สังคหวัตถุ ๔ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก พระจลุ คณศิ ร (วาศน์ นลิ ประภา) แต่ง ไดร้ ับพระราชทานรางวลั ชัน้ ท่ี ๑ ในการประกวดประจำ�พุทธศักราช ๒๔๘๓
“...การพฒั นาตนเองทส่ี �ำ คญั ยง่ิ ประการหนง่ึ ไดแ้ กก่ ารฝกึ ฝน อบรมจติ ใจ ให้มคี วามประณตี และเข้มแข็ง จติ ใจทีป่ ระณีตน้นั คอื จิตใจท่ีละเอียดอ่อนและเป็นระเบียบ ไม่มักง่าย ไม่หยาบกระด้าง ส่วนจิตใจที่เข้มแข็ง คือจิตใจที่หนักแน่นมั่นคง ไม่หวั่นไหวไปตาม อารมณ์หรือสิ่งยั่วยุ และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคปัญหาจิตใจท้ังสองน้ี ถ้ามีพรอ้ มมูลในผใู้ ด ย่อมเก้อื กูลให้ผ้นู ัน้ มคี วามสำ�นกึ รูผ้ ดิ ชอบชัว่ ดี และสามารถควบคุมการกระทำ� คำ�พูด ความคิด ให้อยู่ในทางที่ดี ทช่ี อบ ไมป่ ระพฤตปิ ฏบิ ตั กิ ารใดทท่ี วนกระแสความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรม หรือบ่อนทำ�ลายตัวเองและผู้อ่ืนโดยเด็ดขาด การฝึกใจให้ประณีต และเข้มแข็งดังกล่าว เป็นสิ่งท่ีต้องกระทำ�ให้เพ่ิมพูนข้ึนโดยลำ�ดับ อย่างต่อเน่ืองสมำ่�เสมอ มิฉะนั้นความมักง่ายและอ่อนแอก็จะ พอกพนู ขน้ึ แทนท่ี กลายเปน็ อปุ สรรคขดั ขวางความเจรญิ ของตนเอง และสว่ นรวมอยา่ งรา้ ยกาจ บณั ฑติ เปน็ ผมู้ คี วามรสู้ งู หากจะไดต้ ง้ั ใจ
พยายามฝึกฝนขดั เกลาจติ ใจใหป้ ระณีตและเขม้ แขง็ ย่ิง ๆ ขึ้น กจ็ ะ สามารถด�ำ เนนิ ชวี ติ และประกอบกจิ การงานใหบ้ รรลถุ งึ ความส�ำ เรจ็ ที่แทจ้ ริงและยง่ั ยนื ได้ ดงั ทีป่ รารภปรารถนา…” พระราโชวาท สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั รแก่ผ้สู �ำ เร็จการศกึ ษาจาก จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำ�ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ ณ หอประชมุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
พระสรุ ภพี ทุ ธพิมพ์ พระประธานในพระอโุ บสถ วดั ปรินายก กรุงเทพมหานคร
ค�ำ น�ำ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระ- ราชประสงค์ที่จะให้เด็กไทยสนใจศึกษาพระพุทธศาสนาให้มากข้ึน จึงมีพระราชบัญชาให้คัดเลือกหนังสือท่ีชนะการประกวดหนังสือ สอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชพิธี วิสาขบูชา นับต้ังแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๒ มาจัดพิมพ์ใหม่ เพ่ือ พระราชทานให้แกโ่ รงเรยี นและห้องสมุดตา่ ง ๆ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม- บรมราชกมุ ารี ไดค้ ดั เลอื กหนงั สอื ทไ่ี ดร้ บั พระราชทานรางวลั ชน้ั ท่ี ๑ พุทธศักราช ๒๔๘๓ เรอ่ื ง สงั คหวตั ถุ ๔ ซึ่งแต่งโดย พระจุลคณิศร (วาสน์ นิลประภา) วดั ราชบพธิ มาจัดพิมพใ์ หม่ โดยมกี ารปรับปรุง รูปแบบการพิมพ์เพ่ือให้น่าสนใจและเหมาะสมต่อเด็กและเยาวชน มากยิ่งข้ึน แต่ยังคงเน้ือหาสาระตามต้นฉบับเดิม และหวังเป็น อยา่ งยง่ิ ว่า หนงั สือน้จี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เดก็ เยาวชน และผสู้ นใจ ทว่ั ไป สมตามพระราชประสงคข์ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สำ�นกั งานโครงการ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พทุ ธศักราช ๒๕๕๗
สารบญั บทที่ ๑ ความเบื้องต้น ๙ บทที่ ๒ ธรรมยึดเหนีย่ วน้�ำ ใจ ๑๕ บทที่ ๓ ทาน การให้ปันสิง่ ของ ๒๕ บทที่ ๔ ปิยวาจา เจรจาอ่อนหวาน ๓๕ บทที่ ๕ อัตถจริยา ประพฤติประโยชน์ ๔๕ บทที่ ๖ สมานตั ตตา ความมีตนเสมอ ๕๓ บทที่ ๗ รวมความ ๖๓
บท๑ที่ ความ เบือ้ งตน้ เดก็ ชายวจิ ติ ร ประเทอื งธรรม เปน็ บตุ ร นายวงศ์ ประเทอื ง- ธรรม ซง่ึ ตง้ั บา้ นเรอื นอยจู่ งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เมอ่ื เดก็ ชายวจิ ติ ร เรียนหนังสือจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ แล้ว บิดาจึงนำ�มาฝากให้ อยกู่ ับลุงที่กรุงเทพฯ เพ่ือเรียนชนั้ มัธยมต่อไป เวลานีเ้ ด็กชายวจิ ติ ร อายุได้ ๑๐ ขวบ กำ�ลังเรียนอยใู่ นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ บดิ าของเขา ได้มีจดหมายติดต่อตักเตือนอยู่เสมอ ในจดหมายน้ัน มีข้อความท่ี เด็กทั้งหลายควรอ่านควรรู้ไว้ด้วย จึงคัดสำ�เนามา เพ่ือได้อ่านกัน ทั่วไป ดงั นี้ 9
(ส�ำ เนาจดหมายฉบับที่ ๑) วิจติ ร ลูกรัก ตง้ั แตล่ กู ไดจ้ ากบา้ นมาอยกู่ บั ลงุ ทก่ี รงุ เทพฯ แลว้ แมข่ องลกู เฝา้ บน่ คดิ ถงึ เสมอ พอ่ ตอ้ งคอยเตอื นสตบิ อ่ ย ๆ วา่ ลกู อยทู่ ก่ี รงุ เทพฯ เป็นสุขสบายดีมาก ลุงกับป้าเขาก็รักใคร่เอาใจใส่ดูแลปกครองเป็น อยา่ งดี เพราะเขาไม่มีลกู ผูช้ าย ส่วนตัวพ่อเอง มิใช่ว่าจะไม่คิดถึงลูกเมื่อไร คิดถึงอยู่แทบ ทุกลมหายใจกว็ ่าได้ แต่มาคิดหักใจเสยี วา่ ที่ให้ลกู จากพ่อแมม่ าอยู่ ห่างไกลเช่นน้ี ก็เพ่ือลูกจะได้มีความรู้กว้างขวางย่ิงข้ึน เป็นสมบัติ ติดตวั ลกู เมอ่ื เตบิ โตไปภายหน้า พ่อเหน็ วา่ ทรพั ยส์ มบตั ิอย่างอน่ื ๆ ไม่ประเสรฐิ เหมอื นวชิ าความรู้ จะมัวรกั ถนอมใหล้ ูกอยูใ่ กลต้ ัว พ่อก็ไม่มีความรู้อะไรจะแนะนำ� ลูกจะกลายเป็นคนโง่ มคี วามรูเ้ ฉลยี วฉลาดไม่ทนั คน ต้องทำ�มาหาเลี้ยงชีวิตต่อไปข้างหน้าเหน่ือยยากลำ�บาก จงึ สสู้ ะกดใจไว้ ไมบ่ น่ ใหใ้ ครรู้ ตง้ั ใจวา่ จะท�ำ มาหากนิ รวบรวมเงนิ ไว้ ให้ลูกได้เล่าเรียนจนเต็มกำ�ลัง จะลำ�บากเหนื่อยยากเพียงไร ก็จะ ไม่ท้อถอย เพราะความรักลูก ขอลูกจงตั้งใจเล่าเรียน ให้สมกับ ความรักของพ่อเถิด พ่อจะได้หายเหน่อื ย 10
