Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เด็กเรียนรู้ช้า คู่มือสำหรับครู

เด็กเรียนรู้ช้า คู่มือสำหรับครู

Description: เด็กเรียนรู้ช้า คู่มือสำหรับครู

Search

Read the Text Version

เดก็ เรยี นรชู า คมู อื สาํ หรบั ครู

ช่อื หนงั สือ : เดก็ เรยี นรูชา คูมอื สําหรบั ครู จัดพมิ พโ ดย : สถาบันราชานกุ ูล พิมพครงั้ ท่ี 1 : สิงหาคม 2555 จํานวนพิมพ : 1,000 เลม พิมพท ี่ : บรษิ ทั บียอนด พบั ลิสช่งิ จํากดั 2 เดก็ เรียนรูชา คูมอื สําหรับครู

คํานํา เด็กเรียนรูชาคือเด็กที่เรียนรูส่ิงใดอยางเชื่องชา ใชเวลานาน ในการเรยี นรสู งิ่ ใหมๆ ไหวพรบิ ปฏภิ าณไมท นั เพอ่ื นในวยั เดยี วกนั เดก็ จะมปี ญ หา การเรียนและมกั เกดิ ปญ หาอารมณหรอื พฤตกิ รรมตามมา เปน ท่ที ราบกนั ดีวา หลกั การสอนเดก็ เรยี นรชู า คอื การสอนซา้ํ ยาํ้ และทวนบอ ยๆ การยอ ยงานและ การกระตนุ ในคมู อื น้ี ไดม กี ารเพม่ิ เตมิ เทคนคิ ในการสอนเดก็ เรยี นรชู า และการดแู ล ชวยเหลือดานอารมณจิตใจ หลักการสรางแรงจูงใจ และการปรับพฤติกรรม ซึ่งเปนการรวบรวมความรูท้ังจากตําราและจากขอมูลที่ไดจากการสัมมนา แลกเปลยี่ นเรียนรปู ระสบการณร ะหวา งผูปกครอง ครแู ละครูการศกึ ษาพเิ ศษ ทมี่ ปี ระสบการณก บั เดก็ เรยี นรชู า นาํ มาเรยี งรอ ยเปน คมู อื ทง่ี า ยตอ การทค่ี ณุ ครู จะนําไปปฏิบัติจริง คณะผูจัดทําหวังวาคูมือเลมนี้นาจะเปนตัวชวยที่ดีในการ ดแู ลเดก็ เรียนรูชา ตอไป คณะผจู ัดทํา เดก็ เรียนรูช า คมู ือสําหรบั ครู 3

4 เดก็ เรียนรชู า คมู อื สําหรบั ครู

สารบัญ คําจํากดั ความ 7 ลกั ษณะของเดก็ เรียนชา (Slow learner) 10 ลักษณะของเด็กทมี่ ีความบกพรองทางสติปญญาระดบั นอย 13 สาเหตุของภาวะเรียนรูช า 15 การชว ยเหลือเดก็ เรียนรชู า ในโรงเรยี น 18 การจัดการชน้ั เรยี นสําหรบั เดก็ เรยี นรูช า 19 การชวยเหลอื เด็กเรียนรูช าในชน้ั เรยี น 25 การสรา งทักษะสาํ คญั ใหก บั เดก็ เรียนรูช า 29 เอกสารอางองิ 40 ภาคผนวก 43 เด็กเรยี นรชู า คูม อื สาํ หรับครู 5

เดก็ เรียนรชู า คมู ือสาํ หรบั ครู 6 เดก็ เรยี นรูชา คมู อื สาํ หรบั ครู

เด็กเรียนรชู า คาํ จํากดั ความ เด็กเรียนรูชา ในคูมือน้ี หมายถึง เด็กท่ีมีปญหาการเรียนที่เกิดจาก เดก็ มรี ะดบั เชาวนป ญ ญาตา่ํ กวา เกณฑป กติ โดยกลา วถงึ เฉพาะกลมุ เดก็ เรยี นชา (Slow learner) และกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) เน่ืองจากโครงการวิจัยพัฒนา ตวั แบบเชงิ ระบบการจดั การการเรยี นรสู าํ หรบั กลมุ เดก็ พเิ ศษฯ ดาํ เนนิ โครงการ ในโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาภาคปกติเทาน้ัน จึงไมไดกลาวถึงการชวยเหลือ เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ งทางสตปิ ญ ญาในระดบั ปานกลางทอ่ี ยใู นระบบการศกึ ษาพเิ ศษ และเด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงที่ไมสามารถเขาสู ระบบการศกึ ษาได เดก็ เรียนรูชา คมู ือสําหรบั ครู 7

เด็กเรียนชา (Slow learner) หมายถึง เด็กที่มีปญหาการเรียน อันเนื่องมาจากระดับเชาวนปญญาต่ํากวาปกติ ปญหาอาจเกิดจากเด็กที่มี การรับรูและเขาใจไดชาหรืออาจเปนเด็กดอยโอกาสทางสังคม ทางวัฒนธรรม หรือทางเศรษฐกจิ มากจนมีผลกระทบตอ เชาวนปญ ญา แตไมจ ดั วาเปน เด็กท่มี ี ความบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา หากทดสอบระดับเชาวนปญญา จะพบวามรี ะดบั เชาวนปญญาอยรู ะหวา ง 70-89 เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ งทางดา นสตปิ ญ ญาระดบั นอ ย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) หมายถึง เด็กที่มีความสามารถสติปญญาและ ความสามารถในการปรับตัวตํ่ากวาเกณฑปกติ ซ่ึงความบกพรองนี้จะเกิดข้ึน ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งของพัฒนาการเด็ก แตจะตองเกิดกอนอายุ 18 ป หากทดสอบระดับเชาวนปญญา จะพบวามีระดับเชาวนปญญาอยูระหวาง 50-69 เพื่อชวยใหเห็นภาพของคําจํากัดความมากย่ิงขึ้น จะขอกลาวถึง การแบง ระดบั เชาวนปญ ญา (Intelligence Quotient, IQ) ของ Wechsler Intelligence Scale for Children – Revised (WISC-R) ซึ่งเปนเครอื่ งมอื ในการทดสอบเชาวนป ญ ญา ซงึ่ แบงระดบั เชาวนป ญญาดังนี้ 8 เด็กเรยี นรชู า คมู ือสาํ หรับครู

คา ตวั เลข IQ การแบง ระดับเชาวนปญ ญา 130 ขึน้ ไป จัดอยูในกลมุ สติปญญาอจั ฉริยะ 120 -129 จัดอยูในกลมุ สติปญ ญาฉลาดมาก 110 – 119 จัดอยใู นกลมุ สติปญ ญาคอ นขางฉลาด 90 – 109 จัดอยใู นกลมุ สติปญ ญาอยใู นเกณฑปกติ (normal) 80 – 89 จดั อยใู นกลมุ สตปิ ญ ญาตาํ่ กวาเกณฑ (Low average) 70 - 79 จดั อยใู นกลมุ สติปญ ญาคาบเสน (Borderline) 50 - 69 จดั อยใู นกลมุ ท่ีมคี วามบกพรองทางสตปิ ญญาระดบั นอ ย (Mild Intellectual Disability) 35 - 49 จัดอยูในกลมุ ทีม่ คี วามบกพรอ งทางสตปิ ญญาระดับปานกลาง (Moderate Intellectual Disability) 20 - 34 จัดอยใู นกลมุ ทีม่ คี วามบกพรอ งทางสตปิ ญญาระดับมาก (Severe Intellectual Disability) ตํ่ากวา 20 จดั อยูใ นกลุม ทมี่ คี วามบกพรอ งทางสติปญ ญาระดับรุนแรง (Profound Intellectual Disability) จากระดับเชาวนปญญา จะเห็นวาเด็กเรียนชา (Slow learner) คือ เด็กท่ีมีคาระดับเชาวนปญญาระหวาง 70 - 89 ซึ่งจะรวมกลุมเด็กที่มีระดับ เชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑ (Low average) และเด็กที่มีระดับเชาวนปญญา คาบเสน (Borderline) ไวดว ยกนั เด็กเรียนชา (Slow learner) และเด็กท่ีมีความบกพรอง ทางสติปญญาระดับนอยทั้งสองกลุม นี้ คอื เดก็ ท่ีจะพบในโรงเรยี นปกติ จดั เปน เด็กท่ีมีความตองการพิเศษ โดยเฉพาะเด็กท่ีชวยเหลือตนเองไดดี คุณครู และผูปกครองจึงไมทราบปญหาจนเขาเรียนไประยะหนึ่งแลวพบวาเด็กเรียน ไมทันเพื่อนนน่ั เอง เด็กเรียนรชู า คมู ือสําหรับครู 9

ขอ สงั เกต ลักษณะของเดก็ เรียนชา (Slow learner) วัยอนุบาล เด็กเรียนชา (Slow learner) จะมีลักษณะดังน้ี คือ มีปญหา การเรียน ไมสามารถทํางานหรือเรียนรูสิ่งที่เด็กในชวงอายุเดียวกันเรียนรูได เรยี นร-ู รบั ร-ู เขา ใจสงิ่ ตา งๆ ได ชา กวา เดก็ อนื่ โดยเฉพาะความคดิ แบบนามธรรม มกี ารคดิ และการตดั สนิ ใจชา มกี ารตอบสนองตอ สงิ่ ตา งๆ ชา ความคดิ ดไู มเ ปน ระบบหรอื ไมคอยมเี หตุผล มักแกป ญหาโดยการลองผิดลองถูก และแกปญ หา เฉพาะหนาไดไมส มวัย มักมีปญ หาทางอารมณแ ละการปรับตวั ตามมา 10 เด็กเรียนรชู า คูมือสาํ หรบั ครู

ดา นความสนใจ เดก็ เรยี นชา (Slow learner) มคี วามยากลาํ บากในเรอ่ื งการคงความสนใจ มคี วามสนใจสน้ั ทาํ งานอะไรไมค อ ยไดน าน รวมทง้ั ไมส ามารถยบั ยง้ั สง่ิ รบกวน ที่มากระทบได จึงไมสามารถจะมีจุดสนใจไดถามีส่ิงรบกวนและไมสามารถ แยกแยะความสําคัญของส่ิงตางๆ เพราะไมรูจะเลือกสนใจอะไร จึงดูเหมือน ไมม คี วามสนใจตอ สิ่งใด นอกจากนี้ เด็กเรียนชา (Slow learner) มักมีความสนใจใฝรูอยูใน ระดบั นอย ไมคอ ยถามและไมต ดิ ตามทจ่ี ะหาคาํ ตอบ ไมคอ ยแสดงความสนใจ วาจะทําสิ่งตางๆ ใหสําเร็จไดนั้นตอ งทําอยา งไร ดานความจํา เด็กเรียนชา (Slow learner) มีความจําระยะสั้นไมดี แตสามารถ เก็บขอมูลไดเปนเวลานานและจะมีความจําระยะยาวโดยท่ัวไปใกลเคียง กับเด็กปกติ ซึ่งจะจําไดดียิ่งขึ้นถาเร่ืองนั้นๆ มีความหมาย เก่ียวของกับ ชวี ิตประจําวัน ดา นการถา ยโยงการเรียนรู มีความลําบากในการนําความรูหรือประสบการณจากสถานการณ หน่ึงไปสูอีกสถานการณหนึ่ง แตถาทําอะไรสําเร็จ เด็กจะมีแรงจูงใจ ในการทาํ สง่ิ ใหมๆ แกป ญหาใหมๆ เด็กเรยี นรชู า คูมือสาํ หรบั ครู 11

