ตลาดสินค้าพ้ืนเมืองบริเวณดอนหอยหลอด ของพระราชพิธีในวัง ซึ่งเป็นพระราชพิธีท่ีสืบทอด อยู่ริมถนนบริเวณดอยหอยหลอด จำาหน่ายอาหาร มาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาจนถึงปลายรัชสมัยรัชกาล ทะเลแหง้ เชน่ หอยหลอด ปลาเคม็ ปลาหมึก กงุ้ แหง้ ท ่ี ๕ ชาวบา้ นจะนำาวัตถดุ ิบในการทำาขนมมารวมกนั และสินค้าหัตถกรรมพนื้ เมืองต่างๆ ทศ่ี าลาวดั ร่วมแรงรว่ มใจกนั หมักข้าวสาร พอรุ่งเชา้ ช่วยกนั โมแ่ ปง้ เก็บมะพรา้ วมาคนั้ กะทิ หลงั จากน้ัน 22 สมุทรสงคราม

งานประเพณีลอยกระทงกาบกลว้ ยเมอื งแม่กลอง กลุ่มสตรีและเยาวชนสหกรณ์ประมงบางจะเกร็ง- เป็นระยะ เชน่ เตาหวาน เตาตาลดี และเตาไทยเดมิ บางแก้ว ๒๘/๒ หมู่ที่ ๘ ตำาบลบางแก้ว โทร. ๐ นักท่องเท่ียวสามารถแวะชมการสาธิตทำาน้ำาตาล ๓๔๗๖ ๙๘๗๗ (ผลติ เรอื จาำ ลองตา่ งๆ เชน่ เรือแจว มะพรา้ ว ในตอนเชา้ ชาวบา้ นจะปนี ขน้ึ ไปเกบ็ นา้ำ หวาน เรือหางยาว เรือผีหลอก ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่ทำาด้วย บนต้นมะพร้าวซ่ึงได้รองกระบอกไม้ไผ่ไว้ แล้วนำามา ไมส้ กั ซง่ึ มลี วดลายสวยงาม รวมทง้ั ผลติ และจาำ หนา่ ย เค่ยี วในกระทะใบใหญ่จนแห้ง ช่วงเวลาเคย่ี วน้ำาตาล “ปลาหยอง”) (สินค้ามีหรือไม่ขึ้นอยกู่ บั วัตถดุ บิ ) ตง้ั แตเ่ วลา ๐๘.๓๐-๑๔.๐๐ น. อาหารทะเลแปรรูป วิสาหกิจชุมชนก้ามดาบ บริษัท ดิ ออร์คิด ฟาร์ม จำากัด ๔๐/๑ หมู่ท่ี ๗ ๒๙/๑ หมู่ที่ ๘ ตำาบลบางแก้ว โทร. ๐๘ ๐๙๓๙ ตำาบลบางชา้ ง อยรู่ ิมทางหลวงหมายเลข ๓๒๕ สาย ๑๖๐๑, ๐๙ ๒๙๗๐ ๕๗๕๒ สมุทรสงคราม-บางแพ มีสวนกล้วยไม้และสินค้าที่ ระลกึ เชน่ ผา้ ไหม เครอ่ื งเงนิ เครอื่ งประดบั ทสี่ วยงาม อำาเภออมั พวา เตาสาธิตเค่ียวน้ำาตาลมะพร้าว และผลิตภัณฑ์จาก นา้ำ ตาลมะพรา้ ว บรเิ วณสองขา้ งทางหลวงหมายเลข กะลามะพร้าว เปิดทกุ วัน เวลา ๐๗.๐๐-๑๐.๓๐ น. ๓๒๕ สายสมุทรสงคราม-บางแพ ต้ังแต่กิโลเมตร โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๔๙๔, ๐ ๓๔๗๕ ๑๗๔๘-๙, ๐๘ ท่ี ๓๐-๓๔ จะพบเห็นเตาเค่ียวน้ำาตาลมะพร้าวอยู่ ๑๘๕๗ ๒๕๖๓ สมทุ รสงคราม 23

ปิ่นสุวรรณ เบญจรงค์ (บ้านเบญจรงค์) ๓๒/๑ - กระบวนการผลิตและเขียนลายเครื่องเบญจรงค ์ หมู่ท่ี ๗ ตำาบลบางช้าง ไปตามทางหลวงหมายเลข การผลิตเครื่องเบญจรงค์จะเร่ิมเขียนวนทองเพ่ือ ๓๒๕ สายสมุทรสงคราม-บางแพ กิโลเมตรที่ ๓๖- เป็นเส้นนำาลาย ส่วนในลวดลายท่ีมีรายละเอียดสูง ๓๗ มีป้ายบอกทาง เข้าไปอีก ๓๐๐ เมตร ท่ีน่ีเป็น เช่นลายประเพณีไทย หรือลวดลายท่ีเป็นเรื่องราว แหล่งผลิตเคร่ืองถ้วยเบญจรงค์เลียนแบบศิลปะสมัย ในวรรณคดี ต้องมีการลอกลายหรือร่างเส้นบน รชั กาลท ่ี ๒ มลี วดลายละเอยี ดออ่ นชอ้ ย สสี นั สวยงาม พนื้ ผวิ ของขาว กอ่ นลงลายนาำ้ ทอง หรอื ตัดเสน้ หลกั เหมาะแกก่ ารซอ้ื เปน็ ของฝากหรอื ของแตง่ บา้ นทที่ รง แล้วจึงเริ่มเขียนลายด้วยนำ้าทอง เสร็จแล้วท้ิงไว้ให้ คณุ ค่า หรอื หากตอ้ งการชมกรรมวิธีและข้นั ตอนการ นำ้าทองแห้ง ศิลาดล การทาำ เคร่อื งปนั้ ดินเผาศิลาดล ผลิตเครื่องถ้วยเบญจรงค์สามารถเย่ียมชมได้ทุกวัน เปน็ งานทำาด้วยมอื และใชว้ ตั ถธุ รรมชาตไิ ม่มสี ารเคม ี จนั ทร-์ เสาร ์ เวลา ๐๘.๐๐–๑๗.๐๐ น. สอบถามขอ้ มลู สีเขยี วไขก่ าเกิดจากการนาำ ไม้รกฟา้ และไมก้ อ่ เผาเอา โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๓๒๒ ขเี้ ถา้ และนาำ มาผสมกบั ดนิ หนา้ นา เผาเคลอื บดว้ ยวธิ ี ลดออกซิเจน (Reduction Firing) เผาความรอ้ นสงู เบญจรงค์บ้างช้าง เลขท่ี ๕๑/๒ หมู่ที่ ๙ ตำาบล ทีอ่ ณุ หภมู ปิ ระมาณ ๑,๒๖๐-๑,๓๐๐ องศาเซลเซยี ส บางช้าง อาำ เภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม กอ่ ต้ัง ทำาให้ผิวเคลอื บเป็นสีเขยี วใสและแตกลายงา ซ่งึ เป็น เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นการรวบรวมภูมิปัญญาท้อง เอกลักษณ์เฉพาะตัวของเคร่ืองปั้นดินเผาศิลาดล ถิ่นในด้านความสามารถ (เครื่องเบญจรงค์) มีการ โดยในปัจจุบัน เน่ืองจากวัตถุดิบซ่ึงได้จากธรรมชาติ เรียนรู้ในการพัฒนากระบวนการการผลิต และ ได้แก่ ไม้รกฟ้า ไม้ก่อ และดินหน้านาที่เหมาะกับ เทคโนโลยใี นการผลติ ของกลมุ่ รวมถงึ การพฒั นาขดี การทำาเครื่องปั้นดินเผาศิลาดลน้ัน มีน้อยมากและ ความสามารถของกลุ่มบ้านเบญจรงค์บางช้าง โดย หาไดย้ าก อกี ทงั้ เป็นการทำาลายทรพั ยากรธรรมชาต ิ กระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มบ้านเบญจรงค์บาง ประกอบกับวิทยาการมีความก้าวหน้าสามารถสกัด ช้างในการบริการจัดการกลุ่มให้เกิดความเข้มแข็ง สารจากวัตถุธรรมชาติที่มีคุณสมบัติ เช่นเดียวกับ อยา่ งยงั่ ยนื และจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผทู้ ต่ี อ้ งการศกึ ษา วัตถุธรรมชาติที่ใช้ในสมัยโบราณ ได้แก่ การใช้ดิน หาความรู้ข้อมูลองค์ความรู้เกี่ยวกับเคร่ืองเบญจรงค์ หน้านาได้พัฒนามาเป็นดินเหนียวสีดำา (Ball Clay) โดยกระบวนการผลิตเครื่องเบญจรงค์มีสองข้ันตอน แทน ส่วนน้ำาเคลือบจากท่ีเคยใช้ขี้เถ้าจากไม้รกฟ้า หลักๆ คือ การผลิตเซรามิคของขาวหรือเครื่องขาว และไม้ก่อ ได้พัฒนามาใช้หินปูน หินเขียวหนุมาน และกระบวนการเขียนลายเครื่องเบญจรงค ์ แร่เฟสสปาร์ สนิมเหล็ก และดินเหนียวแทน ส่วนสี - เคร่ืองขาวหรือของขาวที่นำามาผลิตเป็นเครื่อง เขียนลายได้เฟอริคออกไซด์ (สนิมเหล็ก) ซ่ึงได้จาก เบญจรงค์ จะเป็นภาชนะรปู ทรงต่างๆ ทมี่ ีสขี าว เชน่ การสกัดจากดิน นำามาผสมดินเหนียวและยางไม้ โถประดบั จาน ชาม แก้วนำ้า หม้อข้าว ขันขา้ ว แจกัน มะตูม มะขวิด กระถิน ซึ่งการใช้วัตถุดิบธรรมชาติ ชดุ น้าำ ชา ชดุ กาแฟ เป็นตน้ ลกั ษณะการเคลอื บของ เหล่านี้ทำาให้เคร่ืองปั้นดินเผาศิลาดล มีคุณภาพ ของขาวนั้นม ี ๒ ลกั ษณะ คือ เคลอื บเงา และเคลอื บ มาตรฐานและมีเอกลักษณ์เหมือนเคร่ืองปั้นดินเผา ดา้ น ซง่ึ เมอ่ื นาำ มาผลติ เปน็ เครอ่ื งเบญจรงคแ์ ลว้ จะให้ ศิลาดลในสมัยโบราณทุกประการ สอบถามข้อมูล ความสวยงามท่ีแตกต่างกัน เคร่ืองขาวหรือของขาว โทร. ๐ ๓๔๘๕ ๑๙๕๑, ๐๘ ๙๗๔๖ ๒๔๓๓ หรอื ทเี่ ราใช ้ ทางเราไดท้ าำ การผลิตใช้เอง www.baanbenjarong.com 24 สมทุ รสงคราม