เคยมคี นขา้ งบา้ นเรา เขาบน่ ถงึ ลกู ของเขาวา่ “สง่ ใหม้ าเรยี น หนังสือที่กรุงเทพฯ เสียเงินต้ัง ๔๐๐-๕๐๐ บาท ไม่เห็นเรียนรู้ไป ถึงไหน ดีแต่แต่งตัวเท่ียว ให้ช่วยทำ�อะไรบ้าง ก็บ่นว่าทำ�ไม่เป็น ท�ำ ไม่ไหว เสียเงนิ ไปเปลา่ ๆ” แต่พ่อสืบไดค้ วามว่า เจ้าลูกของเขาน้ัน ไมไ่ ด้ต้งั ใจเล่าเรยี น ใหจ้ ริงจงั คอยแต่คบเพือ่ น หลบหนเี ทีย่ ว ใช้จา่ ยเงินอย่างสบายใจ ไม่นึกถึงพ่อแม่ท่ีต้องเหนื่อยยากลำ�บากหาเงินส่งให้ จึงไม่มีความรู้ อะไรเปน็ หลกั ฐานตดิ ตวั มแี ตค่ วามรทู้ �ำ ลายเงนิ อยา่ งเดยี ว ประกอบ ทง้ั พ่อแม่กไ็ มค่ อยสอบสวนตรวจตราว่า ลูกของตนเป็นอยา่ งไรบา้ ง ลูกขอเงินก็ส่งไปให้เพราะสงสาร แต่ลูกไม่นึกสงสารพ่อแม่เสียเลย กลบั ใช้จ่ายอยา่ งสนุกสนาน ลกู เชน่ น้ี ไมน่ า่ จะมใี ครเวทนาสงสาร เพราะลา้ งผลาญเงนิ ทอง ท่ีพ่อแม่ส่งให้จนวอดวายหมด มิหนำ�ซ้ำ�ยังล้างผลาญตัวเองให้ขาด วิชาความรู้ท่ีจะช่วยตัวเองอีกด้วย ท่ีสุดก็กลับมาให้พ่อแม่หาเล้ียง ต่อไป ที่พ่อเล่าให้ฟังน้ี เพื่อให้ลูกรู้สำ�นึกตัวไว้ เป็นเคร่ืองเตือนใจ เมอื่ หลงนกึ อยากจะทำ�ตามเยย่ี งอยา่ งเช่นนั้นบา้ ง กอ่ นหนา้ ท่ีพอ่ เขียนจดหมายนี้ ๖-๗ วัน ลุงเขาไดส้ ่งขา่ วถงึ พ่อว่า ลูกขยันหม่ันเรยี นดี ส่งั สอนอะไรก็จดจ�ำ ได้เร็ว ไมด่ ือ้ ด้าน แตก่ ลับเปน็ คนมีเพอื่ นมาก เวลากลับจากโรงเรียน มักมีเพือ่ นตามมาเท่ียวเลน่ ที่บา้ น ๒ คน ๓ คนแทบทกุ วัน 11
ปา้ เขากไ็ มว่ า่ กลา่ วหา้ มปรามอยา่ งไร กลบั ชอบท�ำ ของกนิ ไว้ คอยแจกบ่อย ๆ ดว้ ยซำ�้ แต่พวกเพ่ือนของลูกตามที่ลุงเขาสังเกตดู ก็ไม่ใช่เด็กเกเร อะไร ซุกซนไปตามนิสัย ชอบวง่ิ ชอบเต้นเท่านนั้ และว่าลูกออกจะ มชี าตาดี ใครเหน็ ใครชอบไม่วา่ เดก็ ผ้ใู หญ่ ทีโ่ รงเรียนกม็ เี พ่อื นล้อม หน้าล้อมหลงั เกรียวกราวท่ัวไป ตามขา่ วของลงุ น้ี ท�ำ ใหพ้ อ่ กบั แมป่ ลม้ื ใจมาก แตพ่ อ่ ขอก�ำ ชบั ว่า การชักชวนเพื่อนฝูงมาเท่ียวเล่นท่ีบ้านนั้น ระวังอย่าให้เป็น เร่ืองรำ�คาญแก่ลุงและป้าเขาได้ ถึงเขาจะไม่ว่ากระไร ก็ต้องรู้จัก เกรงใจ ระวังตัวไว้ก่อน อย่าหลงคะนองใจ นึกจะเล่นอะไร จะทำ� อะไรกท็ ำ�ตามอ�ำ เภอใจ เราไปอาศัยเขาอยู่ เพียงแตเ่ ขารับเลี้ยงดู ให้ทอี่ ยทู่ ่หี ลบั นอน เทา่ นีก้ ็เปน็ บุญคุณ ของเขามากมายแลว้ จะตอ้ งแสดงความกลวั เกรง เคารพนับถอื เชอื่ ฟงั ถอ้ ยคำ� อยา่ งเดียวกับพ่อแม่เหมอื นกนั สว่ นตวั ลกู คนเดยี วกพ็ อตกั เตอื นสง่ั สอนกนั ได้ แตพ่ วกเพอ่ื น นน่ั แหละส�ำ คญั จะพลอยผดิ พลอยเสยี ดว้ ยกนั งา่ ยนกั พอ่ ขอเตอื นวา่ จะชอบพอกับใคร ระวังเลือกดูท่ีมีนิสัยเรียบร้อยสักหน่อย เดี๋ยว ได้เพื่อนชนิดเกเร จะพลอยผิดเกเรหยาบคายตามกันไป ถึงลุงเขา 12
จะคอยสงั เกตระวงั อยดู่ ว้ ย พอ่ กไ็ มใ่ ครว่ างใจนกั จงึ ขอเตอื นใหร้ ะมดั ระวังตัวไว้ก่อนดกี ว่าจะคดิ แกเ้ มอื่ ภายหลัง พอ่ รสู้ กึ ประหลาดใจถงึ นสิ ยั ของลกู ดชู า่ งเปลย่ี นแปลงรวดเรว็ จรงิ ๆ เมอ่ื อยทู่ ีโ่ รงเรียนประชาบาลเหนือบา้ น เหน็ หงมิ ๆ ไมใ่ คร่ จะพูดจะเล่นล้อกับใคร พอมาอยู่กรุงเทพฯ ไม่กี่เดือน ทำ�ไมจึง ปราดเปรียวเช่นน้ี จะว่าเพราะลุงกับป้าปล่อยตามใจจึงเหลิงไป เช่นนั้นก็ไม่แน่นัก ตามที่พ่อเคยสังเกตดู ลุงกับป้าออกจะกวดขัน ในทว่ งทกี ริ ิยา วาจา ของลูกมากกว่าพอ่ แมเ่ สยี อีก ชวนให้พอ่ วิตก นกึ หาเหตุผลอยูเ่ รอ่ื ยมา ดว้ ยเกรงวา่ ลูกจะเลยหลงทะนงตัวไมเ่ ปน็ อันเลา่ เรเยีผนอิญทพำ�ใอหคเ้ ่ำส�ลยี งเงนิ เปเสิดยี วทิทอยงุฟไปังพเปรละ่าเทๆศนอกี์ คล้ายกับพระท่าน ทราบความหนกั ใจของพอ่ หรอื อยา่ งไร จงึ อธบิ ายเสยี แจม่ แจง้ ชดั เจน จนพ่อหายความหนักใจที่เป็นห่วงถึงความประพฤติของลูก เลย ตัง้ ใจว่าเขยี นเลา่ มาให้ลกู ได้รไู้ ว้บา้ ง เพราะเป็นหลกั คำ�สอนทด่ี ีของ พระพุทธศาสนาของเรา และออกจะตรงกับความประพฤติของลูก อยู่ด้วย พ่อได้พูดเรื่องอ่ืนมามากแล้ว รอไว้คราวหลัง มีเวลาว่าง จะได้เขยี นเลา่ มาให้อ่านตอ่ ไป จดหมายของพ่อนี้ อ่านแล้วอย่าเพ่ิงฉีกทิ้งเสีย ควรเก็บไว้ อ่านตรึกตรองดูว่าจะจริงตามที่พ่อพูดบ้างหรือไม่ หรือจะเก็บไว้ อ่านในเวลาคิดถึงพ่อกับแม่ก็ได้ เพื่อนของลูกมีมาก ลองแจกกัน อ่านดูบ้างกด็ เี หมือนกัน สวสั ดีลูกรัก วงศ์ ประเทอื งธรรม 13
ค�ำ ถามประจ�ำ บท ๑. พ่อแม่หวังประโยชน์ อย่างไร จึงยอมเสียเงนิ สง่ ลูกเข้าโรงเรียน ? ๒. ๓. พอ่ แม่สง่ เงนิ มาใหล้ กู เราไปอาศยั คนอน่ื เขาอยู่ เรยี นหนงั สือ แต่ลูกกลบั จะควรเคารพและเกรงใจ ไถลเลน่ เสยี เปน็ การ เขาหรอื ไม่ ไมด่ อี ย่างไร ? เพราะเหตุไร ? ๔. ทำ�ไม เขาจงึ สอนใหร้ ะวงั ในการคบเพือ่ น ? 14
บท๒ที่ ธรรม ยึดเหน่ยี ว น�้ำ ใจ (ส�ำ เนาจดหมายฉบับท่ี ๒) วจิ ติ ร ลกู รกั พ่อรับว่าจะเขียนเรื่องตามท่ีฟังพระเทศน์ มาให้ลูกได้รู้ไว้ บ้างนัน้ ก�ำ ลังวา่ งงานจงึ รีบเขยี นสง่ มาเสยี ทีเดียว เกรงว่าขนื ปล่อย ลา่ ชา้ ไป ลกู คงทวงถามเป็นแน่ เพราะเคยรูน้ สิ ัยใจเรว็ ของลกู ลงได้ อยากรู้อยากเห็นอะไรแล้ว เป็นเซ้าซ้ีซักถามรำ่�ไป จนแม่เขาบ่น ระอาบ่อย ๆ สว่ นขอ้ ความทพ่ี อ่ เขยี นนเ้ี ปน็ เพยี งใจความทง้ั ถอ้ ยค�ำ ส�ำ นวน ก็สำ�หรับลูกอ่านเข้าใจง่ายเท่านั้น ไม่เหมือนกับสำ�นวนเทศน์ของ พระท่านดอก 15
วนั นน้ั พระทา่ นเทศนถ์ งึ ขอ้ ค�ำ สอนของพระพทุ ธเจา้ ส�ำ หรบั ยึดเหนี่ยวน�ำ้ ใจของผอู้ น่ื เรยี กชื่อตามภาษาบาลีวา่ สังคหวตั ถุ แบง่ ออกเปน็ ๔ อย่างดว้ ยกนั คือ ๑. ทาน ให้ปันสงิ่ ของ ๆ ตนแก่ผอู้ นื่ ทีค่ วรให้ปนั ๒. ปยิ วาจา เจรจาวาจาทอ่ี อ่ นหวาน ๓. อตั ถจริยา ประพฤติส่ิงทเ่ี ปน็ ประโยชน์แกผ่ ูอ้ ่นื ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมตี นเสมอไม่ถอื ตวั คุณทั้ง ๔ อย่างน้ี เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวใจของผู้อื่นไว้ได้ โดยอา้ งเรอ่ื งเดมิ ครัง้ พระพทุ ธเจ้า เล่าประกอบอีกวา่ มอี บุ าสกคนหนง่ึ ชอ่ื หตั ถกะ พาบรวิ ารประมาณ ๕๐๐ คน ไปเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ณ ทป่ี ระทบั พระพทุ ธเจา้ ตรสั ปราศรยั พอสมควร แลว้ จงึ ตรัสถามหัตถกะว่า ทา่ นมีวิธีทำ�อย่างไรหรอื จงึ มพี วกพ้อง บรวิ ารมากมายเชน่ นี้ หัตถกะทูลตอบว่า ขา้ พระองค์ ไม่มีวธิ อี ย่างไร อาศัยปฏิบตั ิ ตามค�ำ สอน ของพระองค์ ในขอ้ สงั คหวตั ถทุ ั้ง ๔ ท่ที รงสัง่ สอนไวเ้ ทา่ นนั้ พระพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญรับรองว่า ถูกต้องสมควรดีแล้ว และไดต้ รสั ตอ่ ไปอกี วา่ คนทจ่ี ะควบคมุ บรษิ ทั บรวิ ารใหร้ กั ใครส่ นทิ สนม 16