ลักษณะอื่นๆ ท่ีพบรวมไดในกลุมเด็กเรียนชา (Slow learner) มากกวากลมุ เดก็ ปกติ 1. เดก็ เรยี นชามักมีภาวะการเจริญเติบโตของรา งกายต่ํากวา เกณฑ 2. มีพฤตกิ รรมเด็กกวาวยั 3. มีปญหาการทํางานประสานของกลามเนื้อตางๆ เชน มีปญหา ในการเคล่ือนไหวรางกาย การประสานระหวางกลามเนื้อแขนและขาไมดี เมือ่ เลน กีฬาจะมลี ักษณะงมุ งาม ไมคลอ งแคลว 12 เดก็ เรียนรชู า คมู อื สําหรบั ครู

ลักษณะของเดก็ ทมี่ ีความบกพรอง ทางสติปญ ญาระดบั นอย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) ลกั ษณะของเดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ งทางสตปิ ญ ญาระดบั นอ ย (Mild ID) จะมีลักษณะทคี่ ลา ยคลึงกบั เดก็ เรยี นชา (Slow learner) แตจะมีความรุนแรง ของปญ หาตา งๆมากกวา พบวา เดก็ มปี ระวตั พิ ฒั นาการทางภาษาลา ชา แตอ าการ จะชดั เจนมากข้นึ เม่อื เขา เรียน โดยเฉพาะปญ หาการเรยี น เนอ่ื งจากเดก็ กลุมน้ี จะมพี ฒั นาการทางสตปิ ญญาชา กวา เดก็ ในวยั เดยี วกนั 2 - 4 ป เด็กจงึ มีปญหา ในการอาน การเขียน การคํานวณ การประสานงานระหวางกลามเน้ือตางๆ ในรา งกายไมดี มปี ญหาในการปรับตวั เขากับเพอ่ื นๆ เด็กกลมุ นี้สามารถพัฒนา ความสามารถในการใชภาษาในชีวิตประจําวันได สามารถพ่ึงตนเอง ดูแล กิจวัตรประจําวันของตนเองได รวมถึงทักษะท่ีใชในชีวิตท่ัวไปและงานบาน สําหรับปญหาดานสังคม อารมณ พฤติกรรมเด็กกลุมน้ีจะมีแนวโนมท่ีจะ เกิดปญหาในการปรับตัวเขากับสถานการณใหมๆ ปญหาการควบคุมอารมณ และปญ หาพฤตกิ รรมไดม ากกวาเด็กปกติ เด็กเรียนรชู า คูมอื สําหรับครู 13

ตารางแสดงระดับความสามารถในการรับการศึกษา ระหวางกลุม เด็กเรยี นชา (Slow learner) และกลมุ เด็กทม่ี ี ความบกพรองทางสติปญญาระดบั นอ ย (Mild ID) ประเภท ระดบั สติปญญา ความสามารถในการรบั การศกึ ษา เดก็ เรียนชา 70-89 (Slow เชาวนป ญ ญาต่าํ กวาเกณฑ สามารถ learner) 50-69 รับการศึกษาที่ใหการชวยเหลือ สาํ หรบั เดก็ เรยี นชา (Slow learner) เด็กทม่ี ี ได และสามารถประกอบอาชีพ ความบกพรอ ง ชางฝมอื ได ทางสตปิ ญ ญา มีพัฒนาการดานสติปญญาชากวา ระดับนอ ย เด็กวัยเดียวกัน 2-4 ป การปรับตัว (Mild ID) ทางสงั คมทาํ ไดเ ตม็ ทเ่ี ทา กบั เดก็ วยั รนุ ในดา นทว่ั ๆ ไป แตข าดความสามารถ ในการวางแผน และการคาดการณ ลวงหนา อาจพอรับการศึกษาใน ระดบั ประถมตน หรอื การศกึ ษาพเิ ศษ แ ต จ ะ มี ป ญ ห า ก า ร เ รี ย น ใ น ทุ ก กลุมวิชา สามารถประกอบอาชีพ ท่ีไมตองใชความรับผิดชอบสูง หรือ งานประเภทชา งฝม อื ได 14 เดก็ เรยี นรูชา คมู ือสาํ หรับครู

สาเหตุ ของภาวะเรียนรชู า สาเหตุท่ีทําใหเด็กเรียนรูชาเกิดไดจาก ปจ จยั ตา งๆ ซง่ึ อาจเกดิ จากสาเหตใุ ดสาเหตหุ นง่ึ เพียงอยางเดียวหรือหลายสาเหตุเกิดรวมกันทําใหเด็กมีภาวะเรียนรูชา สาเหตเุ หลา นั้นไดแ ก 1. ภาวะทางรางกายท่สี ง ผลกระทบตอ การเรยี นรูของเดก็ ในปจ จุบนั พบสภาวะความบกพรอ งทางรา งกาย หรือโรคบางอยา งท่ี สง ผลกระทบโดยตรงตอ การทาํ งานของสมองและการเรยี นรขู องเดก็ ทาํ ใหเ ดก็ เรยี นรูไดไมเตม็ ศกั ยภาพ ถูกมองวาเปนเด็กทมี่ ีปญหาเรยี นรูชา ภาวะเหลานน้ั ไดแ ก - โรคทางระบบประสาท ทพ่ี บไดบ อ ยๆ คอื โรคลมชกั โรคไขส มอง อักเสบ หรือภาวะที่ทําใหเกิดการกระทบเทือนตอสมองต้ังแต ทารกยังอยูในครรภ เชน มารดาดื่มเหลา หรือสูบบุหร่ีระหวาง ตง้ั ครรภ มารดาไดร บั สารตะกว่ั ระหวา งตง้ั ครรภ ภาวะขาดออกซเิ จน ระหวางการคลอดหรือหลังคลอด ซ่ึงภาวะเหลานี้มีผลตอ การเจริญเติบโตของสมองและมักมีผลกระทบตอการทํางาน ของสมองอยางถาวร - ปญหาดานการมองเห็น (เชน การมองเห็นบกพรอง ตาบอดส)ี ปญหาการไดยิน ปญหาดานการมองเห็นและปญหาการไดยิน พบไดบอยคร้ังท่ีทําใหเด็กมีปญหาการเรียน ซ่ึงเปนสาเหตุ ท่ีสามารถใหการชวยเหลือและทําใหเด็กกลับมาเรียนหนังสือ ไดอ ยางเต็มประสิทธภิ าพ เด็กเรยี นรูช า คูมือสําหรบั ครู 15

- ภาวะโลหิตจางเร้ือรัง ภาวะน้ีสงผลโดยตรงตอความบกพรอง ทางพฒั นาการของระบบประสาทในวยั เดก็ เดก็ ทม่ี ภี าวะโลหติ จาง จะมีอาการออนเพลีย เหนื่อยงาย หายใจลําบากเวลาออกแรง สมาธิในการเรียนลดลง - ภาวะการขาดสารไอโอดนี อาการของเดก็ ทมี่ กี ารขาดสารไอโอดนี คอื มคี อพอก ซง่ึ มลี กั ษณะคอโต ตวั เตย้ี แคระแกรน พฒั นาการชา นอกจากนยี้ งั พบวา การขาดสารไอโอดนี เพยี งเลก็ นอ ยไมท าํ ใหเ กดิ ความผิดปกติทางรางกาย แตจะสงผลตอระดับเชาวนปญญา ของเดก็ - ภาวะทุพโภชนาการ การขาดสารอาหารที่จําเปน ตอรา งกาย 16 เดก็ เรยี นรูชา คมู อื สําหรบั ครู

2. การเลี้ยงดแู ละสภาพแวดลอม มีงานวิจัยท่ีใหเด็กกลุมหน่ึงถูกปลอยใหเล้ียงตามธรรมชาติเทาที่ ครอบครัวมคี วามรู และอกี กลุมหนึง่ ใหค วามรูเรือ่ งการเลีย้ งดทู ่ีถกู ตอ ง นั่นคือ ใหข อ มลู พดู คยุ กบั เดก็ สอนเดก็ ทกุ อยา งตงั้ แตช ว งแรกเกดิ พบวา เดก็ กลมุ ทส่ี อง มกี ารเรียนรูท ี่เรว็ กวาเด็กในกลุมแรก ดงั นนั้ การเลี้ยงดอู ยา งปลอยปละละเลย ปลอยใหเด็กอยูตามลําพัง ดูโทรทัศนลําพังเปนเวลานานๆ ทําใหสมอง ของเด็กไมถูกกระตุนใหคิด จินตนาการ หรือคิดแกปญหา เสนใยของสมอง ทจ่ี ะมกี ารแตกกง่ิ กา นสาขาจากการกระตนุ กจ็ ะมกี ารเจรญิ เตบิ โตทน่ี อ ยกวา ปกติ ทําใหเ ด็กเสี่ยงตอการที่จะเปนเรยี นรชู าได ในเด็กหลายๆ ราย อาจไมพบสาเหตุที่ชัดเจนท่ีทําใหเด็กมีภาวะ เรยี นรชู า เชน เดก็ ไมเ คยมปี ระวตั ภิ าวะแทรกซอ นระหวา งคลอดหรอื หลงั คลอด ไมมีโรคประจําตัวใดๆ มากอน มาทราบอีกคร้ังก็พบวาเด็กมีปญหาการเรียน เมื่อเขาโรงเรียนไปแลว เดก็ เรียนรชู า คูมอื สาํ หรับครู 17