กจิ กรรมปนั่ จักรยานชมสวน ผา้ ฝา้ ยมดั ลวดลายและยอ้ มสดี ว้ ยเปลอื กไมจ้ ากพชื ปลกู ปา่ ชายเลน ตาำ บลคลองโคน อาำ เภอเมอื งสมทุ รสงคราม ป่าชายเลน กลุ่มเปลือกไม้บ้านเขายี่สาร ใกล้อบต. เหมาะสาำ หรบั ผสู้ นใจรว่ มฟน้ื ฟปู า่ ชายเลน โดยองคก์ าร ยส่ี าร หมทู่ ่ี ๑ ตาำ บลยสี่ าร อาำ เภออมั พวา ผลติ เครอื่ งใช้ บรหิ ารสว่ นตาำ บลคลองโคน จะจดั เตรยี มเรอื หางยาว ท่ตี ัดเย็บจากผา้ มดั ย้อมเปลือกไม ้ เชน่ กระเป่า สมดุ กระดานเลน กลา้ ไม ้ ต้นแสม ต้นลาำ พ ู และอุปกรณ์ บันทึก ตดิ ต่อ คุณทองปรุง ดรณุ ศร ี โทร. ๐ ๓๔๗๖ การปลูกไว้บริการ ปัจจุบันช่วยเพ่ิมพื้นท่ีป่าชายเลน ๓๐๒๗, ๐๘ ๕๑๔๑ ๑๕๙๒ ได้มากกว่า ๒,๐๐๐ ไร่ และสามารถนั่งเรือชมพ้ืนท่ี ป่าชายเลน ชมนกนานาชนิด รวมท้ังลิงแสม และ กิจกรรมท่องเทยี่ ว สัมผัสกับชีวิตชาวประมงอย่างใกล้ชิด สอบถาม ท่องเท่ียวเชงิ อนุรักษ์ ข้อมูลที่ อบต.คลองโคน โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๔๘๑๐ ล่องเรอื ชมทวิ ทัศนส์ องฝั่งแมก่ ลอง สามารถเช่าเรือ หรอื วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษค์ ลองโคลน ล่องชมทิวทัศน์ริมฝั่งแม่นำ้าแม่กลอง ตลอดสองฝั่ง โทร. ๐๓ ๔๗๓๑ ๑๘๘ (ผู้ใหญ่ชงค์) ๐๘ ๖๑๗๗ แมน่ า้ำ จะเหน็ บา้ นเรอื นและวถิ ชี วี ติ ชมุ ชน เรอื นปน้ั หยา ๗๙๔๒ (คุณเชษฐ์) และ ๐๘ ๙๗๔๖ ๘๘๐๓ (คุณ ซ่ึงหาดูยากในปัจจุบัน นอกจากน้ี มีวัดต่างๆ ที่อยู่ ศรัญญา) ซ่ึงเป็นชุมชนท่ีได้รับรางวัลอุตสาหกรรม ริมนำ้า เช่น วัดอัมพวันเจติยาราม วัดบางแคใหญ ่ ท่องเท่ียวไทยปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเภทชุมชนดีเด่น วัดบางแคน้อย วัดภุมรินทร์กุฎีทอง หรือ นั่งเรือ ทางดา้ นการท่องเท่ียว เข้าไปในลำาคลองเล็กๆ ผ่านสวนมะพร้าว สวนล้ินจี่ การเดินทาง ไปตามถนนพระราม ๒ (ทางหลวง บรรยากาศรม่ รืน่ หมายเลข ๓๕ สายธนบรุ -ี ปากทอ่ ) ประมาณกโิ ลเมตร สมทุ รสงคราม 25