กบั ตน จะตอ้ งประพฤตอิ ยใู่ นขอ้ สงั คหวตั ถุ ๔ อยา่ งนเ้ี ทา่ นน้ั ไมเ่ ลอื กวา่ ในสมยั เวลาไหน ตง้ั แตค่ รง้ั โบราณมา หรอื ในสมยั เวลาเดย๋ี วน้ี จนตลอด ต่อไปในเวลาข้างหน้า ล้วนต้องประพฤติตามหลักของสังคหวัตถุนี้ ตลอดทว่ั กนั หมด จะละเวน้ มไิ ดเ้ ลย เพราะเปน็ หลกั ความประพฤติ อันดีเยี่ยมสำ�หรับเหนี่ยวร้ังผูกพันนำ้�ใจคนอ่ืน ให้คงรักใคร่เคารพ นับถอื สนทิ สนมแน่นแฟ้นทงั้ ต่อหน้า และลับหลัง ไม่มเี วลาจืดจาง หัตถกะอุบาสกพร้อมท้ังบริวาร เมื่อได้ฟังพระพุทธเจ้า เทศนา ตรงกับความประพฤตขิ องตน ต่างก็ชืน่ ชมยนิ ดี ทูลลากลบั ไปสู่ท่อี ยูข่ องตน และพระผเู้ ทศนา ยงั อธิบายประกอบให้ชดั เจนต่อไปอกี วา่ สังคหวัตถุท้ัง ๔ อย่างนี้ เป็นข้อธรรมที่พระพุทธเจ้าทรง จัดไวส้ ำ�หรบั ให้คนท่วั ไปประพฤติตาม เพราะคนเราทกุ คน ทานขา้ วนะลกู นบั ตัง้ แตเ่ กิดจนถึง เตบิ โตเปน็ ผู้ใหญ่ มคี วามรูค้ วามสามารถ ตามที่เป็นอยู่เวลาน้ี เหน็ อย่แู ล้ววา่ ตา่ งคนตา่ งได้ อาศยั สังคหวัตถุจากทา่ นผู้ใหญ่ มีพ่อแม่ พ่ี ป้า นา้ อา เปน็ ตน้ บ�ำ รุงมาดว้ ยกันทง้ั น้ัน มฉิ ะนัน้ จะไมส่ ามารถดำ�รงชีวิตเป็นคนอยู่ได้เลย 17
เชน่ พอ่ แมไ่ ดย้ อมสละทรพั ยส์ นิ เงนิ ทองอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ เลย้ี งดู ลูก ตัง้ แตเ่ กดิ จนถึงเตบิ โต นีก่ ็จดั เป็นทาน การให้ปนั ของทา่ น จะพูดจาปราศรัยกับลูก ก็ล้วนแต่ถ้อยคำ�อ่อนหวาน และ แนะนำ�สั่งสอนในเรื่องที่ควรรู้ต่าง ๆ นี่จัดเป็นปิยวาจา พูดถ้อยคำ� อ่อนหวานของทา่ น การท่ีท่านแนะนำ�สั่งสอน ตลอดจนให้เล่าเรียนศึกษาวิชา ความรตู้ า่ ง ๆ ซง่ึ ลว้ นเปน็ ประโยชนแ์ กล่ กู ทง้ั นน้ั นจ่ี ดั เปน็ อตั ถจรยิ า ประพฤตแิ ตส่ ิ่งที่เป็นประโยชน์ของทา่ น ทา่ นเคยมคี วามรกั ความสงสารลกู มาแตเ่ ดมิ อยา่ งใด มงุ่ ท�ำ ประโยชน์แก่ลูกอย่างใด ก็ยังรักและสงสารมุ่งประโยชน์คงท่ีอยู่ อยา่ งน้ัน เสมอต้นเสมอปลาย จนตลอดชีวิต นจ่ี ดั เปน็ สมานัตตตา เปน็ คนมีตนเสมอของทา่ น จึงเรยี กว่าเราไดร้ บั สังคหวตั ถุจากผใู้ หญม่ พี ่อแม่ เปน็ ตน้ มา แลว้ ทง้ั นน้ั ถงึ ในคนทเ่ี สมอกบั เรา เชน่ เพอ่ื นฝงู จะคบคา้ สมาคมกนั ยืดยาว กต็ อ้ งอาศัยต่างคนต่างประพฤตสิ งั คหวตั ถใุ หแ้ ก่กนั และกัน เมื่อเราเติบโตเป็นใหญ่ข้ึนบา้ ง กจ็ �ำ ต้องประพฤติสังคหวตั ถุ ตอบแทนทา่ นผใู้ หญน่ นั้ ๆ ชว่ ยถบู า้ นดีกว่า และแก่ผูท้ ี่เราเก่ยี วข้องด้วย เชน่ ญาติ มิตร ลกู เมยี อีกเหมือนกนั จงึ จะได้รับ ความรักใครน่ บั ถอื ความอนเุ คราะห์ช่วยเหลอื จากคนเหล่าน้นั ด�ำ รงชวี ิตอยู่เป็นสขุ สบายตามควร 18
เม่ือคนทุกคนได้รู้สึกเห็นความสำ�คัญของสังคหวัตถุเช่นน้ี แล้ว ถ้าเป็นคนชั้นผู้น้อย ก็ควรประพฤติในสังคหวัตถุ ตอบแทน สนองคณุ ทา่ นผใู้ หญ่ ทไ่ี ดเ้ คยบ�ำ รงุ อปุ ถมั ภต์ วั มา เชน่ พอ่ แม่ เปน็ ตน้ ตลอดถึงคนอ่ืนที่เก่ียวข้องกันทั่วไป จะได้ชื่อว่าสนองพระคุณท่าน ถูกต้อง เป็นคนกตัญญูกตเวที ซำ้�จะปลูกความนิยมรักใคร่นับถือ ของผอู้ ืน่ ใหแ้ ก่ตวั ย่งิ ขึ้นอีกด้วย ถา้ เปน็ คนเหน็ แก่ตัวฝา่ ยเดียว ไม่เหลยี วแลถึงคนอน่ื ขี้ตระหนี่ หวงแหน ไม่ยอมเฉลยี่ แบง่ ปัน ที่สุดจนของเลน่ ของใช้ หรือของกิน จะพูดจาปราศรัยก็ชอบพูดแต่คำ�หยาบโลน ขึ้นมึงขึ้นกู ไม่เพราะหู ไม่ยอมช่วยเหลืออุดหนุนใคร มีนำ้�ใจริษยากลัวว่าจะดี เกินตน มักทะนงตัวอวดหย่ิงดึงด้ือถือตัว คนที่มีนิสัยเช่นนี้จะมีคน รกั ใครเ่ อน็ ดไู ดห้ รอื มแี ตเ่ ขาจะพากนั เกลยี ด ไมอ่ ยากคบคา้ สมาคม ด้วยเท่านัน้ หมดใจความทีพ่ ระเทศน์เพียงน้ี. พอ่ ขอชี้แจงเพิ่มเตมิ อกี บา้ ง ค�ำ ว่า สงั คหวตั ถุ (อ่านวา่ สงั - คะหะวตั ถ)ุ เปน็ ภาษาบาลแี ยกออกเปน็ ๒ ศพั ท์ คอื สงั คห ๑ วตั ถุ ๑ สงั คห แปลงเปน็ ภาษาไทยวา่ สมเคราะห์ มคี วามหมายวา่ ช่วยเหลืออุดหนุน วัตถุ ในท่ีน้ีหมายว่า เร่ือง รวมท้ัง ๒ ศัพท์ มคี วามหมายวา่ เรอ่ื งความชว่ ยเหลอื จะชว่ ยเหลอื กนั ดว้ ยวธิ อี ยา่ งไร บ้าง ท่านจึงวางวิธีไว้เป็น ๔ อย่าง ช่วยเหลือกันด้วยวิธีอย่างอื่น 19
นอกจาก ๔ อยา่ งนไ้ี มเ่ รยี กวา่ สงั คหวตั ถุ จะนบั วา่ เปน็ สงั คหวตั ถุ คอื เรอ่ื งความชว่ ยเหลอื ทท่ี �ำ ใหร้ กั ใครน่ บั ถอื กลมเกลยี วกนั ตอ้ งประพฤติ ตามหัวข้อทงั้ ๔ น้เี สมอไป ความส�ำ คญั ของสงั คหวตั ถุ ทส่ี ามารถยดึ เหนย่ี วน�ำ้ ใจคนอน่ื ให้รักใคร่นิยมชมชอบนั้น ขอให้ลูกนึกเทียบดูกับเสื้อกางเกงที่ลูก สวมใสอ่ ยนู่ น้ั ชน้ั เดมิ ผา้ ยงั เปน็ มว้ น ๆ ไมเ่ ปน็ รปู เสอ้ื กางเกงมใิ ชห่ รอื เขาตอ้ งเอามาตดั แลว้ เยบ็ ใหต้ ดิ กนั ดว้ ยเสน้ ดา้ ย เสน้ ดา้ ยจงึ เปน็ ของ สำ�คัญท่ีเย็บตรึงผ้าหลายช้ันให้ติดกันเป็นรูปเสื้อรูปกางเกง ใช้นุ่ง ใชส้ วมได้สบาย หรอื สมุดและหนังสือ ทล่ี ูกใชอ้ ย่ใู นโรงเรยี นนน้ั จะเป็นเล่ม สมุดเล่มหนังสือข้ึนได้ ก็เพราะเขาใช้ลวดบ้าง เชือกบ้างเย็บไว้อีก เหมอื นกนั ถงึ สง่ิ อน่ื เชน่ ตู้ โตะ๊ เกา้ อ้ี กต็ อ้ งมตี าปตู อกไว้ จงึ คมุ ไม้ หลายท่อนให้ตดิ ตอ่ เป็นตู้ โตะ๊ อยไู่ ด้ดังนี้ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง ตอ้ งมีของเกาะเกีย่ ว ทำ�ให้ควบคุม ตดิ ตอ่ กันไวท้ งั้ หมด จงึ จะใชเ้ ปน็ เคร่อื งน่งุ หม่ เครื่องใช้สอยตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ได้ คนเราก็เหมือนกัน ถ้าไม่มีเคร่ืองผูกพันเหนี่ยวรั้งน้ำ�ใจกัน แล้ว ก็จะไม่มีช่องทางได้รู้จักคบค้าสมาคมกัน เคารพนับถือกัน รกั ใครช่ ว่ ยเหลอื เกอื้ กลู กนั เลย จะตา่ งคนตา่ งอยเู่ ปน็ การลำ�บากมาก 20