การชวยเหลอื เดก็ เรยี นรูช า ในโรงเรียน เด็กเรียนรูชาควรไดรับการพัฒนาตั้งแตวัยทารก ในบางกรณีที่ครู หรอื ผปู กครองไมแ นใ จวา เดก็ มภี าวะบกพรอ งทางสตปิ ญ ญาหรอื ภาวะบกพรอ ง ดานอ่ืนหรือไมนั้น ขอแนะนําใหชวยเหลือไวกอน เพราะการชวยเหลือตั้งแต ระยะแรกเรม่ิ เชน การกระตนุ พฒั นาการนน้ั มแี ตป ระโยชนไ มไ ดม โี ทษสาํ หรบั เด็กแตอยางใด ในกรณีทพ่ี บภายหลังวา เดก็ คนน้ันมคี วามบกพรองในดา นใด กต็ าม กถ็ อื วา เด็กไดรบั การชวยเหลืออยา งทนั ทว งที แตหากพบวา เดก็ คนน้นั ไมมีความบกพรองใดๆ การชวยเหลือที่ไดก็ชวยใหเด็กมีพัฒนาการที่ดีข้ึน กวาเดิม การจดั การศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ เรยี นรชู า ควรพจิ ารณาจากความสามารถ ของเด็ก เชน เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอยควรไดรับ การสอนท่ีเนนความรูทางวิชาการ และควรใหเด็กไดเรียนในช้ันเรียนรวม กับเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงข้ึนควรเรียนรู ทักษะการชวยเหลือตนเอง ทักษะการใชชีวิตในชุมชน และทักษะอาชีพ อยางไรก็ตาม เด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาไมวาระดับใด เด็กจําเปน ตองเรียนรูทักษะทางวิชาการ ทักษะการชวยเหลือตนเอง ทักษะการใชชีวิต ในชุมชนและทักษะอาชีพดวยทุกคน แตระดับและปริมาณของเนื้อหาน้ัน ควรเหมาะสมกับความสามารถของแตล ะคน 18 เดก็ เรียนรูชา คมู ือสําหรับครู

การจัดการชัน้ เรยี น สําหรับเดก็ เรยี นรูช า ชน้ั เรยี นปกติ เด็กที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับนอยสวนใหญมักไดรับ บริการทางการศึกษาพิเศษในช้ันเรียนปกติ รวมกับการทําแผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เพื่อเปดโอกาสใหเด็กเรียนรวมกับเพื่อนท่ีเปน เด็กปกติในโรงเรียนท่ัวไปในละแวกบาน เพ่ือใหเด็กมีโอกาสเรียนรูทักษะ ตางๆ ที่เด็กท่ัวไปไดเรียน และไดรับการสอนเร่ืองทักษะทางสังคมมากข้ึน สวนเด็กเรียนชา (Slow learner) ตองการการชวยเหลือโดยการสอนเสริม ในชัน้ เรียนปกติ เด็กเรียนรูช า คูมอื สาํ หรบั ครู 19

ลักษณะของช้ันเรียนปกติ เมื่อเด็กเขาเรียนรวมกับเพื่อนที่เปนเด็กปกติ โรงเรียนมักวางแผนให เดก็ เรียนรดู ว ยวิธีการสอนปกตติ ามหลกั สูตรทรี่ ะบไุ วใ น IEP สว นผทู ่ีทาํ หนา ที่ ในการจัดการศึกษาพิเศษใหกับเด็กนั้นอาจเปนคุณครูในช้ันเรียนปกติ คุณครู ในหอ งเสรมิ วชิ าการ หรอื คณุ ครเู วยี นสอนกไ็ ด การจดั ชนั้ เรยี นแบบนที้ าํ ใหเ ดก็ สวนใหญส ามารถเรยี นในหองเรียนปกตไิ ดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอ ดขี องการเรยี นในหองเรียนปกติ ขอดีท่ีเดนชัดที่สุดของการจัดใหเด็กไดเรียนในช้ันเรียนแบบน้ี คือ เดก็ มโี อกาสไดเ รยี นดว ยวธิ ปี กตเิ หมอื นกบั เดก็ ทวั่ ไปและไดเ รยี นรจู ากเดก็ ปกติ มากทส่ี ดุ เดก็ ไดเ รยี นกบั คณุ ครทู หี่ ลากหลาย ซง่ึ ตรงขา มกบั การเรยี นในชนั้ เรยี น พิเศษที่มีคุณครูการศึกษาพิเศษเพียงหน่ึงคนหรือสองคนเทานั้น นอกจากน้ี วธิ นี ้ยี ังเหมาะสําหรบั เด็กในโรงเรยี นท่ีไมมคี ุณครูการศึกษาพเิ ศษดว ย การที่เด็กเรียนรูชาไดเรียนในชั้นเรียนปกติน้ี ชวยใหเด็กสามารถ ปรบั ตวั ใหเ ขา กบั สถานการณต า งๆ ในชวี ติ จรงิ ไดด ขี นึ้ เพราะยงั มที กั ษะทจี่ าํ เปน ในชีวิตจริงหลายดานท่ีเด็กไมสามารถเรียนรูในช้ันเรียนพิเศษหรือในหองเสริม วิชาการท่ีเด็กไปเรียนบางเวลาได เชน การสื่อสารพูดคุยกับเด็กท่ัวไป หรือ การปฏบิ ัตติ ามกฎกตกิ าของสังคม เปนตน ในกรณีที่เด็กจําเปนตองเรียนในชั้นเรียนพิเศษ เด็กเหลาน้ันก็ควรมี โอกาสไดเ ขา รว มในกจิ กรรมตา งๆ กบั เดก็ ปกตดิ ว ย เพราะเดก็ จะไดใ ชช วี ติ และ เรียนรูอยูในสถานการณจริง และเด็กปกติยังเปนตัวแบบใหกับเด็กที่เรียนรูชา อกี ดว ย นอกจากน้ี ไมใ ชเ ฉพาะเดก็ เรยี นรชู า เทา นนั้ ทไ่ี ดป ระโยชน แตเ ดก็ ปกติ ท่เี รียนรวมกับเด็กท่เี รียนรชู าก็จะไดเรียนรวู าคนในสังคมมีลักษณะแตกตางกัน ไดเ รยี นรทู กั ษะตา งๆ ในการอยรู ว มกบั ผอู น่ื เชน การแบง ปน การเออ้ื เฟอ เผอื่ แผ 20 เด็กเรยี นรชู า คมู อื สาํ หรับครู

หรือการรูจักชวยเหลือคนที่ออนแอกวา เปนตน ซึ่งทักษะเหลาน้ีเด็กปกติ จะเรยี นรูจ ากเดก็ ทเ่ี รยี นรชู าไดด กี วา การเรยี นรจู ากเดก็ ปกติดว ยกันเอง ขอเสยี ของการเรยี นในชนั้ เรยี นปกติ ขอเสียเดนชัดท่ีสุด คือ คุณครูในชั้นเรียนปกติมักไมสามารถ จัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับความตองการพิเศษของเด็กเรียนรูชา ในช้นั เรียนปกตไิ ด ขอเสียอีกประการหน่ึงของการเรียนในช้ันเรียนปกติ คือ คุณครู ในช้ันเรียนปกติมักมีเจตคติทางลบตอเด็กเรียนรูชา คุณครูหลายคนรูสึกวา การสอนเด็กเรียนรูชาในช้ันเรียนน้ันเปนภาระอยางมาก และมักปฏิเสธเด็ก เหลาน้ี คุณครูสวนใหญยังมองวาการสอนเด็กเรียนรูชาเปนหนาที่ของคุณครู การศึกษาพเิ ศษเทา น้นั และขอเสียที่เปนปญหาที่พบบอยในปจจุบัน คือ โรงเรียนปกติ ไมมีคุณครูการศึกษาพิเศษในโรงเรียนท่ีจะทําหนาท่ีใหคําปรึกษาแกคุณครู ในชั้นเรียนปกติ ซึ่งผูบริหารโรงเรียนมักมองขามในเรื่องนี้ อีกท้ังคุณครู การศกึ ษาพเิ ศษทม่ี อี ยใู นโรงเรยี นปกตสิ ว นใหญม กั ทาํ หนา ทส่ี อนในชน้ั เรยี นพเิ ศษ เทาน้ัน สวนคุณครูท่ีสอนในช้ันปกติจํานวนมากยังไมมีความรูความเขาใจ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นการสอนสาํ หรบั เดก็ ทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษอยา งเพยี งพอ ดงั นน้ั ผบู ริหารจงึ ควรสนับสนุนใหม กี ารอบรม ใหความรคู วามเขา ใจแกคุณครู ในช้ันเรียนปกติอยางตอเน่ือง รวมถึงผูบริหารเองตองเขาใจและตระหนักถึง ความรูสึกของคุณครูและการอบรมนั้นๆ ตองเปนแนวทางท่ีสามารถนําไป ปฏิบตั ิไดจ รงิ ดวย เดก็ เรยี นรูช า คูมือสาํ หรบั ครู 21

ช้ันเรียนพิเศษ ลกั ษณะของชนั้ เรียนพิเศษ คณุ ครใู นหอ งมกั เปนคุณครูการศึกษาพิเศษ 1 คน และนกั เรยี นมักมี ลกั ษณะใกลเ คยี งกนั หรอื มคี วามบกพรอ งประเภทเดยี วกนั นกั เรยี นในชน้ั เรยี น พิเศษนี้แทบไมมีโอกาสปฏิสัมพันธกับเด็กปกติ ถึงแมลักษณะการจัดช้ันเรียน พิเศษในแตละโรงเรียนอาจแตกตางกันไปบาง แตโดยรวมแลวช้ันเรียนพิเศษ มกั มีลักษณะทัว่ ไปดงั นี้ 1. คุณครูการศึกษาพิเศษทําหนาที่รับผิดชอบการจัดการเรียน การสอนเดก็ ในหอ งน้ี 2. การเรียนการสอนสวนใหญเกดิ ในหอ งน้หี อ งเดยี ว 3. โรงเรยี นอาจจดั นกั วชิ าชพี ดา นอน่ื มาใหบ รกิ ารบา งเชน นกั กายภาพบาํ บดั นักกิจกรรมบําบัด นักแกไขการพูด แตสําหรับในประเทศไทยนั้น การจัด ช้ันเรียนแบบน้ี มักมีคุณครูการศึกษาพิเศษเปนผูรับผิดชอบเด็กทุกคน ในหองพเิ ศษ 4. คุณครูอาจสอนเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมเล็กๆ ก็ได ซ่ึงขึ้นอยู กับประเภทความบกพรองของเด็ก จํานวนเด็ก ระดับความสามารถของเด็ก ตลอดจนทักษะในการจัดการเรียนการสอนของคุณครู ชนิดของสื่อ อุปกรณ ในชนั้ เรียนดวย เดก็ ในหอ งเรยี นพเิ ศษนอ้ี าจไดเ ขา รว มกจิ กรรมกบั เดก็ ปกตใิ นหอ งเรยี น ปกติเปนบางเวลา ซึ่งกิจกรรมน้ันๆ ตองไมใชดานวิชาการ เชน การเลนกีฬา การเขาฟงการประชุมในหองประชุม หรือกิจกรรมดนตรี เปนตน แตถึงแม เด็กที่มีความบกพรองจะมีโอกาสไดมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับเด็กท่ัวไปบาง ตามโอกาสตางๆ แตโดยทั่วไป เด็กท่ีมีความบกพรองจะมีโอกาสมีปฏิสัมพันธ กับเด็กปกติในวัยเดียวกันหรือไดเขารวมกิจกรรมที่ตองใชความรวมมือ ซึง่ กันและกนั นอยมาก 22 เดก็ เรยี นรูชา คมู อื สําหรับครู