ท่ี ๗๒ มีสถานีบรกิ ารนำ้ามนั ปตท.ซ้ายมอื เลี้ยวซ้าย ชาวหมู่บ้านท่าคา ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่อง ตามป้ายบอกทางเข้า พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านเขาย่ีสาร เท่ียวไทยปี พ.ศ.๒๕๕๐ ประเภทชุมชนดีเด่นทาง เขา้ ไป ๕๐๐ เมตร จากนน้ั เลย้ี วซา้ ยไปอกี ๔ กโิ ลเมตร ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ผสู้ นใจพกั อยกู่ บั ชาวบา้ น จะไดช้ ม การเก็บน้ำาตาลมะพร้าว การเคี่ยวน้ำาตาลมะพร้าว ทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร พายเรือแจวชมสวน พายเรือแจวชมห่ิงห้อยใน ศูนย์ท่องเที่ยวเกษตรเชิงอนุรักษ์บ้านบางพลับ ยามค่ำา ปัจจุบันมีหิ่งห้อยเหลืออยู่ไม่มาก แต่ยังพอ หมู่ท ี่ ๔ ตาำ บลบางพรม อาำ เภอบางคนที เปน็ ชมุ ชน มีให้เห็น หรือ เที่ยวชมตลาดน้ำาท่าคา สอบถาม ท่ีได้รับรางวัลทางการท่องเท่ียวมากมาย มีกิจกรรม ข้อมูลได้ท่ี องค์การบริหารส่วนตำาบลท่าคา โทร. เช่น ฐานเรยี นรู ้ กิจกรรมปนั่ จักรยานชมสวน ชมบ้าน ๐ ๓๔๗๕ ๓๗๒๘, ประชาสัมพันธ์ตลาดน้ำาท่าคา พญาซอ ชมการทาำ นาำ้ ตาลมะพรา้ ว การเผาถา่ นผลไม้ โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๖๑๒๓ คุณมาลี วงศ์ประสทิ ธิ์ โทร. การทาำ ผลไมก้ ลบั ชาต ิ เปน็ ตน้ สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ๐ ๓๔๗๖ ๖๐๙๔ คุณทวีป เจอื ไท โทร. ๐ ๓๔๗๖ โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๙๘๕, ๐๘๑ ๒๗๔ ๔๔๓๓ (คณุ โตง้ ) ๖๑๗๐ คณุ ทรพั ย์ ผ่องเพชร โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๖๑๙๐ ผใู้ หญฐ่ านดิ า สเี หลอื ง (ประธานวสิ าหกจิ ฯ) โทร. ๐๘ โฮมสเตย์ ๖๗๘๙ ๘๑๓๐ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบา้ นรมิ คลองโฮมสเตย ์ เลขท ่ี ๔๓/๑ หมู่ที่ ๖ ตำาบลบ้านปรก อำาเภอเมืองสมุทรสงคราม โฮมสเตย์บ้านทรงไทยปลายโพงพาง หมู่บ้าน โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๗๗๕, ๐๘ ๑๖๕๙ ๑๑๘๙, ๐๘ โคกเกต ุ ตาำ บลปลายโพงพาง อาำ เภออมั พวา กจิ กรรม ๙๑๗๐ ๒๙๐๔ จาำ นวน ๑๐ หลงั ราคา ๕๐๐-๑,๘๐๐ ทอ่ งเท่ียวในชุมชน อาท ิ ลอ่ งเรอื ชมห่งิ ห้อย ตกั บาตร บาท มีกิจกรรมฐานเรียนรู้ต่างๆ เช่น ล่องเรือชม ริมนำ้า ล่องเรือชมบรรยากาศชุมชนชาวสวนริม สองฝั่งคลองและแม่นำ้าแม่กลอง ชมการทำาน้ำาตาล แม่น้ำาแม่กลอง ชมการทำานำ้าตาลมะพร้าว ชิมส้มโอ มะพร้าว การทำาขนมไทย อาทิ ขนมต้ม ฝอยทอง รสด ี ชมความงดงามของจติ รกรรมอโุ บสถไมแ้ กะสลกั ชมศลิ ปหตั ถกรรมไมแ้ ละกะลามะพรา้ วของกลมุ่ งาน วดั บางแคน้อย ฯลฯ สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๓๔๗๑ ศลิ ป ์ ลอ่ งเรอื ชมหงิ่ หอ้ ย ใสบ่ าตรพระพายเรอื ตอนเชา้ ๗๕๑๐ ชมพิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตมะพร้าวไทย กิจกรรมปลูกป่า ชายเลน (ต้นลาำ พู) เปน็ ตน้ บา้ นเรอื ไทย อมั พวา โฮมสเตย์ ๑๘ หมทู่ ่ี ๖ ตำาบล สวนหลวง อาำ เภออัมพวา โทร. ๐๘ ๑๗๗๔ ๘๕๘๙, บ้านคลองช่อง (ภูษิต โฮมสเตย์) หมู่ที่ ๕ ตำาบล ๐๘ ๖๗๐๓ ๗๓๕๒ หรือ www.thaiboathouse. คลองโคน อาำ เภอเมอื งสมทุ รสงคราม โทร. ๐๘ ๙๗๔๕ com จำานวน ๑ หลงั (๑,๐๐๐ บาท รวมคา่ อาหาร ๖๒๓๘ (เป็นหมู่บ้านผลิตกะปิคลองโคนท่ีมีช่ือเสียง ล่องแมน่ ำ้า) พัก ๑ คืน พร้อมอาหาร ๒ มื้อ กิจกรรมปลูกป่า ชายเลน ถีบกระดานเลน ชมวิถีชีวิตชาวประมง) โฮมสเตย ์ นายก อบต. สวนหลวง คลองประชาชมชน่ื ตำาบลสวนหลวง อำาเภออัมพวา โทร. ๐๘ ๑๗๙๓ วิสาหกิจตลาดนำ้าท่าคาโฮมสเตย์ หมู่บ้านท่าคา ๕๕๖๐ จำานวน ๖ หลัง ราคา ๕๐๐ บาท (อาหาร ตำาบลท่าคา อำาเภออัมพวา ดำาเนินการโดยกลุ่ม ๒ มื้อ ไม่รวมล่องเรือ) และ ๖๐๐ บาท (อาหาร 26 สมทุ รสงคราม

๒ ม้ือ รวมล่องเรือชมหิงห้อยตอนคำ่าและล่องเรือ วนั ที่ ๒ ตลาดนำา้ ทา่ คาตอนเชา้ ) -ตักบาตรพระสงฆซ์ ง่ึ บณิ ฑบาตรทางเรือในยามเชา้ - สั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ช น ช า ว ส ว น ริ ม ฝ ั ่ ง แ ม ่ ก ล อ ง ตัวอย่างรายการนำาเท่ยี ว โดยทางเรอื ชมสวนมะพรา้ ว ชมการทาำ นา้ำ ตาลมะพรา้ ว โปรแกรม ๑ วัน ชิมสม้ โอรสด ี ชมพิพธิ ภณั ฑ์วดั ภมุ รนิ ทร์กุฏีทอง -วัดศรัทธาธรรม ชมโบสถ์ไม้สักทองผนังฝังมุก -เดินทางกลับ -ดอนหอยหลอด ตะลยุ โคลนจบั หอยหลอด หรอื ลมิ้ ลองอาหารทะเลสดๆ สิ่งอาำ นวยความสะดวก -ถีบกระดานแข่งกันบนเลนท่ีคลองโคนล่องเรือชม สถานท่พี กั ป่าโกงกาง ปลูกป่าชายเลนแกช่ มุ ชน (ราคาห้องพักในเอกสารนี้เปล่ียนแปลงได้โปรดสอบ -นมสั การหลวงพอ่ บา้ นแหลมทว่ี ดั เพชรสมทุ รวรวหิ าร จากโรงแรมกอ่ นเข้าพัก) -แวะตลาดรม่ หบุ ซ้ืออาหารทะเลคณุ ภาพดรี าคาถูก จากแม่ค้าที่ตั้งขายอยู่บนรางรถไฟสถานีแม่กลอง อำาเภอเมืองสมทุ รสงคราม ทุกครัง้ เมอื่ รถไฟแลน่ ผา่ น แม่ค้าตอ้ งเตรยี มตัวหบุ ร่ม คุ้มแสงทอง ๓๗/๓ หมู่ท่ี ๖ ซอยวัดลังกา ถนน ไปพร้อมๆกัน สมุทรสงคราม-บางแพ ตำาบลคลองเขิน โทร. ๐๘ -เพลิดเพลินกับตลาดน้ำายามเย็นอัมพวา ล่องเรือ ๑๙๑๗ ๔๓๖๒ จำานวน ๔ หอ้ ง ราคา ๕๐๐บาท ชมหง่ิ ห้อย เดอะ เลซ่ี รเิ วอร์ เฮาส์ ๔/๕ หม่ทู ี่ ๙ ตาำ บลบ้าน -เดินทางกลบั ปรก โทร. ๐๘ ๖๘๘๖ ๘๒๘๓, ๐๘ ๖๓๑๐ ๑๓๗๑ โปรแกรม ๒ วัน ๑ คนื โทรสาร ๐ ๒๕๔๒ ๔๕๗๐ , ๐๘ ๑๘๓๗ ๕๒๕๓ www. วนั ท่ ี ๑ lazyriverhouse.com จำานวน ๓ หลัง (พักได ้ ๒-๑๒ -ชมค่ายบางกงุ้ โบสถ์หลวงพ่อดำาหรือโบสถ์ปรกโพธ์ ิ คน) ราคา ๔,๕๐๐-๑๑,๑๐๐ บาท ที่มีต้นโพธ์ิ ต้นไทร ต้นไกร ต้นกร่าง ปกคลุม ไทยสวัสดิ์ ๕๒๔-๕๒๖ ถนนเพชรสมุทร ตำาบลแม่ อยอู่ ยา่ งนา่ อศั จรรย ์ หนง่ึ ในอนั ซนี ไทยแลนด์ กลอง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๒๐๕ จำานวน ๑๒ ห้อง ราคา -โบสถค์ รสิ ตบ์ างนกแขวกหรอื อาสนวหิ ารแมพ่ ระบงั เกดิ ๑๘๐ บาท (หอ้ งนำ้ารวม) ศลิ ปะโกธิคประดับด้วยกระจกสสี นั สวยงาม นารา คอร์ท ๘๑ หมู่ที่ ๖ ถนนพระราม ๒ กโิ ลเมตร -พิพิธภัณฑ์บ้านไหพันใบ ชมของสะสมเก่าต้ังแต่ ที่ ๕๖ ตำาบลบางแก้ว โทร. ๐ ๓๔๗๗ ๓๕๙๑-๓ ยคุ สโุ ขทยั ท่ีงมได้จากแมน่ ้าำ แม่กลอง จำานวน ๔๘ ห้อง ราคา ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาท www. -ชมสถาปัตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น naracourt.com ภายในวดั อัมพวันเจตยิ ามราม เดอะเลจเจนด์ แม่กลอง ๑๒๘๕ ถนนปทุมมาลัย -อุทยาน ร.๒ ชมโบราณวัตถุจัดแสดงในอาคารทรง ตาำ บลแมก่ ลอง โทร. ๐๖ ๓๕๓๙ ๑๙๖๑, ๐๘ ๑๗๘๐ ไทย ๔ หลัง ๗๘๒๒ จาำ นวน ๑๔ หอ้ ง ราคา ๒,๐๐๐-๒,๕๐๐ บาท -ตลาดน้ำายามเย็นอัมพวา พร้อมล่องเรือชมห่ิงห้อย บา้ นคลองโคนรสี อรท์ ๕๙/๗ หมทู่ ี่ ๓ ตาำ บลคลองโคน ยามค่าำ โทร. ๐๘ ๑๘๐๙ ๙๖๔๙ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๓๒๙๘ -พักโฮมสเตย์ จาำ นวน ๑๗ หลงั ราคา ๑,๒๐๐/๑,๕๐๐/๓,๐๐๐ บาท สมทุ รสงคราม 27