อนึ่ง จะใช้ผูกนำ้�ใจคนด้วยเชือกด้าย หรือตาปูเหมือนเสื้อ กางเกง ตู้ โต๊ะ ก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน เพราะเป็นคนละชนิด ท่าน จึงสอนให้ผูกด้วยแสดงความสนิทสนมมีไมตรีต่อกัน สมเคราะห์ อนเุ คราะห์ช่วยเหลอื กนั ตามหลักของสังคหวตั ถนุ ัน้ จึงจะเป็นการ สมควร สามารถท�ำ ใหช้ อบชดิ สนทิ สนมรกั ใครก่ นั ยง่ั ยนื ทเ่ี ปน็ พอ่ แม่ กับลกู ครูกับศษิ ย์ เปน็ ตน้ กจ็ ะทวีความเคารพนับถือยง่ิ ขึ้น, ทีเ่ ปน็ ญาตมิ ติ รสหาย ก็จะรักใครช่ อบพอมากข้นึ , ทเี่ ปน็ ผูน้ ้อย ก็เปน็ เหตุ ให้ผ้ใู หญเ่ อ็นดู, ที่เปน็ ผใู้ หญ่ ผนู้ อ้ ยกจ็ ะเคารพรกั ใครแ่ นน่ แฟ้น ดัง สภุ าษิตโบราณอนั ไพเราะจับใจวา่ ผูกสนทิ ชิดเชอื้ น้ีเหลอื ยาก ถึงเหล็กฟากรัดไว้ก็ไมม่ น่ั จะผกู ดว้ ยมนตเ์ สกลงเลขยนั ต์ ไมม่ น่ั เหมอื นผกู ไวด้ ว้ ยไมตรี ตามท่ีพ่อได้เล่ามานี้ ลูกคงพอเข้าใจและเห็นความสำ�คัญ ของสงั คหวตั ถตุ ามทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั สอนไวแ้ ลว้ พอ่ ขอรวมความ สน้ั ๆ ว่า ขอบใจนะ คนเราทุกคนต่างอยากให้มีคนรัก มากกวา่ อยากให้คนเกลียด เขาจะนิยมรกั เราได้ กเ็ พราะรู้จักวธิ ีผกู น�ำ้ ใจ ใหเ้ ขารักเขานยิ ม เขาจะรกั นิยมชมชอบเรา ก็ดว้ ยความประพฤติตวั ตามหลักสงั คหวัตถุทงั้ ๔ อย่างแก่เขา 21
เพราะคณุ ทง้ั ๔ อยา่ งน้ี จะเหมอื นเปน็ บ่วง หรือเชือกคล้องผูกรัด นำ้�ใจคนอ่ืน ให้รักใคร่ เอ็นดูเราได้ดีท่ีสุดไม่มีอะไรสู้ เท่ากับเป็น คาถาเมตตาอย่างวิเศษ การท่ีมีคนอ่ืนชอบคบค้าสมาคมกับลูก มีผู้หลักผู้ใหญ่ชอบ ทกั ทายปราศรยั พอ่ นกึ คาดคะเนเอาเองวา่ คงเปน็ เพราะลกู ประพฤติ ตวั ตรงกับลักษณะของสังคหวัตถุเป็นส่วนมาก ไม่ข้อใดก็ข้อหนึ่ง เป็นแน่ ฉะนัน้ จึงท�ำ ใหพ้ อ่ เบาใจหายวิตกถึงลูก ขอใหล้ กู จงตรวจตวั เองวา่ ไดป้ ระพฤตอิ ยา่ งไร ตรงกบั หวั ขอ้ ท่ีพระพุทธเจ้าสอนบ้าง ถ้าเคยประพฤติอยู่แล้ว ก็ควรประพฤติให้ มากทวยี ง่ิ ขน้ึ ทย่ี งั ไมเ่ คยประพฤติ จงเรม่ิ หดั ประพฤตใิ หไ้ ด้ พยายาม หัดประพฤตติ ัวเสยี แต่เวลาน้ี เติบโตข้ึนจะได้มเี พือ่ นฝูง และผู้ใหญ่ เอ็นดรู ักใครท่ ัว่ ไป ส�ำ หรบั พอ่ แมเ่ องเวลาน้ี ชอ่ื วา่ ก�ำ ลงั ประพฤตสิ งั คหวตั ถตุ อ่ ลกู ครบทุกขอ้ ทเี ดยี ว แต่อย่านึกว่าเราเป็นพอ่ ลกู กัน ประพฤติดตี อ่ กัน ก็เพยี งพอแล้ว ไมต่ อ้ งนกึ ถึงคนอ่ืน อยา่ งนี้เป็นการนึกผดิ อนั ทจ่ี รงิ คนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั อยแู่ ลว้ เชน่ เปน็ พอ่ แม่ เปน็ ญาติ พน่ี อ้ ง ครอู าจารย์ ถงึ เราจะประพฤตบิ กพรอ่ งอะไรไปบา้ ง กค็ งไดร้ บั อภัย ไม่ถงึ กับจะเกลียดชังกันนกั หรอื ประพฤตไิ ด้เรียบรอ้ ยดี กพ็ อ เสมอตัว 22
เกง่ มากเลย คณุ พอ่ สอนครบั สว่ นคนอ่ืนท่ไี มเ่ คย เกี่ยวขอ้ งกนั เลย ถา้ เราสามารถ ยดึ เหน่ยี วนำ�้ ใจ ใหม้ ารกั นบั ถือตอ่ เราได้ นีแ่ หละนบั เป็นกำ�ไรอย่างดีทสี่ ุด ควรจะถนอมใหค้ งรกั ใคร่นับถือ อยตู่ ลอดไปทเี ดยี ว อยา่ ใหค้ ลายเป็นอย่างอนื่ ได้ คนทุกคน เม่ือเกิดมาแล้ว จำ�ต้องอาศัยพ่ึงพาช่วยเหลือ กนั และกัน ตามชัน้ ที่เก่ียวข้องหรือห่างไกล ใกล้ชิด จึงจำ�เป็นต้อง มีสังคหวัตถุประจำ�ใจไว้ทุกคน เพ่อื เหน่ยี วร้งั นำ�้ ใจให้ผูกพัน รักใคร่ สนมิ สนมกลมเกลยี วกนั ชว่ ยเหลอื กจิ ธรุ ะของกนั และกนั ตามสามารถ จะได้ชอ่ื ว่า ผมู้ คี วามสขุ ตามสมควร หากติดใจสงสัยอย่างไร จะรอไต่ถามพ่อ เกรงชักช้า ก็จง ไต่ถามลุงเถิด เขาอาจอธิบายให้เข้าใจได้เหมือนกัน พ่อขอพักเรื่อง สงั คหวตั ถุ ธรรมส�ำ หรบั ยดึ เหนีย่ วน�ำ้ ใจผอู้ นื่ ไว้เพียงเท่านี้กอ่ น สวสั ดลี ูกรัก วงศ์ ประเทอื งธรรม 23
ค�ำ ถามประจ�ำ บท ๑. สังคหวัตถุ หมายความ อย่างไรบา้ ง ? ๒. ๓. สังคหวัตถุ พอ่ แม่มสี ังคหวตั ถุ แบ่งเป็นก่อี ย่าง ข้อตน้ วา่ กระไร ? กบั ลูกหรือไม่ อย่างไร ? ๔. เขาใชด้ ้ายเย็บเส้ือ กานงำ�้เกใจงคถน้าเจระาคผวูกรมดั ท�ำ อยา่ งไร ? 24
บท๓ท่ี ทาน การใหป้ นั สง่ิ ของ (ส�ำ เนาจดหมายฉบับท่ี ๓) วจิ ติ ร ลูกรกั ตง้ั แตพ่ อ่ สง่ จดหมายฉบบั ท่ี ๒ ถงึ ลกู แลว้ ชวนใหน้ กึ เกรงวา่ ลกู จะไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งสงั คหวตั ถชุ ดั เจน เพราะพอ่ อธบิ ายรวม ๆ กนั ไป สำ�หรับคนผู้ใหญ่อย่างพ่อรู้จักนึกคิดเทียบเคียงเอาเองบ้าง ก็พอ เขา้ ใจได้ แตล่ กู ยงั เปน็ เดก็ นา่ จะเขา้ ใจยาก ฉะนน้ั พอ่ จะแยกอธบิ าย ใหฟ้ ังทลี ะข้อ เชือ่ ว่าคงชว่ ยใหล้ ูกเข้าใจดขี ้ึนเปน็ แน่ พอ่ ไดพ้ ดู มาแลว้ วา่ จะใหค้ นอน่ื รกั ใครเ่ อน็ ดเู รา เราตอ้ งรจู้ กั วธิ ผี กู น�ำ้ ใจเขาไว้ เหมอื นเขาใชด้ า้ ยเยบ็ เสอ้ื กางเกง ใชล้ วดหรอื เชอื ก เย็บสมุดหนังสือ 25
ฉะน้ัน เครื่องสำ�หรับผูกน้ำ�ใจคนก็คือ สังคหวัตถุ เรื่อง ความชว่ ยเหลอื กนั แยกเปน็ ๔ อยา่ ง คอื ทาน การใหป้ นั สง่ิ ของ ๆ ตน แก่ผทู้ คี่ วรให้ เปน็ ขอ้ ท่ี ๑ การใหป้ นั ส่งิ ของ ๆ เราแกค่ นอน่ื น้ี มใิ ชว่ ่า เรามีอะไรอยู่ก็ ขนให้คนอ่ืนจนหมด หรือใครมาขออะไร ก็หยิบให้ทั้งส้ิน ทำ�ดังน้ี ไม่ถกู ลกั ษณะของสงั คหวตั ถุ ตอ้ งอาศยั การใคร่ครวญพจิ ารณาของ เรากอ่ นวา่ ควรจะใหห้ รอื ไมค่ วรใหอ้ ยา่ งไร มหี ลกั ทค่ี วรถอื ไวส้ �ำ หรบั ตรกึ ตรองกอ่ น ๓ อยา่ ง ถา้ เหน็ วา่ การใหข้ องเรา ตรงกบั หลกั อยา่ งใด อยา่ งหน่ึงแล้วเปน็ ใช้ได้ นอกจากนี้ใช้ไมไ่ ด้ ไม่ควรให้ ๑. อนุเคราะห์ ได้แก่ การใหท้ ี่คดิ ชว่ ยเหลอื เมือ่ เห็นผ้ขู อ ยากจนขดั สน หรอื อดอยากจรงิ ๆ เช่น คนขอทาน ตา หู พกิ าร ทำ�มาหากนิ ไม่สะดวก จงึ ยากจนขัดสน มารอ้ งขอกบั เรา ขอให้เจริญนะ เชน่ นี้เรามสี ิง่ ของอะไร ทพี่ อจะชว่ ยเหลือ แก้ความยากจนขัดสนเขาได้ เชน่ เสอ้ื ผา้ อาหาร หรอื สตางค์ ก็อนเุ คราะห์ให้ไป เพ่ือเขาไดน้ �ำ ไปใช้สอยซอ้ื อาหาร 26