ขอ ดีของหอ งเรยี นพเิ ศษ 1. สดั สว นของเดก็ นกั เรยี นทค่ี ณุ ครตู อ งรบั ผดิ ชอบนน้ั ตาํ่ กวา หอ งเรยี น ปกติ เชน คณุ ครู 1 คน ตอ งรบั ผดิ ชอบเดก็ ทีม่ ีความตองการพิเศษ 6 - 8 คน หรอื อตั รา 1: 6 - 8 ทาํ ใหค ณุ ครสู ามารถดูแลเด็กไดทั่วถงึ มากกวา 2. คุณครูท่ีดูแลหองเรียนพิเศษมีคุณวุฒิทางการศึกษาพิเศษ หรือ เปน คุณครทู ่ีผา นการอบรมดา นการสอนเดก็ ประเภทนี้โดยเฉพาะ 3. คุณครูมักสอนเปนกลุมเล็ก ทําใหการสอนมีคุณภาพมากกวา การสอนแบบกลมุ ใหญ 4. การเรยี นในชน้ั เรยี นพเิ ศษนน้ั มกั เปน แบบผอ นคลายและสนกุ สนาน มากกวาการเรยี นในชั้นปกติ เดก็ ทม่ี ีความบกพรองจงึ ไมร ูสกึ เครียด 5. เม่ือเด็กที่มีความตองการพิเศษไดเรียนกับเด็กที่มีความสามารถ พอๆ กัน เด็กมักรูสึกม่ันคงทางจิตใจมากกวาการเรียนอยูในชั้นปกติ ท่ีเดก็ คนอื่นทําไดดีกวาตน และเม่ืออยูในหอ งเรยี นพเิ ศษ เด็กจะไมถ ูกลอ เลยี น จากเพ่อื น 6. ผปู กครองสามารถตดิ ตอ สอบถาม พดู คุย และสรางสมั พันธภาพ กบั คุณครูไดง ายกวาเพราะมีคุณครูประจําหอ งเพียงคนเดยี ว 7. เนื่องจากคุณครูมีเด็กในการดูแลนอย ทําใหคุณครูรูจักเด็กดีกวา รวู า เด็กแตล ะคนมีจดุ ออนและจดุ แขง็ อยา งไร อยางไรก็ตามคณุ ครูในชัน้ เรยี นพิเศษจะตองมีคณุ ลกั ษณะดงั ตอไปน้ี 1. เขา ใจจดุ แขง็ และจดุ ออ นของเดก็ รวมถงึ รปู แบบและลลี าการเรยี นรู ของเด็กแตละคน 2. ปรบั การสอนใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการพเิ ศษของเดก็ แตล ะคนได 3. สนบั สนนุ และชว ยเหลอื เพอื่ ตอบสนองความตอ งการพเิ ศษของเดก็ ไดอ ยางแทจ รงิ เดก็ เรยี นรูชา คูมอื สาํ หรับครู 23

4. คาํ นงึ ถงึ ปจ จยั ตา งๆ ทอ่ี าจสง ผลกระทบตอ การเรยี นการสอนและ วางแผนการจดั การเรียนการสอนสําหรบั เด็กแตล ะคนเพ่อื ใหเ กิดผลประโยชน สาํ หรับเดก็ ในอนาคตดว ย ขอเสียของหองเรียนพิเศษถึงแมหองเรียนพิเศษจะมีขอดีหลายอยาง แตก็มจี ดุ ออ นบางประการ 1. การจดั การเรยี นการสอนแบบนไ้ี มเ หมาะสาํ หรบั เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ ง ในระยะยาว แมว าการเรียนชั้นเรียนพิเศษอาจชว ยใหเ ดก็ มีทักษะดา นวชิ าการ มากขึ้น แตท กั ษะในการอยูรวมกบั ผูอนื่ ในสังคมนน้ั นอ ยลง 2. เนื่องจากเด็กเรียนรูไดดีที่สุดจากการเลียนแบบ และเด็กปกติถือ เปนตัวแบบที่ดีที่สุดสําหรับเด็กท่ีมีความบกพรอง ดังนั้นการเรียนในหองเรียน พิเศษจงึ ทาํ ใหเ ดก็ ขาดโอกาสในการพฒั นาทกั ษะทางสงั คมไป 3. คุณครูในหองเรียนพิเศษมักไมมีโอกาสไดรวมกิจกรรมกับคุณครู ท่ัวไปในโรงเรียน ทําใหความสัมพันธระหวางคุณครูการศึกษาพิเศษกับคุณครู ในหอ งเรยี นปกตหิ า งเหนิ กนั หอ งเรยี นพเิ ศษจงึ มกั เปน หอ งเรยี นทโี่ ดดเดยี่ วและ มกั ไมไดร บั ความรว มมือหรือความชว ยเหลอื จากคณุ ครูคนอ่นื ในโรงเรียน ปจจุบันน้ี เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญามีโอกาสเขาเรียน ในช้ันเรียนรวมมากข้ึน โดยเฉพาะเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ระดบั นอ ย สว นชนั้ เรยี นพเิ ศษจงึ เปน ทจ่ี ดั การศกึ ษาใหก บั เดก็ ทมี คี วามบกพรอ ง ทางสตปิ ญ ญาระดับปานกลางขน้ึ ไป 24 เด็กเรียนรชู า คูม ือสาํ หรบั ครู

การชว ยเหลือเด็กเรยี นรชู า ในชน้ั เรียน การชว ยเหลอื เดก็ เรยี นรชู า ทาํ ไดโ ดยการสอนใหเ ดก็ เรยี นรทู กั ษะการเรยี น เชน การจัดตารางเวลาอานหนังสือ การขีดเสนใตใจความสําคัญของเร่ือง ท่ีอาน ฯลฯ และส่ิงที่สําคัญคือการปรับวิธีการตางๆ ของคุณครูใหเหมาะสม กับความตองการของเด็กแตละคน ดังน้ัน จึงเห็นไดวาคุณครูไมควรให การชวยเหลือเดก็ เรียนรูชา ทุกคนดว ยวธิ เี ดยี วกนั ไปหมด บุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีสวนชวยเหลือเด็กทั้งส้ิน ต้ังแตระดับ การบริหารถึงระดับการชวยเหลอื ในช้นั เรียน - ในระดับการบริหารนั้นสามารถชวยไดโดยการพิจารณาหลักสูตร ทใี่ ชสาํ หรับเด็กเรียนรูชา วามคี วามเหมาะสมหรอื ไม เพยี งใด - การชวยเหลือในชั้นเรียนน้ัน คุณครูควรปรับวิธีการสอนให เหมาะสมสําหรับเดก็ แตละคน เด็กเรียนรูชา คมู ือสาํ หรบั ครู 25

การชวยเหลอื โดยคณุ ครูมเี ทคนิค ดงั น้ี การชวยเหลือโดยตัวคณุ ครู สง่ิ สาํ คญั ทช่ี ว ยใหค ณุ ครสู ามารถสอนเดก็ เรยี นรชู า ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มีดงั ตอ ไปนี้ 1. คุณครูควรแจงเนื้อหาสําคัญที่เด็กตองเรียนในภาคการศึกษาน้ัน โดยใชโ ครงรา งของแตล ะวชิ า นอกจากนนั้ ควรแจง วนั สง งานทไี่ ดร บั มอบหมาย จะชวยใหเด็กสามารถมองภาพเนื้อหาท่ีตองเรียนทั้งหมดได วิธีน้ีจะเปน ประโยชนสําหรับเด็กเรียนรูชาในชั้นมัธยมศึกษาอยางมาก เพราะชวยให เด็กสามารถคาดการณถึงส่ิงท่ีจะตองพบในอนาคตอันใกล และเตรียมตัว รับสถานการณไ ด 2. แนวทางในการเรียน เปนวิธีการชวยเหลือสําหรับเด็กเรียนรูชา วิธีหนงึ่ แนวทางในการเรยี นรทู ี่คณุ ครคู วรแจงใหเ ด็กทราบมีดังน้ี 2.1 กําหนดวัตถุประสงคท ่เี ด็กตองทําใหชัดเจน 2.2 ระยะเวลาแนนอนทเ่ี ด็กตอ งเรียนในบทเรียนน้ันๆ 2.3 ผลงานทคี่ ณุ ครคู าดหวงั ในแตล ะบทเรยี น เชน การทาํ รายงาน หรือ การทาํ โครงงาน เปนตน 2.4 งานที่คุณครมู อบหมาย และกิจกรรมการเรียนตางๆ 2.5 เกณฑการประเมินผล สง่ิ เหลา นชี้ ว ยใหเ ดก็ เรยี นรชู า โดยเฉพาะระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย หรือระดับมธั ยมศึกษามแี นวทางในการเรยี นมากข้นึ ทัง้ น้ี หากคณุ ครูตอ งการ นําวิธีน้ีมาใชกับเด็กที่มีภาวะเหลาน้ี คุณครูจําเปนจะตองแนะนําชวยเหลือ โดยเฉพาะในระยะแรกๆ 26 เด็กเรยี นรูช า คมู อื สาํ หรับครู

3. การใชคําถามลวงหนา เปนการเตรียมคําถามกอนการอาน เพอ่ื ชว ยใหเ ดก็ จดจอ กบั เนอ้ื หาทก่ี าํ ลงั จะอา นตอ ไป รจู กั การจบั ใจความสาํ คญั ตวั อยา งเชน การอานเรอ่ื งกระตา ยกบั เตา การอา นหนงั สือนทิ านเรื่อง กระตา ยกับเตา การเตรยี มการลว งหนา ควรใชค ําถามตอไปน้ี 1. เกิดอะไรขนึ้ ระหวา งกระตายกบั เตา 2. กระตา ยมีนสิ ัยอยา งไร 3. ใครเปน ผทู าชิงในการแขง ขนั 4. ใครเปน ผูช นะ 5. นักเรยี นคดิ วา เตาชนะเพราะอะไร เด็กเรยี นรชู า คูมอื สาํ หรบั ครู 27