บ้านชมเดือน ๓๙/๔ หมทู่ ่ี ๙ ถนนสมทุ รสงคราม- ๗๙๑๖ ๑๓๒๕ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ ๑๐๓๘ จำานวน บางแพ กโิ ลเมตรที่ ๓๘ (ทางหลวงหมายเลข ๓๒๕) ๑๐ หลัง ราคา ๑,๒๐๐-๑,๕๐๐ บาท ตาำ บลบา้ นปรก โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๒๐๐-๑, ๐๘ ๑๔๖๖ บ้านแสงจนั ทร์ ๘๒/๓ หมู่ท ่ี ๓ ตำาบลบา้ นปรก โทร. ๕๘๐๙ จำานวน ๒๒ ห้อง ราคา ๘๐๐–๑,๐๐๐ บาท ๐๘ ๑๘๕๗ ๔๕๙๓ จาำ นวน ๖ หลงั ราคา ๖๐๐ บาท บา้ นทะเลสีครีม รสี อร์ท ๓/๒๐ หมู่ท ่ี ๔ ตำาบลบาง บ้านห่ิงห้อย ๕๗/๒ ถนนพระราม ๒ กิโลเมตรที่ ๖๙ จะเกร็ง โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๒๘๖๗, ๐๘ ๓๖๙๔ ๔๕๗๑ ตาำ บลบางขนั แตก โทร. ๐๘ ๙๕๓๒ ๕๐๒๔, จำานวน จำานวน ๖๐ ห้อง ราคา ๑,๕๐๐-๗,๕๐๐ บาท ๖ ห้อง ราคา ๘๐๐ บาท บ้านท้ายหาด รีสอร์ท แอนด์ วอร์เตอร์ สปอร์ต แมก่ ลองริเวอรร์ สี อรท์ ๖/๗ หมทู่ ี่ ๒ ตาำ บลทา้ ยหาด ๑ หม่ทู ่ี ๒ ตาำ บลทา้ ยหาด โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๗๒๒๐-๔, โทร. ๐๘ ๙๗๗๕ ๕๒๕๘ จาำ นวน ๗ หลงั ราคา ๕๘๐, ๐ ๓๔๗๖ ๗๒๒๓ โทรสาร ๐ ๓๔๗๖ ๗๒๒๑ www. ๘๐๐-๒,๘๐๐ บาท baantaihad.com จาำ นวน ๕๒ หอ้ ง ราคา ๑,๔๐๐- แมก่ ลองโฮเต็ล ๕๒๖/๑๐-๑๓ ถนนศรจี ำาปา ตำาบล ๓,๐๐๐ บาท แม่กลอง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๑๕๐ จาำ นวน ๒๐ หอ้ ง บ้านพกั ชาวเล (อเมซอนเมอื งไทย) ๕๐/๖ หมทู่ ่ี ๖ ราคา ๘๐๐ บาท ตำาบลบ้านปรก โทร ๐ ๓๔๗๕ ๒๖๘๑, ๐๘ ๑๗๙๒ โรงแรมกอล์ฟอิน รีสอร์ท ๕๐/๓ ถนนพระราม ๒ ๙๓๔๖ จำานวน ๕ หลงั ราคา ๖๐๐ บาท ตำาบลแม่กลอง โทร. ๐๘ ๐๙๐๕ ๙๕๐๘ จำานวน บ้านแม่นาำ้ (ใกลว้ ัดแมน่ ำ้า) ๕๗/๒ หมทู่ ี่ ๖ ตาำ บล ๙ ห้อง ราคา ๑,๒๐๐-๑,๕๐๐ บาท (มีสระวา่ ยนาำ้ ) บางขันแตก โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๗๕๖๖-๗, ๐๘ ๑ ๖๔๖ โรงแรมวิสดอม ๕๕/๕ ถนนพระราม ๒ (ก.ม.๖๔) ๘๙๐๗ จาำ นวน ๑๔ หลงั ราคา ๑,๕๐๐-๒,๕๐๐ บาท ตาำ บลแมก่ ลอง อาำ เภอเมอื ง โทร. ๐ ๓๔๑๒ ๙๗๒๑-๒, www.banmaenam.com ๐๘ ๖๔๗๑ ๕๕๓๕-๖ ราคา ๑,๓๐๐-๒,๒๐๐ บาท บ้านไม้ชายเลน ๑๗๗/๑ หมู่ท่ี ๕ ตำาบลคลองโคน เรอื นแมล่ าำ พ ู ๑๕ หมู่ที ่ ๓ ตาำ บลท้ายหาด โทร. ๐ โทร. ๐ ๓๔๗๓ ๑๐๔๒, ๐ ๓๔๗๖ ๔๗๘๙, ๓๔๗๖ ๗๐๑๐, ๐๘ ๑๖๕๗ ๗๔๒๗ โทรสาร ๐ ๓๔๗๖ ๔๗๘๘ โทรสาร ๐ ๓๔๗๓ ๑๓๑๙ www. ๐ ๓๔๗๖ ๗๐๑๐ จำานวน ๑๐ หลงั ราคา ๑,๐๐๐- baanmaichailane.com จำานวน ๒๙ หลัง ราคา ๑,๓๐๐ บาท ๑,๒๐๐-๑๐,๐๐๐ บาท โรงแรมอลงกรณ์ โฮมทาวน ์ ๕๔๑/๑๕ ถนนเกษม บ้านวิวแม่น้ำา ๕๑/๑ หมู่ท่ี ๖ ซอยวัดช่องลม สขุ ุม ตาำ บลแมก่ ลอง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๐๘๗๒, ตำาบลบ้านปรก โทร. ๐๘ ๑๘๘๐ ๐๐๘๓ www. ๐ ๓๔๗๑ ๑๐๑๗ จำานวน ๓๐ ห้อง ราคา ๓๐๐- baanviewmaenum.com จำานวน ๖ ห้อง ราคา ๙๐๐ บาท ๑,๕๐๐–๓,๐๐๐ บาท รวมอาหารเช้า โรงแรมรอยลั แลนด ์ แมก่ ลอง ๕๔๐ ถนนเกษมสุขมุ บ้านสบายดี อมั พวา ๑๗/๑ หม่ทู ่ี ๒ ถนนพวงมาลัย ตาำ บลแมก่ ลอง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๗๐๙ จาำ นวน ๒๕ ทา้ ยหาด ตาำ บลทา้ ยหาด โทร. ๐๘ ๙๔๑๕ ๐๕๙๔ ห้อง ราคา ๕๐๐ บาท www.sabaideeresort.com จาำ นวน ๑๐ หอ้ ง ราคา โฮมกระเตงชาวเล ๑๒๔/๒ หมู่ท่ี ๗ ตำาบลคลองโคน ๑,๕๐๐-๓,๕๐๐ บาท โทร.๐๘ ๑๙๔๑ ๙๑๕๒ จาำ นวน ๔ หลงั ราคา ๑,๓๐๐ บา้ นสวนพทุ ธรกั ษา ๔๙/๕ หมทู่ ่ี ๓ ซอยวดั นางพมิ พ์ บาท/ท่าน (รวมอาหาร ๓ มื้อ ค่าเรือพาเท่ียว ชม ตำาบลบางขันแตก โทร. ๐๘ ๕๑๙๐ ๙๕๔๔, ๐๘ 28 สมุทรสงคราม