ถ้าเราไม่ให้เขาก็คงลำ�บากต่อไป เราให้แก่คนเช่นน้ี นับว่า เปน็ การสมควร ทอ่ี ดุ หนนุ ใหม้ คี วามสะดวกสบายขน้ึ เรยี กวา่ ใหด้ ว้ ย การอนุเคราะห์ ชวนใหผ้ รู้ ับนกึ ถงึ บุญคณุ ของเราตลอดไป ๒. สมเคราะห์ ได้แก่ การให้แก่ผู้ท่ีมีฐานะเสมอกับเรา ไม่ใช่คนยากจนขัดสน ถึงเราจะไม่ให้อะไรแก่เขา ๆ ก็ไม่ลำ�บาก เดอื ดรอ้ น แตเ่ หน็ วา่ เขาเปน็ ญาตพิ น่ี อ้ งกบั เราบา้ ง เปน็ เพอ่ื นอยบู่ า้ น ใกล้เรือนเคียงกับเราบ้าง เป็นเพ่อื นฝูงอย่โู รงเรียนเดียวกันหรือช้นั เดียวกันบ้าง เพ่อื แสดงนำ�้ ใจแผ่เผ่อื อารีนับถือในเขา เรามีของเล่น ของรบั ประทานหรอื ของใชอ้ น่ื ๆ เชน่ สมดุ ดนิ สอ เปน็ ตน้ กเ็ ฉลย่ี ให้ เขาบ้างตามสมควรหรือเขาออกปากยืมส่ิงของหรือสตางค์ เม่ือเรา มีอยู่กย็ ินดีให้ยมื ผมชว่ ยนะ หรือขอรอ้ งใหช้ ่วยเหลือ ทำ�ธรุ ะอะไร พอทำ�ได้ เรากย็ ินดีช่วยทำ�ให้ ตามกำ�ลังสามารถ ของเรา ดังนี้ เรียกวา่ ให้ดว้ ยการสมเคราะห์ ชวนให้ผ้รู ับนกึ ชอบใจ ถงึ ความอารีเผอื่ แผข่ องเรา ๓. บูชาคุณ นี้คือ ให้กับท่านผู้ใหญ่ท่ีมีอายุ ฐานะ คุณ ความดีสูงกว่าเรา เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ครูอาจารย์ ภิกษุ สามเณร เปน็ ตน้ ทา่ นเหลา่ น้ี ไมจ่ �ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งอาศยั การชว่ ยเหลอื อะไรจากเรา 27
แตห่ ากเราระลึกนึกถึง บญุ คณุ ของท่าน ท่ีเลยี้ งดเู รามาบา้ ง แนะน�ำ สง่ั สอนเรา ให้มวี ิชาความรูบ้ ้าง ใหร้ ู้จักประพฤติตัวอย่ทู างดบี ้าง เราอยากตอบแทนพระคุณของท่าน เรามีอะไรเป็นของกินหรือ ดอกไม้งาม ๆ ก็นำ�ไปให้ท่าน เท่ากับแสดงน้ำ�ใจดีต่อท่านว่าเรา ระลึกถึงบุญคุณของท่านอยู่เสมอ อย่างเราไปทำ�บุญใส่บาตรท่ีวัด หรืออย่างที่ลูกฝากอาหารกระป๋องตรา ๓ ทหาร ไปให้พ่อลอง รบั ประทานบ้างน้ัน เป็นตน้ เรยี กวา่ ใหด้ ว้ ยการบชู าคุณ เปน็ การ ชวนให้ผ้ใู หญ่เอน็ ดู เมตตาในเราอยูเ่ สมอ ในลักษณะทั้ง ๓ ข้างต้นนี้ กล่าวตามประเภทของคนที่ ได้รับการเผื่อแผ่จากเรา คือ เป็นชนิดท่ีมีฐานะตำ่�กว่า เราเรียกว่า ให้ด้วยการอนุเคราะห์ ชนิดที่มีฐานะเสมอกับเรา เรียกว่า ให้ด้วย การสมเคราะห์ ชนดิ ทม่ี ฐี านะสงู กวา่ เรา เรยี กวา่ ใหด้ ว้ ยการบชู าคณุ ถา้ มงุ่ ถงึ ความตัง้ ใจท่ีคิดแบง่ ปนั ให้น้นั ก็มีเป็น ๒ ชนิด คอื ๑. ใหเ้ จาะจง ได้แก่ มุง่ ให้เฉพาะแก่คนน้นั คนนี้ เช่น ลกู ให้อาหารกระป๋องแก่พ่อ ให้สมุดดินสอแก่เพื่อนนักเรียน หรือให้ ทานแกค่ นขอทาน เรยี กตามบาลีว่า ปาฏิปคุ คลกิ ทาน ๒. ให้ไมเ่ จาะจง ได้แก่ ม่งุ ใหเ้ พือ่ เป็นประโยชนแ์ กค่ นอื่น ทว่ั ๆ ไป ไม่ม่งุ หมายเฉพาะคนน้นั คนน้ี 28
เชน่ ปลกู ศาลาไวก้ ลางทาง ขดุ บ่อน�ำ้ ไว้ ใครเดินทาง ผ่านไปมาไดพ้ ักอาศยั สร้างโรงเรียนใหเ้ ด็ก ทวั่ ไปไดเ้ ล่าเรยี น สร้างโรงพยาบาล รกั ษาคนปว่ ยเจ็บท่ัวไป เปน็ ต้น เรยี กตามบาลีวา่ สังฆทาน อนง่ึ การใหอ้ ภยั คอื ประพฤตติ วั ใหค้ นอน่ื เขาไวว้ างใจไมค่ ดิ ระแวง เชน่ ใหเ้ ขาไวใ้ จวา่ เราไมเ่ ปน็ คนดรุ า้ ยขม่ เหงใคร เราไมม่ อื ไว ใจเรว็ ลกั เลก็ ขโมยนอ้ ยของใคร เราไมเ่ ปน็ คนตลบตะแลงพดู สบั ปลบั เป็นต้น ใครไดต้ ดิ ตอ่ ใกลช้ ดิ กบั เรา เปน็ ไมต่ อ้ งระแวงภยั กลวั เกรงวา่ เราจะท�ำ ผิดคดิ ร้ายตา่ ง ๆ อย่างท่ลี กู ก็คงเคยพบเคยเหน็ บ่อย ๆ ท่ี บางคนเดินเพลินไปโดนคนอื่นเข้า ต้องขออภัยเขาเพราะความ พล้งั เผลอของตน ไม่ไดแ้ กลง้ โดน การใหอ้ ภัยน้ี ขอโทษครับ ไมเ่ ป็นไร นบั เปน็ ข้อส�ำ คัญ อย่างหน่งึ ถา้ ทุกคนต่างคอย ใหอ้ ภัยตอ่ ความพล้งั เผลอ ผดิ พลาดของผู้อน่ื ทว่ั ๆ ไปแล้ว การทะเลาะวิวาทกันกค็ งจะไมม่ ี 29
อย่างเพ่ือนของลูก ถ้าต่างคอยเอารัดเอาเปรียบโกรธง่าย ใจน้อย ใครกระทบกระทั่งล้อเลียนบ้างเล็กน้อย ก็โกรธไล่ทุบตี หรอื ดา่ วา่ ตา่ ง ๆ อยา่ งนจ้ี ะคบกนั ไมไ่ ด้ เพราะน�ำ้ ใจไมห่ นกั แนน่ เปน็ นกั กฬี า ทั้งใคร ๆ ก็ไมอ่ ยากคบหาคนใจน้อยเชน่ น้ันด้วย เม่ือรักจะเล่นด้วยกัน จำ�ต้องมีนำ้�ใจหนักแน่น นึกให้อภัย ในการพลัง้ พลาด ท่กี ระทบกระแทกกนั หรอื เขาลอ้ เราบ้าง เราลอ้ เขาบา้ ง กจ็ �ำ ตอ้ งใหอ้ ภยั กนั เสยี อยา่ ถอื โกรธงา่ ย ๆ อยา่ งน้ี ทา่ นกจ็ ดั เป็นทานเหมอื นกนั เรียกวา่ อภยั ทาน ส่วนสิ่งของท่ีเราจะให้ ก็จำ�ต้องเลือกให้เหมาะแก่คนที่จะ รบั ไป จะนึกเสยี ว่า มาขอกใ็ ห้ไป ๆ ดงั น้ีไมถ่ ูก บางอย่างของท่ีให้กลายเป็นโทษไปก็ได้ เช่น ยาพิษ ผู้รับ นำ�ไปให้คนอ่ืนรับประทานตายก็มี ให้ของมึนเมา เช่น สุราเมรัย หรอื ให้ความอนุเคราะห์แก่โจรคนร้าย ดงั น้ีกไ็ มค่ วร ตอ้ งเลอื กของทจ่ี ะไมป่ ระทษุ รา้ ยใคร ไมเ่ ปน็ โทษแกใ่ คร และ เหมาะสมแก่ผู้รับ เช่น ให้อาหารแก่คนอดอยาก ให้สมุดดินสอแก่ เพือ่ นนักเรียนทไ่ี มม่ ใี ช้ เป็นต้น จงึ จะเปน็ การใหท้ ่ดี ถี ูกต้อง มฉิ ะน้ัน จะกลายเป็นช่วยให้กำ�ลังแก่คนชั่ว เช่น ให้ข้าวให้น้ำ�แก่คนขโมยท่ี หลบหนเี ขามา เปน็ ต้น การท่ีท่านสอนให้ผูกน้ำ�ใจคนอ่ืนด้วยทาน การให้ส่ิงของน้ี เปน็ คณุ ประโยชน์ ๒ ตอ่ คือ ๑. เปน็ การอบรมฝกึ นสิ ยั ของเรา ใหเ้ ปน็ คนมนี �ำ้ ใจกวา้ งขวาง ไมเ่ ห็นแกต่ ัว คอยอุดหนุนช่วยเหลอื ผูอ้ ืน่ ตามก�ำ ลัง 30
สว่ นคนตระหน่เี หนียวแนน่ มกั มีนสิ ัยอยากได้ เป็นของตัวตลอดไป ไมเ่ ลอื กวา่ ของเลก็ ของใหญ่ คนตระหนี่ จงึ เปน็ คนใจคับแคบ เห็นแก่ตวั เป็นประมาณ ถึงคราวที่ตัวจะต้องอุดหนุนช่วยเหลือคนอื่นบ้าง ก็มัก หลบหลีกทำ�ไม่รู้ไม่เห็น ถ้าเห็นช่องจะได้อะไรบ้าง แม้เป็นส่ิงของ เล็กนอ้ ยเพยี งไร ก็พยายามจนได้ ดังน้ี จงึ ไม่มีใครชอบคนตระหน่ี ๒. เป็นการเช่ือมความสามัคคีกลมเกลียวกันกับผู้ที่ได้รับ อนเุ คราะห์ สมเคราะห์ หรือบชู าคณุ จากเรา ให้มีเมตตาอารีรักใคร่ ในเรา เขามีอะไรท่ีพอจะตอบแทนเราได้ เขาก็มักให้ตอบแทนเรา เหมือนกัน ดงั ค�ำ สอนของพระพุทธเจา้ ข้อ ๑ ว่า ผู้ให้ย่อมผกู ไมตรีไว้ได้ คือ คนท่ีไม่ตระหนี่เห็นแกต่ ัวแล้ว มกั ใจใหญ่ คบเพอื่ นฝงู ผมพาขา้ มนะครับ อนุเคราะห์ สมเคราะห์ ผอู้ นื่ จนสุดกำ�ลงั คนอน่ื ที่ไดร้ บั อนเุ คราะห์ สมเคราะหแ์ ลว้ ยอ่ มเป็นเหตุ ชวนใหค้ ุน้ เคยตดิ ตอ่ ระลึกถงึ สนิทสนมกนั ย่งิ ขนึ้ 31