4. การนําเสนอประเด็นสําคญั ดว ยรูปภาพ เปนการนําเสนอคําศัพท หรือใจความสําคัญในรูปแบบของกราฟ แผนภูมิโครงราง แผนภูมิความคิด (Mind mapping) ทําใหเดก็ เรยี นรูชา เรยี นไดด ีขน้ึ เพราะเด็กเหลา นที้ ําความ เขา ใจกบั เนอื้ หาทอ่ี า นไดค อ นขา งยาก ดงั นน้ั ในการนาํ เสนอใจความสาํ คญั ตา งๆ ดว ยรปู ภาพจะชว ยใหเ ดก็ สามารถจดั ระบบความคดิ ความจาํ และเขา ใจเรอื่ งท่ี อานไดงา ยขน้ึ รปู ภาพ 1. ตัวอยา งแผนภูมคิ วามคดิ เรอื่ งกระตายกับเตา หยู าว ขายาว กระตาย เรม่ิ ทา หลบั ใตต น ไม เ ขาเ สน ัชย สขี าว วง่ิ เรว็ วง่ิ แขง กระดองแข็ง ขาสนั้ ออกจาก เตา จดุ เริม่ ตน รบั คาํ สีนํ้าตาล เดนิ ชา ทา แขง สขี าว หยู าว ขายาว ่วิงเ ็รว กระตา ยกับเตา ปชระอมบาดูทถูกชคะนลอื่าในจ กระตา ยแพ แขง กนั เตา ชนะ ออ นนอ มมถุง อมม่ันตนอดทน ขาสั้น กระดองเดแินข็งชา รปู ภาพ 2. ตัวอยางแผนภูมกิ า งปลา เรอ่ื งกระตา ยกบั เตา อุปกรณชวยในการสอนอื่นๆ พบวา ส่ือการเรียนการสอนบางอยาง ทใ่ี ชเ สยี งและภาพในการนาํ เสนอชว ยใหเ ดก็ สนใจ กระตอื รอื รน และเขา ใจงา ยขน้ึ ซง่ึ โดยทว่ั ไป โรงเรยี นตา งๆ มกั ใชอปุ กรณเ หลา น้อี ยแู ลว เชน เทปบนั ทึกเสียง วซี ดี ี คอมพิวเตอร เปนตน 28 เด็กเรียนรูชา คมู อื สําหรบั ครู

การสรางทักษะสาํ คญั ใหกบั เดก็ เรียนรชู า คณุ ครผู สู อนจะพบวา เดก็ เหลา นมี้ ปี ญ หาทางการเรยี นหลายอยา ง เชน เรียนตามเพ่ือนไมทัน ทํางานท่ีคุณครูสั่งลาชา ซึ่งปญหาเหลาน้ีสงผลกระทบ ตอ เดก็ หลายดา น ทกั ษะหลายอยา งทเ่ี ดก็ ขาดไปมกั เปน ทกั ษะทคี่ ณุ ครมู องขา ม และไมมกี ารสอนใหก ับเด็กเหลานใ้ี นช้นั เรยี น ไดแก การสรา งความรูสึกวาตนเองมคี ณุ คา สิ่งสําคัญประการแรกท่ีคุณครูควรคํานึงถึงคือ เด็กเรียนรูชาเหลาน้ี มักมีความรูสึกวาตนเองไมคอยมีคุณคาเพราะทําอะไรไมไดเหมือนเพ่ือนๆ ในช้ัน โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการเรียน ในขณะท่ีคุณครูหลายคนมักมีเจตคติ ตอเด็กท่ีเรียนไมดีในแงลบ ความคาดหวังท่ีคุณครูมีตอเด็กเหลาน้ีจึงต่ํากวา ความคาดหวังที่คุณครูมีตอเด็กทั่วไป เราจึงมักไดยินคุณครูพูดวา “เด็กคนนี้ ทาํ ไมไ ดห รอก เพราะเขาไมร เู รอ่ื ง” ไมว า คณุ ครจู ะตงั้ ใจหรอื ไมก ต็ าม ความรสู กึ ทางลบที่คุณครูมีตอเด็กที่มีความบกพรองนั้นจะแสดงออกมาใหเด็กคนอ่ืน เห็นและรับรูไมทางใดก็ทางหน่ึง ดังนั้น คุณครูจึงควรเปนตัวแบบที่ดีสําหรับ เด็กทุกคนดวยการปฏิบัติตอเด็กทุกคนในหองเรียนในแงบวก รวมถึงเด็กที่มี ความบกพรองทางสติปญญาทุกคนดวย ทั้งน้ี เพื่อใหหองเรียนมีบรรยากาศ ของการยอมรับชวยเหลือสนับสนุนเพื่อนท่ีแตกตางจากเรา นอกเหนือจากน้ี สิ่งที่เด็กรับรูไดวาคุณครูเต็มใจสอนคือ การที่คุณครูสนับสนุน ใหกําลังใจ ในความพยายามของเขานั่นเอง เด็กเรยี นรูช า คูม ือสาํ หรบั ครู 29

วธิ ีชว ยใหเด็กประสบความสาํ เร็จในชั้นเรียน ไดแ ก 1. ในการมอบหมายงาน คณุ ครตู อ งเลอื กงานทเี่ ดก็ เขา ใจและสามารถ ทาํ ได 2. การชใ้ี หเ ดก็ เหน็ สง่ิ ทเ่ี ขาทาํ สาํ เรจ็ ในแตล ะวนั ชมเชยในความพยายาม และความมงุ ม่นั ท่จี ะทําส่ิงน้นั แมวาสิง่ ท่เี ขาทาํ จะเปน เรอ่ื งเลก็ นอยกต็ าม สวนใหญความรูสึกวาตนเองมีคุณคามักเกี่ยวของกับการยอมรับ ในสังคม ดังนั้นการที่เด็กไดมีโอกาสทํากิจกรรมตางๆ รวมกับเพ่ือนคนอ่ืน ในช้ันเรียนนับเปนสิ่งหน่ึงท่ีสรางความรูสึกมีคุณคาใหกับเด็กเหลาน้ีได หรือเมื่อเด็กเรียนเปนกลุม เด็กอาจไดอธิบายส่ิงท่ีเขาคุนเคยหรือส่ิงที่เขา สนใจใหเพื่อนฟงได อีกท้ังการเลนบทบาทสมมติหรือสรางสถานการณ ใกลเ คยี งกบั สถานการณจ รงิ ใหเ ดก็ ไดฝ ก ฝน วธิ กี ารเหลา นย้ี อ มจะชว ยใหเ ดก็ ทมี่ ี ความบกพรอ งทางสตปิ ญ ญาตอบสนองตอ สง่ิ ตา งๆ ในสงั คมไดอ ยา งเหมาะสมดว ย การเรียนรูแบบรวมแรงรวมใจจะชวยใหเด็กไดเรียนรูกับกลุมไดดีขึ้น การจัดกลุมไดอยูในกลุมเพ่ือนที่มีความสนใจคลายกันน้ันจะชวยใหเด็กทํางาน เปน กลมุ ไดด ี หรอื คณุ ครอู าจใหโ อกาสเดก็ ทม่ี คี วามรสู กึ ตอ ตนเองตาํ่ ไดม โี อกาส พูดถึงส่ิงที่เด็กทําแลวประสบความสําเร็จใหเพ่ือนในช้ันฟง และคุณครูควร ใหค ะแนนท่ีเดก็ ทาํ ถูกตอ งหรอื อยูใ นระดับทยี่ อมรับได 30 เดก็ เรยี นรชู า คูม อื สาํ หรบั ครู

การสอนทกั ษะการเรียน ทักษะการเรียน เปนความสามารถท่ีเด็กทราบวา เขาจะตองเรียน อยางไรจึงจะประสบความสําเร็จในโรงเรียนได เด็กทั่วไปเรียนรูไดเองวาเขา ควรทาํ อยางไร เชน เม่อื ตอ งการใหไ ดค ะแนนดๆี เดก็ ปกตจิ ะต้งั ใจเรยี น ฝก ทาํ แบบฝกหัด หรืออานหนังสือทบทวนที่บาน แตเด็กเรียนรูชาจะขาดทักษะ ในดานน้ี วิธีท่ีจะทราบวาเด็กมีทักษะการเรียนหรือไมน้ัน คุณครูสามารถ ตรวจสอบไดโ ดยการใชค าํ ถามเกย่ี วกบั นสิ ยั การเรยี นของเดก็ หรอื ใชแ บบตรวจสอบ รายการ (Checklist) ดังตัวอยา งตอไปนี้ เดก็ เรยี นรชู า คูมือสาํ หรบั ครู 31

ตวั อยา งแบบตรวจสอบรายการทักษะการเรียน 1. นกั เรียนมสี ถานทีป่ ระจําสําหรับทําการบาน หรอื อานหนงั สอื หรอื ไม ............... 2. นักเรียนมเี วลาทาํ การบานหรอื อา นหนงั สอื เปน ประจาํ หรอื ไม ............... 3. นกั เรียนมสี มดุ จดงานแตละรายวิชาหรือไม ............... 4. นกั เรียนจดงานขณะทค่ี ุณครสู อนในหองเรยี นหรือไม ............... 5. นกั เรยี นทําสมดุ ยองานหรอื ใชปากกาเพอ่ื เนน ขอ ความสําคัญ ท่ีไดอ า นไปหรือไม ............... 6. นกั เรียนทบทวนส่งิ ท่ีเรียนมาเปนประจาํ หรือไม ............... 7. นกั เรยี นไดจ ดหรอื ทําส่งิ ท่ีอานใหเปนหัวขอยอ ยๆ หรอื ไม ............... 8. นักเรยี นทําตารางหรอื ทาํ เครอ่ื งหมายในวนั ทีต่ อ งสง งาน หรือวันท่ีตองสอบหรือไม ............... 9. นกั เรียนเขา หอ งสมดุ เปน ประจําหรอื ไม ............... นอกจากนี้ คณุ ครอู าจนาํ ขน้ั ตอนการอานเพอ่ื ความเขา ใจมาสอนเดก็ บางคนที่มีปญหาดานความเขาใจจากการอาน โดยเฉพาะการอานเร่ืองยาวๆ เพื่อชว ยใหเ ดก็ อานไดด ขี ึ้น วธิ ีดังกลาวมลี าํ ดบั ขนั้ ตอนดงั น้ี 1. สอนใหเด็กรูจักกวาดสายตา โดยการอานชื่อเรื่อง ยอหนาแรก หัวขอแตล ะขอ และยอหนาสุดทา ยแบบผา นๆ 2. ตง้ั คาํ ถามโดยใชห วั เรื่องและหัวขอ ยอยเปน ตวั ตง้ั คาํ ถาม 3. อานเนอ้ื เรื่อง เพ่ือหาคาํ ตอบจากคําถามท่ีต้ังไว 4. ทบทวนทั้งคาํ ถามและคําตอบ 5. อานเนอ้ื เรือ่ งเพอ่ื ทบทวนคําถามและคาํ ตอบทุกวนั 32 เดก็ เรียนรชู า คูมอื สาํ หรับครู