แปลงปลกู ปา่ ถบี กระดานเลนเกบ็ หอยแครง) www. ๑๒๗๔ ๔๔๓๓ จาำ นวน ๑๖ ห้อง ราคา ๓๕๐-๘๐๐ homekrateng888.com บาท (รวมอาหารเชา้ ) เรือนกระดังงา ๔๔ หมทู่ ี่ ๑๒ ตาำ บลกระดงั งา โทร. อาำ เภอบางคนที ๐๘ ๑๘๕๗ ๒๙๒๑ จำานวน ๑๐ ห้อง ราคา ๘๐๐- บางนอ้ ยคอยรกั (อยใู่ นตลาดนา้ำ บางนอ้ ย) ๘๓ หมทู่ ี่ ๑,๐๐๐ บาท ๘ ตาำ บลกระดงั งา โทร. ๐๘ ๖๗๘๙ ๗๘๓๓ จาำ นวน ๒ เรอื นบษุ บา โฮมสเตย ์ ๘ หมทู่ ่ ี ๔ ตาำ บลบางกุ้ง โทร. หอ้ ง ราคา ๕๐๐ บาท/คน (รวมอาหารเช้า) ๐๘ ๕๙๑๐ ๐๙๐๙ จำานวน ๔ ห้อง ราคา ๖๐๐- บ้านทิพยส์ วนทอง ๕๔ หมู่ที ่ ๒ ตาำ บลบางพรม โทร ๑,๐๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ๐๙ ๖๓๔๖ ๙๔๙๖, ๐๙ ๙๓๖๒ ๓๒๔๕ โทรสาร ๐ เรอื นปณาล ี ๔๑/๑ หมทู่ ่ี ๔ ตำาบลบางกงุ้ โทร. ๐ ๓๔๗๓ ๐๐๙๕ www.baantip.com จาำ นวน ๕๖ ๓๔๗๐ ๒๗๗๕, ๐๘ ๙๖๘๘ ๑๘๖๕, ๐๘ ๐๐๕๒ ห้อง ราคา ๑,๐๐๐-๒,๕๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) ๐๗๗๐ โทรสาร ๐ ๓๔๗๐ ๒๘๖๕ www.ruanpana- บ้านนวลจันทร์ รีสอร์ท ๙/๒ (ซอยวัดแก่นจันทร์) lee.com จำานวน ๑๕ หอ้ ง ราคา ๑,๐๐๐-๑,๘๐๐ หมู่ท่ี ๔ ตาำ บลบางพรม โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๕๙๗, ๐๘ บาท ๙๒๕๙ ๙๔๑๗ โทรสาร ๐ ๓๔๗๖ ๑๕๙๗ จาำ นวน อัมพร ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท ๑๔/๒ หมู่ท่ี ๖ ตำาบล ๙ หอ้ ง ราคา ๘๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) บางคนท ี โทร. ๐๘ ๙๑๐๓ ๑๐๓๓ จาำ นวน ๑๑ ห้อง บา้ นปตู ากลม ๕๗ หมทู่ ี่ ๒ ตำาบลบางพรม โทร. ๐๘ ราคา ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ๑๘๕๔ ๓๒๘๘, ๐๘ ๙๕๑๒ ๒๘๓๗ www.putak- lom.com จาำ นวน ๔ ห้อง ราคา ๘๐๐-๑,๒๐๐ บาท อำาเภออัมพวา (รวมอาหารเชา้ ) ค้งุ รบั ลม โฮมสเตย์ ๗ หม่ทู ่ี ๑๐ ตำาบลสวนหลวง บ้านลาโภทยั รีสอรท์ แอนด ์ โฮมสเตย์ ๕๔ หมู่ท่ ี ๔ โทร. ๐๘ ๑๙๔๓ ๕๗๕๑, ๐๘ ๖๕๒๗ ๙๐๔๘ จาำ นวน ตาำ บลบางพรม โทร. ๐๘ ๙๘๐๕ ๔๕๐๐ จำานวน ๔ ๓ หอ้ ง ราคา ๘๐๐ บาท หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๘๐๐ บาท ฐณิชาฌ์ เฮลท์ตี้ รีสอร์ท ๒๖๑ ถนนประชาอุทิศ บา้ นสวนคณุ ยาย ๘ หมทู่ ี่ ๓ ตาำ บลยายแพง โทร. ๐๘ ตาำ บลอัมพวา โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๙๔๒, ๐๖ ๒๓๒๔ ๙๐๒๗ ๘๖๕๙ จาำ นวน ๓ หอ้ ง ราคา ๒๐๐ บาท/คน ๒๙๑๔, ๐๘ ๙๑๐๔ ๕๔๔๔๔ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ บ้านสวนทรายทอง ๑/๒ หมู่ที่ ๑ ตำาบลกระดังงา ๑๒๕๘ www.thanicha.com Line ID: thanich- โทร. ๐๘ ๙๕๐๗ ๒๐๗๓ จำานวน ๓๘ ห้อง ราคา aresort จำานวน ๒๕ ห้อง ราคา ๑,๓๙๐–๑,๗๙๐ ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) www.ban- บาท (รวมอาหารเช้า) suansaithong.com ณ ปลายโพงพาง ๒๐ หมูท่ ี่ ๖ ตำาบลปลายโพงพาง บ้านสวนมโนเวชพันธ์ ๓ หมู่ท่ี ๓ ตำาบลยายแพง ถนนปากท่อสายเกา่ โทร. ๐๘ ๐๔๒๖ ๒๑๕๔, ๐๘ โทร. ๐๘ ๑๘๐๕ ๙๗๔๘ จาำ นวน ๔ หอ้ ง ราคา ๓๐๐ ๑๗๕๓ ๓๓๒๙ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ ๒๕๒๓ จาำ นวน บาท/คน ๑๒ หลงั ราคา ๑,๒๐๐-๕,๐๐๐ บาท บ้านสวนแสงตะวัน โฮมสเตย์ (ใกล้วัดบางพลับ) ดาวทอง โฮมสเตย์ ๒๐/๑ หมู่ที่ ๓ ตำาบลปลาย หมู่ท ่ี ๔ ตำาบลบางพรม โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๙๘๕, ๐๘ โพงพาง โทร. ๐๘ ๑๗๕๘ ๕๒๗๔ จำานวน ๕ หอ้ ง ราคา ๑,๐๐๐ บาท สมทุ รสงคราม 29