คนทใ่ี จคบั แคบ ไมเ่ ออ้ื เฟอ้ื เผอ่ื แผก่ บั ใคร มกั จะมเี พอ่ื นนอ้ ย ไม่มีใครอยากคบเพราะตระหน่ี เห็นแก่ตัวเองมากเกินไป ไม่เพียง แต่จะมีเพ่ือนน้อยเท่านั้น ซำ้�จะมีคนเขาเกลียด ไม่อยากอุดหนุน ชว่ ยเหลอื อะไรอกี ดว้ ย ไม่ต้องนึกถึงใครอ่ืน จงนึกถึงตัวลูกเทียบดูก็แล้วกัน เรา ชอบให้คนอื่นประพฤติกับเราอย่างไร เราก็ต้องประพฤติกับคนอ่ืน อย่างนั้นเหมือนกัน จะคอยให้เขาประพฤติดีกับเราฝ่ายเดียว เรา ไม่ดีตอบเขาบ้าง เป็นการเอาเปรียบเกินไป คงไม่มีใครเขาแยแส มาคบค้าสมาคมดว้ ยเลย เพราะฉะนน้ั การใหป้ นั สง่ิ ของ ๆ เราแกผ่ อู้ น่ื ทา่ นจงึ วา่ เปน็ เครอ่ื งผูกน�ำ้ ใจของผ้รู ับให้รักใคร่นิยมนับถอื เมตตากรุณา ตามทพี่ ่อได้อธิบายมานี้ เช่อื ว่าลกู คงเข้าใจชดั เจนดี แตข่ อ ให้ลกู เข้าใจว่า นเี่ ปน็ แต่เพยี ง สังคหวัตถุ เคร่ืองเหนี่ยวรงั้ นำ�้ ใจคนอน่ื ให้รักใครข่ อ้ ตน้ เหมือนใช้เชอื กมัด ไดร้ อบหน่ึง หรือเปราะเดียวเท่าน้ัน 32
ยังไม่นับว่าแน่นแฟ้นดีนัก จำ�ต้องหาวิธีผูกมัดให้ได้หลาย รอบหลายเปราะอกี ต่อไปจงึ จะม่นั คง การผูกน�ำ้ ใจคนในระยะรอบแรก ทา่ นสอนเพยี งแต่ให้ยอม เฉลย่ี แบง่ ปนั สง่ิ ของ ๆ เราแกค่ นอน่ื ถา้ เราไมม่ สี ง่ิ ของอะไรจะใหเ้ พยี ง นกึ ใหอ้ ภัยตอ่ ความพลง้ั เผลอผดิ พลาดของผอู้ ่นื ก็ใชไ้ ด้ แตเ่ ทา่ นก้ี ย็ งั ไมเ่ พยี งพอตอ้ งรจู้ กั ใหค้ �ำ พดู ทไ่ี พเราะออ่ นหวาน แก่เขาอกี จึงจะช่วยรัดน�ำ้ ใจผูอ้ ื่นใหร้ ักใครเ่ อน็ ดเู ราแนน่ ยิง่ ข้นึ ถ้าพ่อจะชี้แจงติดต่อกันไปก็เกรงจะยืดยาว ชวนเบื่อและ เขา้ ใจไขวเ้ ขวกัน จงึ ขอจบแคท่ าน การให้ปนั สิง่ ของ ๆ ตนแกผ่ ู้อน่ื เพยี งขอ้ เดยี วกอ่ น ลกู จะไดม้ เี วลาอา่ นทบทวนเขา้ ใจชดั เจน จนกวา่ พอ่ จะไดเ้ ขยี นอธบิ ายสง่ มาใหม่ สวสั ดลี ูกรัก วงศ์ ประเทืองธรรม 33
ค�ำ ถามประจ�ำ บท ๑. เราเฉลยี่ แบง่ ปนั ให้ แก่คนชนดิ ไหนบ้าง ทเ่ี รยี กว่าให้ดว้ ย การอนเุ คราะห์ ? ๒. ๓. ให้ชนิด เจาะจงน้ัน มคี นเดินมาชนเราโดย อยา่ งไร ? ไม่ได้แกลง้ เขาพดู ขออภัย เราก็ยินดใี หอ้ ภัยไมถ่ อื โกรธ ดงั นีเ้ รียกว่า อภยั ทานได้ หรอื ไม่ เพราะเหตุไร ? ๔. ท�ำ ไมจึงไมม่ ใี คร อยากคบหากบั คนตระหนี่ ? 34
บท๔ที่ ออ่ ปเจนิยรวหาจวจาาาน (สำ�เนาจดหมายฉบบั ที่ ๔) วจิ ติ ร ลกู รกั พ่อได้รับจดหมายของลูกแล้ว ยินดีมากที่ลูกรับรองว่าจะ ประพฤติตัวตามหลกั สังคหวตั ถจุ นเตม็ ก�ำ ลังตลอดไป ทง้ั เพื่อนของ ลูกก็ชอบอ่านจดหมายของพ่อ คอยถามหาอยู่เสมอ ทำ�ให้ปลื้มใจ มาก เพราะคำ�พดู ของพ่อสามารถเป็นประโยชน์แกค่ นอ่นื หลายคน เอาเถอะพ่อจะพยายามช้ีแจงส่งไปให้เร็วกว่าเคย กำ�ลังมีเวลาว่าง พอคดิ เขยี นอะไรไดบ้ า้ งแลว้ แตอ่ ยา่ ตวิ า่ ลายมอื พอ่ ยงุ่ เหยงิ ถอ้ ยค�ำ สำ�นวนรุงรงั นะ นาน ๆ จะไดจ้ บั ดินสอปากกากับเขาสกั ครง้ั หนง่ึ 35
คราวนี้ พ่อจะพูดถึงเคร่ืองสำ�หรับผูกนำ้�ใจเปราะที่ ๒ คือ ปิยวาจา เจรจาวาจาท่ีอ่อนหวาน ใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจ้งวา่ ผกู น้ำ�ใจคน ได้อย่างไรต่อไป แตข่ อย�ำ้ เสยี กอ่ นวา่ จดหมายทพ่ี อ่ มถี งึ ลกู พลอยท�ำ ประโยชน์ ไปถึงเพื่อนของลูกด้วยน้ี จะนับเข้าในข้อปิยวาจาก็ได้เหมือนกัน เพราะหนังสือ ก็คือคำ�พูดของคนนั่นเอง จึงทำ�ให้พ่อขยันเขียนขึ้น อีกมาก อย่างไรเรียกว่า สวสั ดีจะ้ วาจาออ่ นหวาน ก็คอื ค�ำ พูดที่ สละสลวยออ่ นโยน ผู้ฟังรสู้ ึกดูดดมื่ จบั ใจ ฟังนิม่ นวลไม่แสลงหู เช่นค�ำ จ๊ะ จา๋ คณุ เธอ เปน็ ต้น เร่ืองคำ�พูดน้ี ต้องอาศัยสังเกตว่า บ้านไหน ตำ�บลไหน หรอื สมาคมไหน เขานิยมถอ้ ยค�ำ อย่างไรว่าออ่ นหวานน่าฟัง กต็ ้อง ผ่อนผันนิยมใช้ถ้อยคำ�อย่างน้ันตาม อย่างที่บ้านเรากับกรุงเทพฯ กน็ ยิ มค�ำ พดู ผดิ เพย้ี นกนั อยบู่ า้ งแลว้ ลกู อยทู่ ก่ี รงุ เทพฯ หรอื ทโ่ี รงเรยี น เขานยิ มพดู ถอ้ ยค�ำ ออ่ นหวานกนั อยา่ งไร หรอื ครสู ง่ั สอนอยา่ งไร กต็ อ้ ง ฝกึ หดั คลอ้ ยตาม อยา่ ดอ้ื ถอื รน้ั ใชค้ �ำ พดู อยตู่ ามเดมิ จะถกู เขาเยาะเยย้ ให้ได้อาย แต่เมื่อจะพูดตามหลักในพระศาสนาของเราแล้ว ถ้อยคำ� ท่ีถือว่าควรพูดน้ัน มิใช่แต่เพียงทำ�ให้ผู้ฟังเบิกบานดูดด่ืมจับใจ 36
อย่างเดียว เพราะถึงเป็นถ้อยคำ�อ่อนหวาน แต่ถ้าเป็นเร่ืองโกหก หรือยุแหย่กนั กใ็ ชไ้ ม่ได้ ค�ำ พดู ทด่ี ที น่ี ยิ มในพระศาสนาของเรา ตอ้ งใหป้ ระกอบดว้ ย ถ้อยคำ�อ่อนหวาน และซื่อตรง เป็นประโยชน์ดี เหมาะกาลสมัย อีกด้วย จึงจะนับว่าเป็นคำ�พูดท่ีดีแท้ ฉะน้ัน ท่านจึงวางหลักห้าม การพูดไว้ ๔ ชนดิ คอื ๑. มุสาวาท พูดเท็จ ข้อนีห้ มายถึงวา่ พดู ใหค้ นอืน่ รู้ ดว้ ย ตั้งใจให้ผิดจากเรื่องท่ีเป็นจริง เช่น เรามาโรงเรียนสายเพราะไถล เทีย่ วเล่น แตบ่ อกกับครูวา่ รบั ใชผ้ ปู้ กครอง ดังนีเ้ ปน็ ต้น ไปทางโนน้ ครับ ถึงจะไม่พดู ด้วยปาก เพียงแต่ใชก้ ริ ยิ า เช่น พยักหนา้ หรือขยิบตา ทีส่ ดุ จนเขยี นหนงั สอื ถ้าทำ�ให้ผิดจากความเป็นจริงแล้วท่านเรียกว่า มุสาวาท พูดเท็จ ห้ามไม่ให้พูดทั้งนั้น ท่านต้องการให้พูดตามเรื่องท่ีเป็น ความจรงิ อยา่ งไรเทา่ นัน้ เรื่องเด็กเล้ียงแกะในนิทานสุภาษิต ต้องถูกหมาป่ารุมกิน แกะเสียหมดฝูง ก็เพราะโทษพูดหลอกลวงโกหกคนอ่ืนจนเขาเข็ด ถงึ คราวพดู จรงิ บา้ ง กไ็ มม่ ใี ครเชอ่ื ตอ้ งไดร้ บั เดอื ดรอ้ นเสยี หาย เพราะ การพดู เทจ็ ของตนเองมิใชห่ รอื 37