ท้ังนี้เด็กจะอานไดเขาใจมากขึ้นหากเขาสามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีอาน เขา กบั สง่ิ ทเ่ี กดิ ในชวี ติ ประจาํ วนั หรอื ประสบการณส ว นตวั ของเขาได แตเ นอ่ื งจาก ประสบการณของเด็กแตละคนแตกตางกัน ดังน้ันการเปดโอกาสใหเด็กได เรียนรูประสบการณหลากหลาย เชน การทัศนศึกษา จึงจําเปน อยางยงิ่ วิธีการอีกอยางหนึ่ง คือ คุณครูควรกระตุนใหเด็กรูจักคิดเก่ียวกับ ชื่อเรื่องตั้งแตเร่ิมอานเร่ืองนั้น ๆ หรือคุณครูอาจกระตุนใหเด็กคิดหลังจาก อานเร่ืองจบ เชน เม่ืออานเรื่องนี้แลวใหนักเรียนลองคิดดูวาเธอจะทําอยางไร ถาเกิดน้ําทว มและตองตดิ อยใู นรถอยา งเดก็ ในเร่อื งนี้ เปน ตน นอกจากนี้คุณครูควรสนับสนุนใหเด็กแสดงความคิดเห็นจากเร่ือง ทอ่ี า นหรอื ใหเ ดก็ อา นทลี ะยอ หนา แลว แสดงความคดิ เหน็ เมอื่ ใดกต็ ามทเี่ ดก็ ได คาดเดาและคิดต้ังคําถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีอานเด็กจะมีความเขาใจมากข้ึน เด็กท่ีมีความบกพรองมักรูสึกเครียดเมื่อตองอานเร่ืองยาวๆ ทีละมากๆ หรอื การตอบคาํ ถามทเ่ี ปน การอธบิ ายยาวๆ ดงั้ นนั้ คณุ ครคู วรลดงานใหน อ ยลง หรืออาจใหเด็กแสดงความเขาใจเร่ืองที่ไดเรียนมาดวยการทําโครงงานตางๆ แทนการสอบเพยี งอยา งเดยี ว เด็กเรียนรชู า คมู อื สาํ หรบั ครู 33

การสรางทกั ษะการจดั ระเบียบงาน มีดงั น้ี 1. การตดิ ตามงานและอปุ กรณก ารเรยี น คณุ ครคู วรตรวจสอบวา เดก็ มี อปุ กรณก ารเรยี นครบถว นหรอื ไม ดวู า เดก็ จดั ระบบและวางแผนลว งหนา สาํ หรบั ความตอ งการของแตล ะชัน้ เรียนอยางไร เชน ตารางเรยี นทีม่ ีแถบสชี วยใหเด็ก มองเห็นไดชัดเจนวาเวลาใดตอ งไปท่ไี หน และจะเรียนวิชาอะไร เปนตน 2. การทําตามคําสั่ง กอนที่จะใหเด็กทํางานอะไร คุณครูควรใหเขา เกบ็ โตะ ของตวั เองใหเ รยี บรอ ยเสยี กอ น โตะ โลง จะชว ยใหเ ดก็ มสี มาธใิ นการฟง คาํ สง่ั ไดด ีกวาโตะทีม่ ขี องลอ ตาลอ ใจเด็ก 3. คณุ ครคู วรใชค าํ สงั่ เปน ขอ ยอ ยๆ แลว ใหเ ดก็ ทบทวนคาํ สงั่ กอ นเรมิ่ ทํางาน 4. ถาคําสั่งเปนตัวหนังสือ คุณครูควรใหเด็กขีดเสนใตหรือวงกลม คาํ สาํ คัญ เชน คําวา “จับค”ู “สงิ่ ของตรงขา ม” เปนตน 5. เด็กบางคนที่มีปญหาเร่ืองการเรียงลําดับ วิธีการชวยเหลือ คือ คณุ ครคู วรใหเ ดก็ เขยี นหรอื บอกขัน้ ยอยๆ ตามลําดับ เชน 1) อานคําสง่ั กอ นลงมอื ทาํ ทุกครัง้ 2) ใหเ ลือกคําตอบทีถ่ กู ทสี่ ดุ เพยี งขอ เดียว 3) หากไมเขาใจใหย กมอื ขนึ้ ถาม เพอื่ ใหเ ดก็ มโี อกาสทบทวนคาํ สง่ั ตามลาํ ดบั และตรวจสอบความเขา ใจ กอ นทีจ่ ะเรม่ิ ทาํ ดวย 6. การทาํ งานทไี่ ดร บั มอบหมายใหเ สรจ็ กอ นทค่ี ณุ ครจู ะเลอื กวธิ กี าร ท่ีจะชวยใหเด็กทํางานไดสําเร็จน้ัน คุณครูควรวิเคราะหระบบการทํางานของ เดก็ คนน้นั เสยี กอน - ประการแรกคือ การจัดแบงเวลาในการทํางานแตละอยาง เด็กแตละคนทํางานชาหรือเร็วไมเทากัน เด็กบางคนอาจตองการเวลา ในการทํางานมากกวาเพ่อื นคนอื่น 34 เด็กเรียนรูชา คมู อื สาํ หรบั ครู

- คุณครอู าจจําเปนตองใชอ ปุ กรณช วย เชน นากิ าจับเวลา เพ่อื ให เด็กเห็นวาตัวเองเหลือเวลาในการทํางานชิ้นน้ันอีกเทาไร และเด็กตองรูวาเขา ตอ งสงงานเวลาใด เปนตน 7. การทําการบานใหเสร็จ การบานของเด็กแตละคนควรเปน สิ่งทีเ่ หมาะสมกบั ความสามารถของเขา เพราะหากการบานยากเกินไป เด็กจะ รสู กึ เครียด คับขอ งใจและหมดหวังในการทาํ งานชนิ้ น้นั หากคุณครไู มไ ดร ะวงั อาจทําใหการบานกลายเปนปญหาสําคัญในการเรียนของเด็กดวย ปญหา เหลา นม้ี ดี ังตอ ไปน้ี - คณุ ครใู หการบานมากเกนิ ไป เด็กจึงเกดิ ความรสู กึ เบ่อื หนายหรือ ไมมีโอกาสทํากิจกรรมดานอ่ืนๆ ที่เด็กวัยนั้นควรไดทํา เชน การพักผอนหรือ การเลน กฬี า เปนตน - ผปู กครองสอนการบา นทไ่ี มต รงกบั วธิ กี ารสอนของคณุ ครทู โ่ี รงเรยี น เด็กจึงเกดิ ความสับสน - เดก็ ทไ่ี มเ ขา ใจหรอื ไมส ามารถทาํ การบา นเองได จงึ ตอ งลอกการบา น จากเพอ่ื น ดงั นน้ั สงิ่ ทคี่ ณุ ครคู วรคาํ นงึ คอื การบา นควรเปน ตวั ชว ยใหเ ดก็ ไดฝ ก ฝน ทกั ษะทเี่ รยี นรจู ากโรงเรยี น แตป รมิ าณการบา นตอ งพอดกี บั ความสามารถของ เดก็ ดว ย เดก็ เรียนรูชา คมู อื สําหรับครู 35

เมอ่ื ใหการบา น สิ่งทคี่ ุณครคู วรทํา 1. การบา นตองนาสนใจ นา สนุก เชน หากคณุ ครตู องการใหเ ด็กฝก เร่ืองการวัด คุณครูควรใหเด็กวัดหาพื้นท่ีของหองนอน หองครัว แทนท่ีจะให ฝก จากใบงานเพียงอยา งเดยี ว 2. คณุ ครูตองอธบิ ายเหตผุ ลในการใหก ารบา นแตล ะอยา งใหช ัดเจน 3. คุณครูควรรับฟงวานักเรียนคิดอยางไรกับการบานที่คุณครู มอบหมายให 4. ขอความคิดเห็นจากผูปกครองบาง คุณครูตองระลึกเสมอวา ผูปกครองเปนคนดูแลและชวยเหลือใหเด็กทําการบาน ดังนั้นขอแนะนําจาก ผูปกครองจึงเปนประโยชนอยา งมาก ส่ิงทคี่ ณุ ครไู มค วรทาํ 1. เมอื่ เดก็ ทาํ ผิด ใหการบา นเพม่ิ ขน้ึ เพื่อเปน การทําโทษ 2. คุณครูคิดเอาเองวา การท่ีเด็กไมถาม หมายถึง เด็กเขาใจงาน ทไี่ ดร บั มอบหมาย เพราะบางครง้ั เดก็ ทไี่ มเ ขา ใจอะไรเลยจงึ ไมท ราบจะถามอะไร 3. คุณครูคาดหวังวาเด็กทุกคน (แมจะเปนเด็กท่ีดีที่สุดในชั้น) จะทําการบา นเสร็จเรยี บรอยทกุ ครง้ั 4. ใหก ารบา นในเรื่องท่ียังไมไ ดสอน 36 เด็กเรยี นรชู า คมู อื สําหรบั ครู

การสรางแรงจูงใจในการทาํ งาน 1. การใชร างวลั เปน แรงจงู ใจ รางวลั หรอื แรงจงู ใจอาจเปน ขนม ของกนิ ของเลน เล็กๆ นอยๆ หรอื สิง่ ทีม่ คี า มากกวา สิง่ ของ คือ ทา ทีของคุณครทู แี่ สดง การยอมรับ ชื่นชมเมื่อเด็กทําไดสําเร็จ ซึ่งสามารถแสดงไดโดยการใหคําชม การโอบกอด หอมแกม การพยกั หนา ยิ้มตอบ เมอื่ เดก็ ทํางานสําเร็จ - ส่งิ ทส่ี าํ คัญทสี่ ุดของการใหร างวลั คอื คณุ ครูตอ งพยายามใหร างวัล ทันทีหลังจากท่ีเด็กทําสําเร็จ เชน การใหคําชมโดยทันที การใหเหรียญสะสม การใหสติกเกอรตดิ ในสมุด หลังเด็กทาํ งานเสรจ็ - สงิ่ ทสี่ าํ คญั รองลงมาคอื อยา รอใหร างวลั เมอื่ เดก็ ทาํ งานเสรจ็ ทง้ั หมด เพราะเด็กอาจจะทอและเบ่ือไปกอนท่ีจะไดรางวัล แตใหแบงงานน้ันเปน ข้ันตอนยอยๆ แลวใหรางวัลทันทีที่เด็กทําสําเร็จไดในขั้นตอนยอยๆ เชน เด็กมีการบานเลขทั้งหมด 10 ขอ ใหรางวัลเมื่อเด็กทําเลขไดเสร็จทุก 2 ขอ จะทาํ ใหเด็กสนใจและรว มมอื ในการทาํ จนเสร็จไดมากกวา 2. ควรมีการกําหนดงานท่ีตองการใหเด็กทําอยางชัดเจน เชน อานหนังสือ 4 หนา ทองคําศัพท 10 คํากอนดูการตูน หรือ เอาขยะไปท้ิง หลังรับประทานอาหารเสร็จ หรือใชเวลาเปนตัวกําหนด เชน ทําแบบฝกหัด สะกดคําเปนเวลา 30 นาที หลังจากน้ันใหกําหนดส่ิงที่เด็กจะไดรับเมื่อเด็ก ทําไดสําเร็จ และส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนเม่ือทําไมสําเร็จ เชน ถาตองการใหเด็กทําเลข ท้งั หมด 20 ขอ คณุ ครสู ามารถต้งั ขอ ตกลงไดวา ถา เดก็ ทาํ เลขได 5 ขอ เด็กจะ ไดพัก 5 นาที (เปนการแบงงานและใหรางวัลทันที) แลวถาเด็กทําเลขเสร็จ หมดครบ 20 ขอ เดก็ จะไดทํากิจกรรมที่ชอบ 1 เรอื่ ง แตถ า วันน้ีทํางานไมเสรจ็ เด็กจะตอ งงดทาํ กจิ กรรมท่ีชอบ เดก็ เรียนรูชา คูม ือสําหรับครู 37