บ้านกอไผ่ ๑๙ หมู่ ๒ ตำาบลสวนหลวง โทร. ๐๘ บ้านฝนโฮมสเตย์ ๒๗ ซอยมงั กร (ขา้ งโรงเจอมั พวา) ๑๓๔๑ ๑๕๖๐, ๐๘ ๑๖๔๔ ๐๐๕๗ จำานวน ๑๑ หอ้ ง ถนนประชาอุทิศ ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๖๘๘๙ ราคา ๑,๕๐๐-๕,๐๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) www. ๗๒๙๔ จำานวน ๒ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๓๕๐ บาท (รวม baankorpai.com อาหารเชา้ ) บา้ นกงุ้ แมน่ า้ำ โฮมสเตย ์ ๔๒ ถนนบางกะพอ้ ม ตาำ บล บ้านไมช้ ายคลอง ๒๐/๑ หมูท่ ่ ี ๕ ตำาบลสวนหลวง อมั พวา โทร. ๐ ๓๔๗๒ ๕๐๘๘, ๐๘ ๑๗๔๕ ๓๓๑๘ โทร. ๐๘ ๑๘๕๖ ๓๙๙๐ จำานวน ๑๗ หลัง ราคา www.bankungmaenum.com จาำ นวน ๑๒ หอ้ ง ๑,๒๐๐-๕,๐๐๐ บาท www.banmaichayklong. ราคา ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ บาท com บา้ นคลองอมั พวา โฮมสเตย์ ๓๔๕-๓๔๙ ถนนคลอง บา้ นรักอมั พวา (Home of Love) ๓๕๕ ซอยโรงเจ อมั พวา ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๖๕๗๐ ๙๐๗๒, ๐๘ อัมพวา ถนนคลองอมั พวา (ตรงขา้ มวดั อมั ๗๓๒๔ ๘๐๒๔, ๐ ๓๔๗๕ ๑๕๕๑ จำานวน ๖ หอ้ ง พวันเจติยาราม) ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๔๐๙๘ ราคา ๘๐๐-๒,๓๐๐ บาท ๓๐๘๓ จาำ นวน ๙ ห้อง ราคา ๑,๐๐๐-๒,๔๐๐ บาท บา้ นฐโิ นทยั โฮมสเตย์ ๓๔๗ (รมิ คลองใกลต้ ลาดน้ำา บ้านเรอื นเพ็ญ ๑๓ หมู่ท ี่ ๕ ตำาบลสวนหลวง โทร. อมั พวา) ตาำ บลอัมพวา โทร. ๐๘ ๑๙๔๙ ๑๓๗๗, ๐๘ ๐๘ ๖๓๐๕ ๖๖๘๕, ๐๘ ๑๔๘๗ ๙๙๖๔, ๐๘ ๑๘๐๑ ๙๖๘๖ ๕๘๔๔ จำานวน ๖ หลงั ราคา ๒๕๐-๒,๕๐๐ ๗๗๖๙ www.thairivertour.com จำานวน ๘ ห้อง บาท www.tinothai.com ราคา ๑,๐๐๐-๔,๐๐๐ บาท บ้านดาหลา ๑ หมู่ ๑๑ ตำาบลสวนหลวง โทร. ๐ บา้ นเรอื รมิ คลอง By ชมนาด รสี อรท์ & รา้ นอาหาร ๓๔๗๕ ๑๐๒๓, ๐๘ ๕๑๐๑ ๑๘๓๔, ๐๘ ๑๗๙๓ ๑๑/๒ ถนนแม่กลอง-ปากท่อ (สายเก่า) กิโลเมตร ๕๕๖๐ จาำ นวน ๑๑ หลงั ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท/ ท่ ี ๘ ตาำ บลปลายโพงพาง โทร. ๐๘ ๔๖๓๓ ๙๐๕๘, คน (รวมอาหารเช้า) ๐๘ ๒๓๙๓๑๒๙๔ บา้ นตวงเงนิ ชุมชนบางกะพอ้ ม ๒ (ตรงขา้ มวัดแก้ว บ้านสวนตาล โฮมสเตย ์ แอนด ์ รสี อร์ท ๙/๒ หมทู่ ่ี ฟา้ ) ๑๙๔/๒ ตาำ บลอัมพวา โทร. ๐๘ ๗๑๕๑ ๔๐๐๘, ๒ ตาำ บลท่าคา โทร. ๐๘ ๙๘๘๕ ๙๔๖๖ จาำ นวน ๑๐ ๐๘ ๐๔๒๘ ๓๖๔๒, ๐๘ ๔๐๑๗ ๙๖๙๔ จาำ นวน ๔ หลงั ราคา ๖๐๐-๘๐๐ หลงั ราคา ๘๐๐-๑,๕๐๐ บาท บ้านสวนบางช้าง ๑๒ หมู่ท ี่ ๓ ตำาบลสวนหลวง โทร. บา้ นทอแสง อมั พวา ๒๓ หม ู่ ๘ ตาำ บลสวนหลวง โทร. ๐๘ ๙๐๑๒ ๑๔๐๙ จาำ นวน ๑ หลงั ราคา ๒,๐๐๐ บาท ๐๘ ๖๖๑๐ ๒๓๓๖, ๐๘ ๑๘๗๕ ๕๘๕๐ จำานวน ๒๐ บ้านสวนประเสริฐพร ๖๑/๓-๔ (ฝั่งคลองตรงข้าม ห้อง ราคา ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ บาท วัดบางแคกลาง) ตาำ บลบางนางล่ ี โทร. ๐๘ ๙๔๙๔ บ้านน้ำาเคียงเรือน ๑๕๓-๑๕๕-๑๕๗ (ติดริมคลอง ๘๘๙๘ www.pasertporn.com จำานวน ๔ ห้อง อมั พวาและตลาดนา้ำ อมั พวา) โทร. ๐๘ ๖๖๒๖ ๕๕๖๙ ราคา ๑,๓๐๐-๔,๐๐๐ บาท จำานวน ๓ หอ้ ง ราคา ๖๐๐-๙๐๐ บาท บ้านสวนริมนำ้าเพ็ญสุรัศม์ิ ๔๐/๓ หมู่ท่ี ๙ (ใต้วัด บา้ นบรรณารกั ษโ์ ฮมสเตย ์ ๓๘ หมทู่ ่ี ๒ ตาำ บลบางแค ราษฎร์บรูณะ) ตำาบลเหมืองใหม่ โทร. ๐๘ ๑๘๑๐ โทร. ๐๘ ๑๗๐๕ ๐๖๖๑, ๐๘ ๙๗๘๖ ๒๙๔๒ จาำ นวน ๒๕๓๖ จำานวน ๔ หลัง ราคา ๘๐๐–๒,๕๐๐ บาท ๔ ห้อง (พกั ได ้ ๑๖ คน) ราคา ๖๐๐-๑,๒๐๐ บาท (๘๐๐–๙๐๐ บาท ตอ่ คนรวมอาหารเชา้ บคุ คลทสี่ าม ท่านละ ๒๕๐ บาท) 30 สมทุ รสงคราม