๒. ปิสุณาวาจา พูดส่อเสียด ได้แก่ พูดยุแหย่คนน้นั ด้วย เรอ่ื งทเ่ี ปน็ จรงิ บา้ ง ไมจ่ รงิ บา้ ง ใหเ้ ขาโกรธกนั ทะเลาะกนั ดงั น้ี เปน็ การทำ�ให้แตกร้าวไม่สามัคคีกลมเกลียวกัน ท่านจึงห้ามไม่ให้พูด ทา่ นสอนใหพ้ ดู ในท�ำ นองชกั ชวนใหร้ กั ใครช่ อบพอ เหน็ ใครเคอื งใคร โกรธกนั กช็ ว่ ยพดู ชกั นำ�จนหายเคอื งหายโกรธ กลบั รกั ใครช่ อบพอ กนั ใหม่ ๓. ผรุสวาจา พูดค�ำ หยาบ ได้แก่ ถ้อยค�ำ วาจาไม่ชวนฟัง ไมด่ ดู ดม่ื น�ำ้ ใจ ฟงั ระคายหู ทา่ นจงึ หา้ มไมใ่ หพ้ ดู ทา่ นสอนใหพ้ ดู แต่ ถอ้ ยคำ�ออ่ นหวาน ชวนฟงั ดังปยิ วาจาทีพ่ อ่ ก�ำ ลังอธบิ ายอยนู่ ้ี ๔. สมั ผปั ปลาป พดู เพอ้ เจอ้ ไดแ้ ก่ พดู ตลกคะนองเหลวไหล ไมเ่ ปน็ เรอ่ื งราวยดึ ถอื อะไรเปน็ หลกั จรงิ จงั มไิ ด้ อยา่ งทเ่ี รยี กวา่ พดู พลา่ ม เสยี เวลาเสยี ประโยชนไ์ ปเปลา่ ๆ ทา่ นจงึ หา้ ม ทา่ นตอ้ งการใหพ้ ดู แต่ ถ้อยคำ�ท่มี ีหลักฐานมีประโยชน์ เช่นพูดคุยไต่ถามกันในวิชาที่เรียน หรือการบ้านที่ครูสั่งให้ทำ� ชวนเล่นออกกำ�ลังบำ�รุงอนามัย ดังนี้ ทา่ นไมห่ ้าม เพราะไดป้ ระโยชนเ์ กีย่ วกับการเรียนดีแล้ว ตามหลกั การพดู ของพระศาสนาน้ี ลกู อา่ นแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ การพดู วาจาออ่ นหวาน ไม่พดู หยาบคาย กอ็ ยใู่ นหลักขอ้ ที่ ๓ เหมอื นกนั แต่ควรเข้าใจใหก้ วา้ งกว่า ถึงพูดได้อ่อนหวานเพียงไร กอ็ ยา่ ใหเ้ กย่ี วข้องกับอีก ๓ ข้อนัน้ ด้วย จึงจะเปน็ วาจาผกู น�ำ้ ใจคนอืน่ ได้ดี 38
มิฉะน้ัน จะผูกน้ำ�ใจเขาไว้ไม่แน่น เพราะไม่นานเขาคงจับ ผิดได้ เหมอื นเชอื กเป่อื ยใชไ้ มเ่ ทา่ ไรกข็ าด การพดู ของคนเรา นับวา่ เป็นของสำ�คญั อย่างย่งิ คนอน่ื จะ รนู้ สิ ยั ใจคอของเราได้ กเ็ พราะฟงั จากค�ำ พดู ของเรานน่ั เอง ถงึ คนใบ้ พูดไม่ได้ ก็ทำ�กิริยาบอกใบ้พอให้คนอ่ืนรู้อย่างเดียวกับเราไม่พูด ด้วยปาก แต่เขียนหนังสือบอกให้คนอ่ืนรู้เรื่องได้ ฉะนั้น จะพูดดี พดู ชว่ั หรอื พดู ใหค้ นรกั พดู ใหค้ นเกลยี ดกเ็ พราะปากของเรานแี่ หละ โบราณทา่ นจึงว่า “พดู ดี เปน็ เงนิ เป็นทอง” และ “สกั วาหวานอน่ื มหี มืน่ แสน ไม่เหมอื นแมน้ พจมานทหี่ วานหอม กล่นิ ประเทียบเปรยี บดวงพวงพยอม อาจจะน้อมจิตโนม้ ด้วยโลมลม แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลมื้ ดังดูดด่ืมบอระเพด็ ต้องเขด็ ขม ผดู้ ีไพร่ไมป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมินหนา้ ระอาเอย” 39
ทาน การใหป้ นั ในข้อตน้ ของสังคหวตั ถนุ นั้ เป็นการใหว้ ัตถุ สงิ่ ของแกค่ นอ่นื ส่วนปิยวาจา พูดถ้อยคำ�อ่อนหวานกับผู้อื่น นี่เท่ากับเป็น การใหด้ ว้ ยค�ำ พดู และการพดู หยาบคาย หรอื พดู ไพเราะออ่ นหวาน ก็มีอยู่ในตัวเราเอง ไม่ต้องลงทุนออกแรงเที่ยวหามาจากอ่ืน ควรท่ี เราจะให้ทานคำ�พูดที่อ่อนหวานฟังเพราะหู เป็นท่ีดูดด่ืมจับใจให้ คนเขารักใคร่นับถือมิดีกว่าหรือ การพูดให้เขาเกลียดตัวเอง จะมี ประโยชน์อะไร การพูดถ้อยคำ�อ่อนหวาน เหนี่ยวรั้งนำ้�ใจคนอื่น ให้รักใคร่ นบั ถอื ไดอ้ ยา่ งไรนน้ั ไมต่ อ้ งดอู น่ื ไกล ลกู จงนกึ เทยี บกบั ตวั ลกู เองวา่ ถา้ จะมใี ครมาพดู กระโชกโฮกฮาก ขน้ึ มงึ ขน้ึ กู ลกู จะนกึ นยิ มชมชอบ หรอื ไม่ ลกู คงตอบไดท้ นั ทวี า่ ไมช่ อบ นกึ เกลยี ดและโกรธขน้ึ มาทนั ที นกี่ ็เพราะคำ�หยาบไมม่ ีใครอยากฟังเลยมใิ ช่หรือ กบั ถา้ มคี นมาพดู จาออ่ นหวานดว้ ย ลกู คงนกึ ชอบนกึ รกั ใคร่ ถึงจะให้ช่วยทำ�ธุระงานการอะไรบ้าง ก็คงยินดีช่วยจนเต็มกำ�ลัง นก่ี ็เพราะการใช้ถ้อยคำ�อ่อนหวาน ดดู ดมื่ น้ำ�ใจนนั่ เอง เราเองไมช่ อบคำ�หยาบ คนอื่นก็ไม่ชอบเหมอื นกัน เมอ่ื ตัวเราไม่ชอบให้ คนอ่ืนพูดหยาบคาย เรากไ็ มค่ วรจะพดู หยาบคายกับคนอื่น เราชอบใจคนท่ีพดู อ่อนหวาน เรากค็ วรพดู ออ่ นหวานกบั คนอ่ืนทวั่ ไป 40
ลูกเคยอ่านหนังสือนิทานสุภาษิตมาแล้ว จำ�เรื่องโคนันทิ- วิสาลไดห้ รอื ไม่ ลากไปเลย พอ่ โคจา๋ โคนันทิวิสาลเป็นสัตว์ยังไม่ชอบคำ�หยาบคาย ท่ีเจ้าของขู่ ตะคอกว่า “เฮย้ อ้ายโคข้ีเกยี จมึงจงลากเกวยี นไป” แต่กลับชอบคำ�อ่อนหวาน ที่เจ้าของพูดปลอบในตอนหลัง ว่า “พอ่ มหาจ�ำ เริญ พ่อจงลากเกวียนไป” เจ้าของต้องแพ้พนันเสียเงิน ก็เพราะปากของตนพูดคำ� หยาบคาย ภายหลังกลับชนะได้เงิน ก็เพราะปากของตนเองพูด ออ่ นหวาน เชน่ นล้ี กู พอจะเหน็ ไดห้ รอื ยงั วา่ การพดู ถอ้ ยคำ�ออ่ นหวาน สามารถยดึ เหน่ียวน�ำ้ ใจคนอื่นใหร้ กั ใครน่ บั ถือไดอ้ ย่างแทจ้ ริง 41
อีกประการหน่ึง พระพุทธเจ้าของเรา ท่านไม่เคยพูด คำ�หยาบคาย พูดเท็จ พูดสอ่ เสียด หรือตลกคะนองกบั ใครเลย ค�ำ พดู ของทา่ นล้วนแต่ ไพเราะอ่อนหวาน ตั้งแต่เรม่ิ ข้ึนตน้ ท้ังตอนกลาง ตลอดจนจบสดุ ท้าย สมเหตุสมผล และเปน็ จรงิ ทกุ ๆ คำ� จงึ มคี นนบั จ�ำ นวนไมถ่ ว้ นเคารพนบั ถอื สกั การบชู ากราบไหว้ พระองค์มาถึงทุกวันนี้ นับเป็นเวลาตั้ง ๒,๔๐๐ ปีเศษแล้ว ก็ยัง ไม่เส่ือมศูนย์คลายความนับถือ ตลอดจนพ่อและลูกก็เคารพนับถือ ท่าน และเร่ืองสังคหวัตถุที่พูดถึงอยู่น้ี ก็เป็นคำ�สั่งสอนของท่าน คำ�สั่งสอนของท่านท้ังหมด ท่ีเราเรียกกันว่า พระธรรม นี่แหละ นับเข้าได้ในข้อปิยวาจา เจรจาอ่อนหวาน จึงสามารถผูกนำ้�ใจคน หลายชาติ หลายภาษา หลายบา้ น หลายเมอื ง ให้เคารพกราบไหว้ พระองคอ์ ย่จู นทุกวนั น้ี พ่อได้พูดอธิบายถึงปิยวาจา เจรจาวาจาท่ีอ่อนหวาน ซึ่ง เปน็ ข้อที่ ๒ ในสังคหวตั ถุ มาใหฟ้ งั ยืดยาว กเ็ พื่อใหล้ ูกเข้าใจ ร้สู กึ เห็นคุณประโยชน์ของปิยวาจาแล้ว จะได้หัดประพฤติตัวตามอย่าง เป็นหนทางผกู นำ�้ ใจคนอื่นให้รกั ใคร่ สนิทสนม อยากคบคา้ สมาคม ด้วย เหมือนเป็นเชือกเปราะท่ี ๒ จะทำ�ให้ความรักใคร่เอ็นดูของ ผู้อ่ืนมนั่ คงยิง่ ขึ้น 42
สำ�หรับตัวลกู เทา่ ที่ พอ่ สังเกต เม่ือยังไม่ถูกยัว่ ให้ โกรธเคืองหรือขัดใจ ก็ยัง ไม่เคยได้ยินว่า ใช้ถ้อยคำ� หยาบคายอะไรนกั แตพ่ อถกู ยวั่ เขา้ แลว้ ออกจะหยาบคาย เหลือทนอยู่สกั หน่อย ต่อไปนี้ พอ่ ขอเตอื น ว่าก่อนจะพูดอะไรกับใครจงนับแต่ ๑ ไปจนถึง ๑๐ เสียก่อน จึง ค่อยพูด เพ่อื จะได้มีเวลาคิดหาค�ำ พดู ทอ่ี อ่ นหวาน อยา่ ผลนุ ผลนั พดู ออกไปทันที ถ้ามีใครมาพูดย่ัวเกิดโกรธขัดใจข้ึนมา กำ�ลังนับ ๑ ถงึ ๑๐ อยู่ ความโกรธเคอื งนน้ั กจ็ ะคอ่ ยเบาบางลงพอจะนกึ ถงึ ค�ำ พดู ทอ่ี อ่ นหวานได้ ไมถ่ งึ กบั ลมื ตวั พดู ไปดว้ ยก�ำ ลงั ความโกรธ ถา้ ลกู หมน่ั หัดประพฤติตัวได้เช่นน้เี สมอไป พ่อเช่ือว่า ลูกจะมีเพ่ือนอีกมาก ท้ังผู้ใหญ่ก็จะเมตตากรุณาย่ิงข้ึนทั้งพระพุทธเจ้าก็ทรงสรรเสริญว่า เป็นคนงาม ท่ีลูกบอกมาว่า หยุดเทอมนี้ จะชวนเพ่ือนไปเที่ยวบ้านสัก ๒-๓ คน พ่อยนิ ดีตอ้ นรับ จะได้สงั เกตนสิ ัยใจคอพวกเพอื่ นของลกู ดูบ้าง ขอจบเรือ่ งปิยวาจา เจรจาวาจาที่ออ่ นหวานแตเ่ พียงนี้ สว่ น ขอ้ อัตถจริยา ประพฤติเปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้อน่ื พ่อจะได้เขียนเลา่ ให้ ฟังในฉบบั ต่อไป สวัสดลี กู รัก วงศ์ ประเทอื งธรรม 43