3. ถา เด็กมพี ฤติกรรม อดิ ออด ลุกจากท่ีน่ัง คุณครจู ําเปน ตอ งจดั การ โดยเร็ว โดยการเขาไปใหความสนใจ เชน การแตะตัว นําตัวกลับมาที่เกาอ้ี หาปญหาท่ีทําใหเด็กทํางานตอไมไดและใหการชวยเหลือ เชน มีโจทยเลข บางขอท่ีเด็กไมเขาใจ ทําใหเด็กไมอยากทําตอ และยืนยันดวยทาทีสงบ หนกั แนน ใหเ ดก็ ทําตามขอ ตกลงท่ตี กลงกันไว คุณครอู าจพดู วา “คณุ ครรู วู า หนไู มอ ยากทาํ แลว แตไ หนดซู ิ โอโห หนทู าํ ไปตง้ั ครง่ึ นงึ แนะ คุณครูอนุญาตใหพักกอนได แลวเด๋ียวกลับมาคุณครูจะชวยทําขอที่หนู วา มันยากนะ” “ตน เลกิ เลน เดย๋ี วนี้ หนูไปทํางานตอไดแลว (คุณครูเดินจูงมือตน ไปที่โตะ) ตน เราตกลงกนั วา อะไร” 4. ถาเด็กอาละวาด ไมยอมทําตามกติกา หลังจากที่ยืนยันกติกา ที่ต้ังไว คุณครูควรเขาไปหยุดพฤติกรรมนั้นโดยทันที โดยการจับตัวใหหยุด ถาพฤติกรรมน้ันเปนอันตรายตอเด็กหรือเปนอันตรายตอคนอ่ืน หรือ มีการทําลายสิ่งของ แตถาเปนการรองอาละวาดโวยวายเพียงอยางเดียว คุณครูควรบอกเด็กวา คุณครูเขาใจสิ่งที่เขารูสึก แตกฎก็ยังเปนกฎ เชน “คุณครูรูวาหนูไมอยากทําแลว แตเราตกลงกันแลว คุณครูจะรอจนหนู รองไหเสร็จ แลวเรามาทําเลขขอที่เหลือกัน” เพ่ือใหเด็กทราบวาไมวาจะรอง อยา งไรกต็ อ งทาํ จนเสร็จอยูด ี 38 เดก็ เรยี นรูช า คูมอื สาํ หรับครู

การพฒั นาทกั ษะทางสังคม เดก็ เรียนรูช าจํานวนมากมีปญหาในการเขาสงั คมกบั เพ่ือนวัยเดยี วกัน ปญ หาทพ่ี บบอยคือ เด็กเรียนรชู า มกั ถูกลอ ถกู แกลง ถกู เพ่ือนแหยอ ยูเสมอๆ ทั้งนี้เน่ืองจากเด็กเรียนรูชามักคิดไมทันเพื่อน ควบคุมอารมณตนเองไดนอย เมอ่ื ถกู เพอ่ื นแกลง มกั จะโวยวาย หรอื มพี ฤตกิ รรมกา วรา ว ยงิ่ ทาํ ใหเ ปน จดุ สนใจ ของเด็กท่ัวๆ ไป บางรายอาจเรียกรอ งความสนใจแบบไมเหมาะสม ทําใหเด็ก กลายเปนตัวตลกไดบ อ ยๆ การฝกทักษะทางสังคมรวมถึงการฝกควบคุมอารมณจะทําใหเด็ก เขากบั เพ่ือนไดด ขี ้ึน ซ่ึงคณุ ครสู ามารถชว ยเหลอื ไดดังนี้ 1. คนหาวา ปญ หาการเขาสังคมกบั เพื่อนอยูท ่ไี หน โดยอาศัยการเลน ของเด็ก ทกั ษะตา งๆทีเ่ ดก็ ใชเ วลาอยูกับเพือ่ น เชน - ทักษะในการสื่อสาร ความเขาใจในกฎกติกาของเกมตางๆ การริเริ่มบทสนทนากบั ผอู ืน่ เมื่อเร่มิ ทําความรูจ ักกับเพื่อน - ความสามารถในการเลน เชน ทกั ษะกฬี าตา งๆ เดก็ ทาํ ไดด หี รอื ไม - ทักษะการอยูรวมกับผูอ่ืน ความสามารถในการเลนตามเพ่ือน รจู ักเอื้อเฟอ มนี ้าํ ใจ ขอโทษ ขอบใจ เขาใจความรสู ึกของคนอนื่ 2. จัดโอกาสและหาแบบฝกหดั ใหเดก็ ไดฝกฝนทกั ษะ โดยหากิจกรรม ใหเด็กไดทําเปนคูหรือเปนกลุม โดยกิจกรรมเหลานั้นตองมีระเบียบกฎเกณฑ และขนั้ ตอนทช่ี ัดเจน โดยครชู ว ยควบคมุ 3. จัดเพื่อนชวยดูแลเด็กเรียนรูชา ครูควรจัดเพื่อนท่ีสนิทหรือ เพื่อนที่อาสาดูแล คอยชวยเตือน ชวยครูดูแลเด็กชวงระหวางที่เด็กไมอยูใน หองเรียน และยังเปนตัวอยา งที่ดีในการฝกทกั ษะสังคมไดอ ีกดวย เด็กเรียนรชู า คมู อื สาํ หรบั ครู 39

เอกสารอา งอิง กุลยา กอสุวรรณ. (2553). การสอนเด็กที่มีความบกพรองระดับเล็กนอย. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ณัชพร นกสกุล. (2554). การบริหารจัดการเรียนรวม โดยใชโครงสรางซีท สํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน กรณีศึกษา: โรงเรียนวัดอุทัยธาราม สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร. กรงุ เทพ: กลมุ งานการศกึ ษาพเิ ศษ สถาบนั ราชานุกลู . นพวรรณ ศรวี งศพานิชย, พฏั โชคมหามงคล. ภาวะบกพรองทางสตปิ ญ ญา/ ภาวะปญ ญาออ น (Intellectual Disability/ Mental Retardation). ใน นชิ รา เรอื งดารกานนท. ตําราพัฒนาการเดก็ และพฤติกรรม. กรงุ เทพมหานคร : โฮสสตกิ พับลชิ ชง่ิ . 2551: 179-204 มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ไอโอดีนกบั สตปิ ญญาเด็กไทย: บทท่ี 5 การควบคุมและ ปองกันโรค. จาก www.il.mahidol.ac.th/e-media/iodine/ chapter 5.html ลดั ดา เหมาะสวุ รรณ และคณะ. สุขภาวะเด็กและวยั รุน ไทยอายุ 6 - 12 ป. ใน ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย. รายงานโครงการ วิเคราะหสุขภาวะของเดก็ และวยั รุน ไทย. 2552 : 137-161 วนิดา ชนนิ ทยุทธวงศ และคณะ. (2554). พิมพครัง้ ท่ี 3. สมองเด็กไทย... รอไมไ หวแลว . กรงุ เทพฯ: บริษทั บียอนด พบั ลสิ ชง่ิ จํากัด -------------. (2554). แบบคัดกรองปญหาพัฒนาการและแนวทางการสง เสริมพัฒนาการเด็กบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บยี อนด พบั ลสิ ชง่ิ จาํ กดั . 40 เด็กเรยี นรชู า คมู ือสําหรับครู

วินัดดา ปยะศิลป และพนม เกตุมาน. (2550). ตําราจิตเวชเด็กและ วัยรุน เลม 2. ภาวะปญญาออน. หนา 197 - 208. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จาํ กดั . ศรีเรือน แกวกังวาล. เด็กปญญาออน. ใน ศรีเรือน แกวกังวาล. จิตวิทยา เด็กพิเศษ. กรงุ เทพฯ สํานักพมิ พหมอชาวบา น. 2545: 49 - 99 สินีนาฏ จติ ตภ ักด,ี แสงเดอื น ยอดมณวี งศ และคณะ. (2548). พมิ พค รั้งที่ 2. คูมือเสริมสรางไอคิวและอีคิวเด็ก สําหรับครูโรงเรียนอนุบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั . อนุ เรอื น อาํ ไพพสั ตร. (2548). จติ วทิ ยาการสอนเพอ่ื พฒั นาบคุ คลพเิ ศษดา น สติปญญา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค รุ สุ ภาลาดพราว. เดก็ เรยี นรูชา คูมอื สาํ หรับครู 41

42 เดก็ เรยี นรชู า คมู อื สําหรบั ครู

ภาคผนวก เดก็ เรยี นรชู า คูมือสําหรบั ครู 43

แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล (Individualized Education Program: IEP) กอ นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน  ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ชอ่ื สถานศกึ ษา......................................................สงั กดั ................................................ เรม่ิ ใชแ ผนวนั ท่ี .................................................................สน้ิ สดุ แผนวนั ท่ี .................... ระดบั  อนบุ าลปท ่ี ............... ประถมศกึ ษาปท ่ี ............ 1. ขอ มลู ทว่ั ไป ชอ่ื – ชอ่ื สกลุ ................................................................................................................ เลขประจาํ ตวั ประชาชน ............................................................................................... การจดทะเบยี นคนพกิ าร  ไมจ ด ยงั ไมจ ด จดแลว ทะเบยี นเลขท่ี ................................................................................................................. วนั /เดอื น/ป เกดิ ...................... อายุ ..........ป .................... เดอื น ศาสนา .................... ประเภทความพกิ าร ........................................ลกั ษณะความพกิ าร .............................. ชอ่ื – สกลุ บดิ า ............................................................................................................... ชอ่ื – สกลุ มารดา ........................................................................................................... ชอ่ื – สกลุ ผปู กครอง ............................................................เกย่ี วขอ งเปน .................... ทอ่ี ยผู ปู กครองทต่ี ดิ ตอ ได บา นเลขท่ี .................................. ชอ่ื หมบู า น ....................... ถนน ..........................ตาํ บล/แขวง ...........................อาํ เภอ/เขต ................................. จงั หวดั ....................................................... รหสั ไปรษณยี  ............................................ โทรศพั ท ...............................มอื ถอื ...................................... โทรสาร ............................... e-mail address …………………………………………………………………………………………… 44 เด็กเรียนรูชา คูมอื สาํ หรบั ครู