บ้านสวนสวัสดีโฮมสเตย์ ๒๒๔ ถนนบางแพ- ๗๔๑๘, ๐๘ ๖๓๙๙ ๗๘๒๘ จำานวน ๕ ห้อง ราคา สมทุ รสงคราม ตาำ บลอมั พวา โทร. ๐๘ ๖๙๙๙ ๓๒๕๖ ๔๕๐-๑,๐๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ราคา ๒๕๐ บาท/คน (หลงั ใหญ่ ๑ หลัง) บ้านสวนอมั พวา ๑๕ หมู่ ๑๒ ตาำ บลสวนหลวง โทร. ร้านอาหาร ๐๘ ๕๒๔๔ ๑๗๑๗, ๐๘ ๖๓๔๑ ๗๕๓๗ จาำ นวน ๔ อำาเภอเมอื งสมุทรสงคราม ห้อง ราคา ๘๐๐-๑,๐๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ก๋วยเต๋ยี วปลาคลองโคน มีหลายรา้ นตลอดสองข้าง บ้านอัมพวารีสอร์ท แอนด์ สปา ๒๒ ถนนบางกะ ทางถนนสายธนบรุ ี-ปากท่อ กโิ ลเมตรท่ี ๒ โทร. ๐๘ พอ้ ม-แก้วฟา้ โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๒๒๒, ๐๘ ๑๗๐๕ ๑๗๓๖ ๘๖๖๙ (เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐- ๑๓๑๗ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ ๒๒๒๙ www.baan- ๒๐.๐๐ น.) amphawa.com จำานวน ๖๑ หอ้ ง ราคา ๒,๖๐๐, คนุ้ ลิ้น ๑๐/๒๙ หมู่ ๔ ถนนราชวถิ ี ตำาบลบางจะเกรง็ ๒,๙๐๐, ๘,๘๐๐ บาท โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๒๙๔๘, ๐๘ ๙๘๓๗ ๔๘๒๔ (เปดิ เวลา เพลิณอัมพวา รีสอร์ท ๒๗๙ ถนนคลองอัมพวา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๑๔๕๘ ๙๔๑๑ www. คุ้นลิ้นปากอ่าว ๒๑๓ หมทู่ ี ่ ๑ ถนนวชิ าญวถิ ี ตำาบล ploenamphawa.com จำานวน ๔ ห้อง ราคา บางจะเกรง็ โทร. ๐๘ ๑๘๐๔ ๓๑๘๘ ๑,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๑๙.๓๐ น. อาหารทะเล) รเิ วอร์ โคโค ๓๓/๑ ถนนบางนกแขวก ตำาบลอัมพวา แคร่ไม้ ๑๐/๑๑ หมู่ท่ี ๔ ตำาบลบางจะเกร็ง (ติด หา่ งจากตลาดนา้ำ อมั พวา ๓ กโิ ลเมตร โทร. ๐๘ ๖๖๔๔ โรงเรียนบ้านฉ่ฉู ี่ ดอนหอยหลอด) โทร. ๐๘ ๙๘๓๖ ๔๖๔๘, ๐๘ ๘๐๐๐ ๙๑๖๙, ๐๘ ๑๘๖๘ ๙๘๕๓ ๒๐๖๙ (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) www.rivercoco.com ราคา ๑,๓๐๐-๒,๐๐๐ บาท นวิ จนิ ดา ๑๙๓ ซอยแหลมใหญ ่ (เชงิ สะพานพระพทุ ธ บ้านสวน สบายเพลนิ พรรณไม้ รสี อรท์ (ตรงขา้ ม เลศิ หล้านภาลัยฝ่งั ตะวนั ตก) โทร. ๐ ๓๔๗๗ ๐๐๔๐, องค์การบรหิ ารสว่ นตาำ บลบางแค) ๕๙ หมทู่ ี่ ๕ ถนน ๐ ๓๔๗๑ ๕๙๒๕-๖ (เปดิ เวลา ๐๙.๐๐-๒๐.๐๐ น. ผลไม ้ (ถนนสายวดั ประด-ู่ ราชบรุ ี) ตาำ บลบางแค โทร. อาหารทะเล) ๐๘ ๕๔๕๔ ๖๔๕๑, ๐๘ ๒๙๙๕ ๙๕๕๔ www. ชาวเล (ใกล้กับหมู่บ้านหิงห้อย ริมคลองผีหลอก) baansuansabairesort.com จาำ นวน ๑๒ หอ้ ง ราคา ๕๐/๖ หมู่ที่ ๖ ถนนสมุทรสงคราม-บางแพ ตำาบล ๑,๐๐๐-๔,๐๐๐ บาท บ้านปรก โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๖๘๑, ๐๘ ๑๗๙๒ ๙๓๔๖ เรือนไมช้ ายคลอง ๓๖ หม่ ู ๕ ตำาบลสวนหลวง โทร. (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น. อาหารทะเล) ๐๘ ๕๔๒๕ ๘๖๔๘ จำานวน ๑๗ หอ้ ง ราคา ๗๐๐- นายแกละ ๑๔๙ หม่ ู ๔ ตาำ บลบางขนั แตก โทร. ๐ ๓,๕๐๐ บาท (รวมอาหารเช้า) ๓๔๗๖ ๕๘๘๘, ๐ ๓๔๗๑ ๔๑๖๐ (เปดิ เวลา ๑๑.๐๐- เรือนรอยน้ำาบ้านกามเทพ ๒๒ หมู่ที่ ๑๐ ตำาบล ๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) สวนหลวง โทร. ๐๘ ๕๐๖๔ ๑๖๓๕, ๐๘ ๔๖๖๙ นิวเปงล้ง ๑๒๕/๑๕ ถนนทางเข้าเมือง ตำาบลแม่ ๔๗๓๓ www.bankammathep.com จำานวน ๓ กลอง โทร. ๐๘ ๑๓๐๘ ๗๑๘๘ (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐- หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท/คน (รวมอาหารเช้า) ๑๘.๐๐ น. อาหารจนี , ก๋วยเตย๋ี วเปด็ ต๋นุ ) เรือนสบาย ๒๔๙ ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๖๓๔๔ เรือนวารี ๑๕๓/๒ ถนนแหลมใหญ่ ตำาบลแม่กลอง สมทุ รสงคราม 31