ค�ำ ถามประจ�ำ บท ๑. ท่านหา้ มการพดู ท่ีไม่ดี ไว้ก่ีอยา่ ง อย่างท่ี ๑ ทา่ นหา้ มว่ากระไร ? ๒. ๓. การพดู ดว้ ยปากกับการ ตอ้ งพูดด้วยถอ้ ยคำ� เขยี นหนงั สือ นบั เปน็ อย่างไร คนฟงั จงึ จะ อยา่ งเดียวกันหรอื ไม่ รักใคร่เอ็นดู ? เพราะเหตไุ ร ? ๔. เวลาโกรธมักจะ พดู ดีไม่ได้ จะมีวิธีแก้ ใหพ้ ูดดไี ด้เสมอ อย่างไรบา้ ง ? 44
บท๕ที่ อตั ถจรยิ า ประพฤติ ประโยชน์ (สำ�เนาจดหมายฉบับที่ ๕) วิจิตร ลูกรกั ในระหว่างนี้ พ่อต้องไปช่วยท่านสมภารที่วัดเหนือบ้านมุง หลงั คากฏุ ิ และเตรยี มจะปลกู โรงเรยี นนกั ธรรมอกี ดว้ ย พองานทาง วดั ว่างมือลงบา้ ง พวกญาตทิ างใตบ้ า้ นก็มาขอแรงไปชว่ ยปลกู ศาลา ทก่ี ลางทงุ่ ส�ำ หรบั คนเดนิ ทางไปมาพกั อาศยั และขดุ บอ่ น�ำ้ ดว้ ย กวา่ จะเสร็จก็หลายวัน ไม่ค่อยมีเวลาอยู่ที่บ้าน การเขียนอธิบายเรื่อง สังคหวัตถุจึงพลอยติดขัดล่าช้าไปด้วย เวลานี้กำ�ลังว่างจะได้เริ่ม อธบิ ายตอ่ ไป 45
เมื่อพ่อไปช่วยทำ�งานอยู่ที่วัดนั้น พระท่านเล่าเรื่องจาก หนังสือพิมพ์ให้ฟังว่า พวกยุวชนได้ช่วยเหลือชาวบ้านที่ถูกไฟไหม้ จนตกลงมาจากหลังคาถึงกับสลบ และบางคนก็ช่วยจับผู้ร้ายส่ง ตำ�รวจก็มี ได้รับการยกย่องสรรเสริญจากทางราชการเป็นอันมาก พ่อพลอยปล้ืมใจแทน ด้วยมาคดิ เห็นวา่ เด็ก ๆ ของเราสมัยน้ไี ดร้ ับ การฝกึ หดั อบรม ใหร้ จู้ กั ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ตามก�ำ ลงั แรงของตวั ไมน่ ง่ิ เฉย ดดู าย นบั วา่ จะเปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตติ อ่ ไปในภายหนา้ เปน็ อยา่ งดีย่งิ อนั ทจ่ี รงิ การยอมเสยี สละความสขุ สบายสว่ นตวั ออกวง่ิ เตน้ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ตามก�ำ ลงั เชน่ น้ี นบั วา่ เปน็ หนา้ ทโ่ี ดยตรงของคนทกุ คน ทเี ดยี ว ถา้ ตา่ งไมช่ ว่ ยเหลอื กนั ตา่ งคนตา่ งอยู่ ตา่ งคนตา่ งหาอาหาร หาเครอ่ื งนงุ่ หม่ หาบา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั เอาเองแลว้ จะมชี วี ติ ตลอดมา จนเติบโตไม่ได้เลย คงตายเสียเมื่อยังเป็นเด็กอยู่นั่นเอง เพราะไม่มี ก�ำ ลงั จะหาอาหารกินเองได้ แตท่ ีเ่ ป็นอย่ไู ดท้ ุกวนั น้ี อาศัยการชว่ ยเหลืออุดหนุนกัน เรมิ่ แต่พอ่ แม่ พ่ปี ้าน้าอา ครูอาจารย์ ญาตมิ ติ ร หรือแม้คนอน่ื ตา่ งชว่ ยกัน คนละเล็กละน้อย ทำ�อาหารแลกเปลย่ี นเคร่อื งนุ่งหม่ บา้ ง ทำ�เครื่องใชแ้ ลกเปลยี่ นอาหารบา้ ง ทำ�ของอย่างอ่นื บา้ ง เป็นต้น อย่างที่เราเหน็ เขาซือ้ ขายกันอยู่ทุกวันน้ี 46
ตา่ งไดอ้ าศยั ก�ำ ลงั แรงจากกนั และกนั จงึ พอเปน็ สขุ สบายตามสมควร เช่นนเ้ี รยี กว่า ตา่ งคนต่างอาศัยท�ำ ประโยชนใ์ หแ้ ก่กันและกนั เมอ่ื จะกลา่ วใหต้ รงกบั สงั คหวตั ถขุ อ้ วา่ อตั ถจรยิ า ประพฤติ เป็นประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่ืนน้ันแลว้ ก็เหมอื นเรายอม เสยี สละสิง่ ทมี่ อี ยู่ คอื กำ�ลังกายของเรา ออกทำ�ประโยชน์ แก่คนอน่ื อยา่ งพอ่ ไปช่วยทา่ นสมภารทว่ี ัด หรือชว่ ยญาตปิ ลกู ศาลา นี่ก็เป็นการเอากำ�ลังกายออกช่วยเหลือกันและกันตามควร และศาลา บ่อน้ำ�นั้น ก็เพื่อคนเดินทางไปมาอาศัยพักผ่อน ชื่อว่า เป็นการทำ�ประโยชน์ ให้ความสะดวกสบายแกค่ นอืน่ อกี เหมอื นกนั ลูกคงเห็นตามประตูบ้านเขาตั้งหม้อน้ำ�ไว้สำ�หรับคนเดิน ผ่านไปมารับประทาน และท่อน้ำ�ประปาที่ตั้งตามริมถนน หรือ ไฟฟา้ ตามถนนทว่ั ไป เหลา่ นก้ี เ็ ปน็ เรอ่ื งทร่ี ฐั บาลมงุ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ แก่ราษฎรเหมือนกัน ลูกเสือ ยุวชนที่ช่วยคนจมน้ำ� ช่วยคนถูก ไฟไหม้ ก็ล้วนแต่ต่างมีน้ำ�ใจมุ่งกระทำ�ประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นทั้งนั้น เรยี กตามหลกั ของสงั คหวตั ถวุ า่ อตั ถจรยิ า ประพฤตสิ ง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ แก่ผู้อื่น เพราะฉะนั้น การทำ�ประโยชน์แก่ผู้อื่นท่านจึงจัดแบ่งวิธี กระท�ำ ออกเป็น ๒ อย่าง คือ 47
๑. ทำ�ดว้ ยก�ำ ลงั กาย เชน่ ชว่ ยยก รื้อ แบก หาม ชว่ ยคน เป็นลม คนจมน้ำ�เป็นต้น ท่านเรียกว่า ไวยาวัจจ คือ การช่วย ขวนขวาย ๒. ท�ำ ดว้ ยการพดู คอื ชว่ ยตกั เตอื นคนทป่ี ระพฤตไิ มด่ ี เชน่ เหน็ เขาเลน่ การพนนั หยอดหลมุ ทอยกอง ปา่ ยปนี ตน้ ไมต้ ามรมิ ถนน ขดี เขยี นตามสถานทต่ี า่ ง ๆ เลอะเทอะสกปรก เปน็ ตน้ ชว่ ยตกั เตอื นให้ เขารจู้ กั ผดิ ชอบชว่ั ดี ทา่ นเรยี กวา่ สมาทปนา คอื ชกั ชวนใหป้ ระพฤตดิ ี รวมความวา่ เมอ่ื เหน็ กจิ การอะไร เปน็ คณุ งามความดี เปน็ สุขสบายแก่ผู้อื่น เราสามารถช่วยได้ด้วยกำ�ลังกาย หรือช่วยด้วย การพดู จาแนะนำ�ตักเตือน กเ็ ต็มใจกระท�ำ อยา่ นึกเสียว่า ช่างเขา เป็นไร ไมใ่ ช่กงการอะไรของเรา ดังน้ี เปน็ การชวนให้ท�ำ ใจคับแคบ ขาดหลักของสังคหวตั ถไุ ปเสยี ตามท่อี ธิบายมา แสดงใหเ้ หน็ การท�ำ ประโยชน์ แกผ่ อู้ น่ื ในวงกว้าง เกีย่ วกับคนท่วั ไป จะมผี ลยอ้ นมาใหร้ ้สู ึก เป็นการรกั ใคร่เอ็นดกู นั ได้ยาก แตเ่ มื่อทำ�ได้ กเ็ ปน็ ความดีอย่แู ก่ตัว ไม่สญู หายไปไหน อมิ่ ใจเม่ือนกึ ถึง นอ้ ยคนนกั ทจ่ี ะประพฤตไิ ด้ มแี ตม่ งุ่ กระท�ำ เจาะจงเฉพาะคน เชน่ ท�ำ แกพ่ ่อแม่ ครอู าจารย์ ญาติมิตร เปน็ สว่ นมาก เพราะไดผ้ ล ตอบแทนเป็นความรักใครเ่ อ็นดูกันงา่ ย 48
Search