2. ขอ มลู ดา นการศกึ ษา ไมเ คยไดร บั การศกึ ษา/บรกิ ารทางการศกึ ษา  เคยไดร บั การศกึ ษา/บรกิ ารทางการศกึ ษา  ศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษ สว นกลาง .........................ระดบั .......................... พ.ศ. .............  โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร ............................... ระดบั ........................ พ.ศ. ................ โรงเรยี นเรยี นรว ม ............................................... ระดบั ......................... พ.ศ. ................ การศกึ ษาดา นอาชพี ...........................................ระดบั ...................... พ.ศ. ................ การศกึ ษานอกระบบ ..........................................ระดบั ...................... พ.ศ. ................ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ...................................... ระดบั ....................... พ.ศ. ................ อน่ื ๆ ...................................................................ระดบั ...................... พ.ศ. ............... เด็กเรยี นรชู า คูม ือสาํ หรับครู 45

46 เดก็ เรยี นรชู า คมู อื สําหรบั ครู 3. การวางแผนการศกึ ษา ระดบั ความสามารถใน เปา หมายระยะยาว 1 ป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม การประเมนิ ผลปจ จบุ นั ผรู บั ผดิ ชอบ ปจ จบุ นั (เปา หมายระยะสน้ั ) ดา นกลา มเนอ้ื การออกกําลังเพ่อื เสริมสราง เม่ือตองทํากิจกรรมท่ีตองใช สงั เกตจากการรว ม จดุ เดน พฒั นาการของกลา มเนอ้ื และ ความสามารถในการทาํ งานของ กจิ กรรมกลางแจง การใชง านของกลา มเนอ้ื การทรงตวั กลามเน้ือสวนตางๆ นักเรียน มัดใหญในการทํากิจกรรม สามารถทําไดตามวัตถุประสงค ตา งๆ สามารถทาํ ไดใ น ทกุ ครง้ั ระดบั หนง่ึ จดุ ดอ ย การฝกทักษะการใชงานของ เม่อื ฝกกิจกรรมประเภทลีลามือ สงั เกตจากการรว ม การใชง านของกลา มเนอ้ื กลา มเนอ้ื มดั เลก็ ในการ นักเรียนสามารถลากเสนตาม กจิ กรรมภายในชั้นเรียน มดั เลก็ ยงั ตอ งชว ยเหลอื เชน หยบิ จบั ขดี เขยี น และ แบบได ต้ังแตลักษณะเสนพ้ืน เรอ่ื งนา้ํ หนกั มอื ในการเขยี น การใชม อื กบั อปุ กรณง า ยๆ ฐานจนถึงแบบพยัญชนะงายๆ ทไ่ี มซ บั ซอ น

3. การวางแผนการศกึ ษา (ตอ ) ระดบั ความสามารถใน เปา หมายระยะยาว 1 ป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม การประเมนิ ผลปจ จบุ นั ผรู บั ผดิ ชอบ ปจ จบุ นั (เปา หมายระยะสน้ั ) ดา นการชว ยเหลอื ตวั เอง จดุ เดน นกั เรยี นสามารถชว ยเหลอื การชวยเหลือตัวเองโดยลด - เมอ่ื ตอ งทาํ ความสะอาด สงั เกตจากการรว ม ตวั เองในเรอ่ื งงา ยๆ ได เชน การดแู ลลง รา งกาย นกั เรยี นสามารถ กจิ กรรมประจาํ วนั รบั ประทานอาหาร เขา หอ งนา้ํ ทาํ ความสะอาดไดเ อง ปส สาวะ หยบิ จบั สง่ิ ตา งๆ ตามความตอ งการไดด ี โดยครไู มต อ งชว ยเหลอื หรอื ลดการชว ยเหลอื ลงในบาง กจิ กรรม เดก็ เรียนรชู า คูมือสําหรับครู 47 จดุ ดอ ย - ขณะรบั ประทานอาหาร - ยงั ไมส ามารถชว ยเหลอื รบั ผดิ ชอบตอ กจิ วตั ร ตวั เองไดด ี ยงั ตอ งการ ประจาํ วนั ของตวั เอง นกั เรยี นสามารถรบั ประทาน ไดเ รยี บรอ ยและเกบ็ ผดู แู ลในบางครง้ั เชน โดยไมต อ งเตอื น เศษอาหารจนสะอาดหลงั จาก รบั ประทานอาหารไดแ ต รบั ประทานเสรจ็ ยงั หกเลอะเทอะ เขา หอ งนา้ํ ไดแ ตย งั ตอ งดแู ล - เมื่อตอ งปฏิบตั ิกจิ วตั ร ประจําวัน นักเรียนสามารถ ความสะอาด เปน ตน สง การบา นและเก็บสิ่งของ - ยงั ตอ งเตอื นในการปฏบิ ตั ิ กจิ วตั รประจาํ วนั บางเรอ่ื ง ตา งๆ ไดถ กู ทโ่ี ดยครไู มต อ งเตอื น

48 เดก็ เรยี นรชู า คมู อื สําหรบั ครู 3. การวางแผนการศกึ ษา (ตอ ) ระดบั ความสามารถใน เปา หมายระยะยาว 1 ป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม การประเมนิ ผลปจ จบุ นั ผรู บั ผดิ ชอบ ปจ จบุ นั (เปา หมายระยะสน้ั ) ดา นภาษาและการสอ่ื สาร จดุ เดน รูจักและปฏิบัติตามคําส่ัง - นกั เรยี นสามารถสอ่ื สาร เม่อื ตองส่อื สารกับผอู ่นื นักเรียน สงั เกตจากการรว ม งา ยๆ ทไ่ี มซ บั ซอ นได โดยคาํ พดู การทาํ รปู ปาก สามารถใชก ารพดู ภาษาทา ทาง กจิ กรรมประจาํ วนั จดุ ดอ ย ตามแบบได หรือรูปภาพในการส่ือสารได ไมม เี สยี งพดู - นกั เรยี นเขา ใจคาํ ศพั ท ทกุ ครง้ั ในชวี ติ ประจาํ วนั โดย การสอ่ื สารแบบใชก ารพดู ประกอบภาพ พน้ื ฐานดา นวชิ าการ ภาษาไทย จดุ เดน - เขยี นเสน พน้ื ฐานตามรอย - เมอ่ื ใหน กั เรยี นทาํ กจิ กรรม สงั เกตจากการรว ม - สามารถเขยี นเสน พน้ื ฐาน และเสน ประพยญั ชนะ นกั เรยี นสามารถทาํ กจิ กรรม กจิ กรรมประจาํ วนั ตามรอยได ตามรอยไดเ องโดยไมม ผี ชู ว ย ไดอ ยา งมสี มาธเิ ปน เวลา 30 - มสี มาธแิ ละความสนใจ - นกั เรยี นมสี มาธใิ นการทาํ นาที ประมาณ 15 - 20 นาที กจิ กรรมตา ง ๆ อยา งนอ ย 30 นาที

3. การวางแผนการศกึ ษา (ตอ ) เดก็ เรียนรชู า คูมือสําหรับครู 49 ระดบั ความสามารถใน เปา หมายระยะยาว 1 ป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม การประเมนิ ผลปจ จบุ นั ผรู บั ผดิ ชอบ ปจ จบุ นั - บอกตวั เลข 1 - 10 (เปา หมายระยะสน้ั ) จดุ ดอ ย ตามคาํ สง่ั ได - นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ติ าม ปฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั ไดบ างสว น คาํ สง่ั ไดย า งถกู ตอ งอยา งนอ ย เนอ่ื งจากไมไ ดย นิ เสยี ง วนั ละ 20 คาํ สง่ั คณติ ศาสตร - เมอ่ื ใหน กั เรยี นชต้ี วั เลข สงั เกตจากการทาํ กจิ กรรม จดุ เดน 1 - 10 แบบไมเ รยี งลาํ ดบั และการทาํ แบบฝก - นกั เรยี นสามารถชต้ี วั เลขได ประจาํ วนั จดุ ดอ ย ถกู ตอ ง 8 ครง้ั จาก 10 ครง้ั - ไมร จู กั ตวั เลข และจาํ นวน - เมอ่ื ใหบ อกสนี กั เรยี นสามารถ บอกสถี กู ตอ ง 4 จาก 7 สี - ไมร จู กั สี - ชบ้ี อกสตี ามคาํ สง่ั ได - เขยี นตวั เลขโดยมี ถกู ตอ งอยา งนอ ย 7 สี - เมอ่ื ใหเ ขยี นตวั เลขนกั เรยี น สามารถเขยี นตวั เลข 1 - 10 รอยประไมไ ด - เขยี นตวั เลข 1 - 10 โดย ตามรอยไดอ ยา งถกู ตอ ง มรี อยประไดถ กู ตอ ง

4. คณะกรรมการจดั ทาํ แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล ลายมอื ชอ่ื ชอ่ื ตาํ แหนง ...................... ...................... .................................................. ผอู าํ นวยการโรงเรยี น ...................... .................................................. หวั หนา งานการศกึ ษาพเิ ศษ ....................... .................................................. ครปู ระจาํ ชน้ั ....................... .................................................. ผชู ว ยครปู ระจาํ ชน้ั .................................................. ผปู กครอง ประชมุ วนั ท่ี ............... เดอื น ...................................................... พ.ศ. ............................. 5. ความคดิ เหน็ ของบดิ า/มารดา/ผปู กครองหรอื ผเู รยี น การจดั ทาํ แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลฉบบั น้ี ขา พเจา เหน็ ดว ย ไมเ หน็ ดว ย เพราะ ............................................................... ลงชอ่ื ....................................................... ( .......................................................... ) เกย่ี วขอ งเปน ........................................... วนั ท่ี ......... เดอื น ............................. พ.ศ. .................. 50 เด็กเรียนรูช า คมู อื สําหรับครู