โทร. ๐ ๓๔๗๗ ๐๐๖๑, ๐๘ ๗๔๑๑ ๓๘๐๘ (เปดิ ๑๑.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) เวลา ๑๐.๐๐-๒๓.๐๐ น. อาหารทะเล) ลุงขันธ์ ๓/๑ หมู่ที่ ๔ ตำาบลบางจะเกร็ง โทร. ๐ ไสว ๕๐/๒๒ ซอยบางจะเกร็ง ๔ ถนนพระราม ๒ ๓๔๗๖ ๒๙๑๘-๙ (เปิดเวลา ๑๑.๐๐–๒๑.๓๐ น. ตำาบลแม่กลอง โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๒๕๙๐, ๐๘ ๑๙๔๒ อาหารทะเล) ๔๒๓๗ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น .อาหารทะเล) สมนึก ๓๖/๑ หมู่ท่ ี ๕ ตำาบลบางแก้ว โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๙๘๔๓ (เปดิ เวลา ๐๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาหารทะเล ร้านอาหารบรเิ วณดอนหอยหลอด อาหารแนะนาำ ปูมา้ ทะเล) ครัวโสภา (ตุ๊กเจ้าเก่า) ๑/๔ หมู่ที่ ๔ ตำาบลบาง บริเวณดอนหอยหลอดมีร้านอาหารอีกหลายร้าน จะเกร็ง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๘๙๑๓ (เปิดเวลา ๐๘.๐๐- เรียงรายริมชายทะเลดอนหอยหลอด บรรยากาศ ๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) เหมาะแกก่ ารไปนงั่ รบั ประทานอาหารทะเล รบั ลมเยน็ ๆ คุณเป๋า ๑/๓ หมู่ที่ ๔ ตำาบลบางจะเกร็ง โทร. ๐ ชมทวิ ทัศน์ดอนหอยหลอด ๓๔๗๒ ๓๗๐๓, ๐๘ ๑๙๔๑ ๐๓๗๖ (เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) อาำ เภอบางคนที เคียงทะเล ๓/๑๗ หมทู่ ี่ ๔ ตำาบลบางจะเกร็ง โทร. ก๋วยเตีย๋ วปลาอัมพวา (ตดิ กบั เตาตาลทวี) ๘/๑ หม ู่ ๐ ๓๔๗๒ ๓๖๘๑-๒ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๑๙.๐๐ น. ๗ ตำาบลบางพรม โทร. ๐๘ ๕๙๐๙ ๙๖๓๕ (เปิดเวลา อาหารทะเล) ๐๘.๐๐–๑๕.๐๐ น. หยุดวันอังคาร) นกเอ้ยี ง ๑ ๑๑๘ หมทู่ ี่ ๔ ตำาบลบางจะเกร็ง โทร. บ้านสวนริมนำ้า ๒๑ หมู่ ๕ ตำาบลบางย่ีรงค์ โทร. ๐๘ ๖๑๖๘ ๔๙๖๐ (เปดิ เวลา ๐๗.๐๐-๒๑.๐๐ น. ๐๘ ๑๒๙๘ ๕๐๙๘ (เปดิ เวลา ๑๑.๐๐-๒๑.๐๐ น. อาหารทะเล) www.hamanan.com/tour/sam- อาหารไทย อาหารแนะนำา แกงค่ัวหอยขม ขาหมู utsongkham/nokeng2.html ทอดกระเทยี ม) นกเอ้ียง ๒ ตำาบลบางจะเกร็ง โทร. ๐๘ ๓๖๑๗ ไพลิน ริมแม่นำ้า (อยู่ในบ้านทิพย์สวนทองรีสอร์ท) ๐๐๖๕ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล) ๕๔ หม่ทู ี่ ๒ ตาำ บลบางพรม โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๗๕๓, www.hamanan.com/tour/samutsongkham/ ๐ ๓๔๗๖ ๑๗๕๖ (เปิดทุกวัน ๐๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. nokeng2.html อาหารทะเล อาหารไทยพน้ื บา้ น) นอ้ งกุ้ง ๑/๔ หมู่ ๔ (ใกลศ้ าลกรมหลวงชุมพร) ถนน วิธานวิถี ตำาบลบางจะเกรง็ โทร. ๐๘ ๖๐๒๙ ๙๖๑๓ อำาเภออมั พวา ๐๘ ๓๑๖๐ ๒๑๘๖ (เปดิ เวลา ๐๖.๐๐-๑๙.๐๐ น. ง้อโภชนา ๔๔-๔๖ ถนนศรอี ัมพวา โทร. ๐ ๓๔๗๕ อาหารทะเล) ๑๑๖๙ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น. อาหารทะเล น้าำ ทพิ ย์ ๒ ดอนหอยหลอด ๑/๙ หมู่ท ่ี ๔ ตำาบลบาง อาหารแนะนำา ปลาทอด เต้าหูท้ รงเครอ่ื ง) จะเกรง็ โทร. ๐๘ ๙๙๙๑ ๗๒๗๒ (เปดิ เวลา ๐๙.๐๐- ชา้ งเผอื ก (เลยอทุ ยาน ร.๒ ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร) ๑๙.๓๐ น. อาหารทะเล) ๒ หมู่ท ่ี ๕ ถนนอัมพวา-บางนกแขวก ตาำ บลบางชา้ ง เพื่อน ๑๑๕/๑๕ หมู่ที่ ๔ ตำาบลบางขันแตก โทร. โทร. ๐ ๓๔๗๒ ๕๔๑๔ (เปดิ เวลา ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น. ๐๘ ๙๙๑๔ ๑๑๙๙, ๐ ๓๔๗๑ ๔๘๑๖ (เปิดเวลา ปดิ วนั จันทร์ อาหารทะเล ไก่ต้มนำ้าปลา) 32 สมุทรสงคราม

นอ้ งอมุ้ รมิ แมน่ า้ำ แมก่ ลอง ๑๒ ถนนสคุ นธมาน ตาำ บล เรอื นสบายอัมพวา (รมิ คลองในตลาดอัมพวา) ๒๔๙ อัมพวา โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๙๗๗, (เปดิ เวลา ๐๙.๐๐- ตำาบลอัมพวา โทร. ๐๘ ๖๓๔๔ ๗๔๑๘ (เปิดเวลา ๒๐.๐๐ น. อาหารแนะนาำ ดอกขจรผดั นาำ้ มนั หอย ผดั ๑๓.๐๐-๒๓.๐๐ น. (วันศุกร์ ๑๕.๐๐-๒๓.๐๐ น.) โป๊ยเซียน ปลากะพงทอดน้าำ ปลา) อาหารแนะนาำ ปผู ดั ผงกะหร ่ี เป็ดร่อนอบตะไคร้) หมายเลขโทรศัพทส์ าำ คัญ สถานีเดนิ รถโดยสารประจำาทาง โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๖๙๖๒ สถานีรถไฟสมุทรสงคราม โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๙๐๖ ประชาสมั พนั ธ์จังหวัด โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๔๘๘๑ สำานักงานจังหวัดสมุทรสงคราม โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๙๙๗, ๐ ๓๔๗๑ ๖๙๐๖, ๐ ๓๔๗๑ ๓๓๐๙ สถานตี ำารวจภูธรอาำ เภอเมอื งสมทุ รสงคราม โทร. ๐ ๓๔๗๑ ๑๓๓๘, ๐ ๓๔๗๒ ๐๕๓๐-๕ สถานตี ำารวจภธู รอาำ เภออมั พวา โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๑๓๐๐, ๐ ๓๔๗๑ ๐๖๒๖ ๐ ๓๔๗๕ ๒๕๒๕-๗ สถานีตำารวจภูธรอำาเภอบางคนท ี โทร. ๐ ๓๔๗๖ ๑๘๖๖, ๐ ๓๔๗๓ ๐๐๖๒-๔, ๐ ๓๔๗๖ ๑๑๙๑, โรงพยาบาลอมั พวา โทร. ๐ ๓๔๗๐ ๒๑๑๒, ๐ ๓๔๗๕ ๑๘๔๖๗, ๐ ๓๔๗๕ ๒๕๖๐ โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย โทร. ๐ ๓๔๗๒ ๓๐๔๔-๙ ตาำ รวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓ ตาำ รวจท่องเท่ียว โทร. ๑๑๕๕ สมุทรสงคราม 33

34 สมุทรสงคราม

ตลาดน้�าอัมพวา สมทุ รสงคราม 35





ชุมชนรมิ คลองอมั พวา 38 สมุทรสงคราม

ศูนยข์ ้อมลู ท่องเทีย่ ว ปรบั ปรุงข้อมูล การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย สำานกั งานใหญ่ (ททท.) มกราคม ๒๕๖๒ ๑๖๐๐ ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงมักกะสนั เขตราชเทว ี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ สมทุ รสงคราม 39 โทร. ๑๖๗๒, ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐ e-mail : [email protected] www.tourismthailand.org เปดิ บริการทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า ศูนย์บรกิ ารข่าวสารทอ่ งเทีย่ ว ททท. ช้นั ๑ ๔ ถนนราชดาำ เนนิ นอก เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๕๖ เปิดบริการทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ ฝงั่ ผโู้ ดยสารขาเขา้ ในประเทศ ประต ู ๓ ชั้น ๒ โทร. ๐ ๒๑๓๔ ๐๐๔๐ เปิดบริการ ๒๔ ชว่ั โมง ททท.สำานักงานสมทุ รสงคราม ๑๕๐/๘-๙ ถนนสมทุ รสงคราม-บางแพ ตาำ บลอมั พวา อำาเภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม ๗๕๑๑๐ โทร. ๐ ๓๔๗๕ ๒๘๔๗-๘ โทรสาร ๐ ๓๔๗๕ ๒๘๔๖ E-mail: [email protected] พืน้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ: สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เปดิ บริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.

อาสนวหิ ารแมพ ระบังเกดิ ข้อมูล : ททท. สาำ นักงานสมุทรสงคราม ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. ทกุ วนั กองข่าวสารท่องเท่ยี ว (โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ต่อ ๒๑๔๑-๕) ออกแบบและจดั พมิ พ์ : กองวางแผนและผลิตส่อื ฝ่ายบริการการตลาด บริการข้อมูลทอ่ งเท่ยี วทางโทรสาร ๒๔ ช่วั โมง ขอ้ มูลรายละเอียดที่ระบุในเอกสารนอ้ี าจมกี ารเปลี่ยนแปลงได้ e-mail: [email protected] ลขิ สิทธ์ิของการทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย พฤศจิกายน ๒๕๖๒ www.tourismthailand.org หา้ มจาำ หน่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook