Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฮีตสิบสอง

Description: ฮีตสิบสอง

Search

Read the Text Version

ÎµÕ ÊºÔ Êͧ เรื่อง สมชาย นิลอาธิ ภาพประกอบ ธนพนธ เลก็ สิงหโต 1

“บญุ โฮม” หรอื เมื่อตอนยงั เปน เดก็ นอ ย มีชือ่ เรียกนา รกั นา เอน็ ดูวา บกั หำโฮม หรอื บกั หำนอ ย บญุ โฮมอยกู บั แมใ หญห รอื ยายทร่ี มิ ฝง แมน ำ้ โขง จงั หวัดหนองคาย เพราะพอ แมต อ งออกไปทำนาในฤดฝู น และทำไรยาสบู ตอ เม่อื เก็บเก่ียวขา วแลว จงึ ใกลช ดิ และรักแมใหญมาก 2

3

เม่ือบญุ โฮมอายุได 5 ขวบ พอก็เริ่มมีอาการปว ย เพราะตอง ทำงานหนกั และไดร บั สารเคมี จากยาปราบศตั รพู ชื จน “เสยี ตวั ” ตายจากไปในปต อ มา บญุ โฮม จงึ เปน เดก็ “กำพรา” พอ เมือ่ อายุไดเ พียง 6 ขวบ ตอมาอีกไมนานแมกม็ า เสยี ตัวตายจากไปอีก จงึ กลายเปน เดก็ “กำพอย” 4

5

6

ไมนานนัก แมใ หญทบ่ี ญุ โฮมรักและใกลชดิ กเ็ ร่มิ หมดเร่ียวแรงที่จะ เลีย้ งดเู จากำพอยโฮม จงึ ตดั สนิ ใจพาหลานไปกราบญาคใู หญ เจา สำนกั สงฆว ดั ปา เพื่อขอ “ประเคน” ถวาย ยกใหเปน “ลูกฮกั ” ของญาคู ญาคคู ดิ วา เดก็ นอ ยคนนห้ี นา ตากด็ ี แลว กย็ งั ชอ่ื บญุ โฮม แตบ ญุ กลบั ไมม าอยรู วมกบั เจา กำพอยนอ ยคนนเ้ี ลย จงึ ไดเ ปลย่ี นชอ่ื ใหใ หมเ ปน “เคน” ตามที่แมใ หญข องมันเอามาประเคนถวายให เจา กำพอยเคนจึงไดอ าศัย อยทู ี่วัดปาโดยมีญาคใู หญเ ลีย้ งดูสัง่ สอนเร่อื ยมา 7

หลังจากเลกิ เรยี นแลว เคนจะเขา ไปคอยปรนนบิ ัติรบั ใชญ าคูใหญด ว ยสำนกึ ในบุญคณุ ของทา นเสมอไมเคยขาด และ เปน โอกาสดที ญ่ี าคใู หญไดใชเวลาตอน หัวคำ่ น้ี สัง่ สอนวิชาความรูใหก ับเคน เปนประจำดวยความรกั เมตตา และสงสาร ค่ำคืนหนึ่ง ญาคใู หญก ็พดู กบั เคนวา 8

“ชวี ติ เจา เปนตาอีโตนนาสงสารแท พอ ตายหนจี ากเปน “กำพรา” แตตวั นอย บท ันดนนาน แมกม็ าเสยี ตวั จากไปนำอกี เออนะ …มาอยู นำญาคูกะดีแลว เจาควรจะไดร ูไวบางวา อสี านบานเฮามแี นวดีๆ อีหยงั แน ท่คี วรชมชนื่ ภมู ใิ จและควรฮกั ษาไว แตก ค็ อยๆ เรยี นคอยๆ รูไปกแ็ ลวกนั เนาะ 9

กอ นทเ่ี จา จะเรยี นรเู รอ่ื งอน่ื ๆ เจา ควรจะรเู รอ่ื ง “เสย่ี ว” กอ น เสย่ี วคอื ญาตแิ บบหนงึ่ คนทีเ่ ปน เสย่ี วกันจะตอ งผา นพิธีดว ยตวั เอง โดยมคี นอนื่ รบั รเู ปน พยานดวย พอแมบ างคนกต็ กลงใหล ูกเปนเสย่ี วกนั เรียกวา “ผกู เสยี่ ว” เม่อื ผกู เสย่ี วแลว ท้ังสองคนจะมีความผูกพนั กันแนบแนน เสมอื นญาติสายเลอื ด หรอื ยงิ่ กวา ตอ งชว ยเหลอื เกือ้ กูลกนั ทกุ เรอ่ื ง ทกุ โอกาส กระท่งั สามารถทกุ ขห รือตายแทนกันไดเ ลยทีเดียว พอแม และลูกของท้งั สองคน ก็จะเปน พอแมและลูกของอกี คนหนง่ึ ดวย คนท่ีจะผกู เสย่ี วกนั ได จะถกู กำหนดบางอยางไวดวย เชน เปน เพศเดียวกันและมัน่ ใจวา รักกนั จรงิ มลี กั ษณะนิสัยคลา ยคลึงกนั อายเุ ทากนั หรือไลเ ลยี่ กนั มักหา งกนั ไดประมาณ 1-3 ป แตต อ ง ไดรบั การยินยอมจากคนทอี่ ายุแกก วา 10

11

เรอื่ งการผกู เส่ียวนี้มปี ระโยชนม ากในการ ชว ยเหลือกันในยามปกตแิ ละยามทกุ ขย าก รวมทง้ั การเดนิ ทางไกลท่ตี องเส่ียงภยั คนโบราณอสี านจงึ เวาเปน ผญาภาษิตวา “ผมบหลายใหตื่มซอ ง พี่นอง บหลายใหต ื่มเส่ียวตม่ื เกลอ” หมายความวาถา หญิงใดผมรว งผมบาง ต้ังเกลามวยไมใ หญไ มส วย ก็ใหสอดผมปลอมเพิม่ เขาไป จะไดเกลา ไดงาม ถามีพน่ี อ งไมม าก หรือไมมเี ลยอยา งเจา ใหหาผกู เสย่ี วเพื่อเพิ่มญาติ จะไดชว ยเหลอื กนั ตอไปภายหนา 12

เรอ่ื งใหญส ำคญั มากของคนอีสาน ลวนแลว เรียกรวมๆ วา ฮีต 12 คือ จารีต 12 เดอื น เปน ขอปฏิบัติทีป่ ระเพณีอสี าน ทำกนั เปน ประจำทุกเดอื น ท้ัง 12 เดือนเลย ญาคจู ะบอกใหเจาจงจำไว… ถา เจาอยาก เขาใจวิถีชีวติ ชาวอสี าน เจา กต็ อ งเขาใจ จารีตท้ัง 12 เดอื น 13

ฮีตที่ 1 “บุญเขากรรม” มีคำโบราณวา ไวว า “à¶Ô§à´Í× ¹à¨ÂÕ §ÁÒ¹é¹Ñ .. ã˹Œ ÔÁ¹µ¾ÃÐÊѧ¦Ð਌Òà¢ÒŒ »ÃÔÇÒÊ¡ÃÃÁ” 14

เดอื นเจียงหรือเดอื นอา ยนน้ั เปน ชวงหลังการเก็บเกยี่ วขา วนาป แลว และเปนชวงหลังเทศกาลร่นื เริง พระสงฆบ างองคอ าจเผลอตัว สนกุ สนานจนตองอาบตั บิ างขอ ได สงั คมจงึ กำหนดพิธีชวยใหพ ระสงฆ พน จากอาบตั ิ โดยมาเขา อยูปรวิ าสกรรมปฏิบัตติ วั อยา งเครง ครดั อยา งนอ ย 6 คนื งานบุญนีม้ ักจะมีชาวบา นเขารว มบวชพราหมณแ ละ บวชชดี ว ย ชาวบา นอีกสว นหนงึ่ จะรว มทำบญุ อปุ ฏ ฐากพระสงฆ 15

ฮตี ท่ี 2 “บญุ คูณลาน” “à¶§Ô ÃдàÙ ´×͹ÂÕè ãËŒ¹ÁÔ ¹µ¾ ÃÐ椄 ¦Ð਌ÒÁÒµé§Ñ ÊٵêÂÑ Á§¤Å àÍÒºØÞ¤³Ø ¢ÒŒ ÇáÅÐËÒËÅÑÇËÒ¿„¹ÁÒäÇ”Œ 16

ในเดือนยี่ ทำพิธที ำขวญั ลานขาว ไหวแ มโพสพ แมธ รณี เพราะ เขาเชื่อกันวา ในตอนตีขาว แรงตีจะสะเทือนถึงหัวแมธ รณี ซงึ่ เปน เทพธิดาประจำผนื ดนิ จงึ ตอ งขอใหแมธ รณยี า ยออกไปจากลานขา ว กอน และขอสมมาตอแมโพสพคอื เทพธิดาแหง ขาวดวย เพราะจะตอ ง ตใี หเมลด็ ขาวหลดุ จากรวงขาว…กลวั แมโ พสพจะตกใจ ทล่ี านขาวนชี้ าวนาจะนำขา วทน่ี วด แลว มากองข้ึนใหส ูง เมือ่ ทำขวัญขาวแลว จึงจะเก็บเขา เลาขาว พระสงฆท ่นี ิมนตม า จะประพรมนำ้ มนตใหแกลานขา ว กองขา ว วัว ควาย เครือ่ งมอื เครือ่ งใชในการทำนา รวมทง้ั เจาของนา เพอื่ ขอบคณุ ทกุ สรรพสง่ิ ทที่ ำใหเกิดผลผลติ ความคิดของชาวบา น ท่มี ตี อธรรมชาติแวดลอ มนี่ละคือเก้อื กูลกนั ไมเอาเปรียบกันถอยทีถอ ยอาศัยกนั 17

ฮตี ท่ี 3 “บญุ ขาวจ่”ี “à´×͹ÊÒÁ¤ÍŒ  à¨ÒŒ ËÇÑ ¤Í»¹œ˜ ¢ŒÒǨèÕ ¢ÒŒ ǨÕèºÁ‹ ¹Õ éÓÍÍŒ  ¨ÇÑ ¹ÍŒ Âàª´ç ¹éÓµÒ” 18

คนอีสานมีเพลงรอ งเยาแหยพ ระเณรในเดือน 3 เพราะถงึ เดอื นน้ี พระเณรจะไดก นิ ขาวจท่ี ค่ี นนำไปถวายวัด ซง่ึ จะเปน ขาวจชี่ นั้ ดีทำดว ย ไขท่ีตีใสน้ำออ ยจนท่ัวและยางไฟใหเหลือง ชาวบา นจะปนขาวเหนียว ใหกลมหรอื แบนเอาไปจ่ไี ฟ ถา หลายแหง กจ็ ะทำ ขาวเกรยี บดว ย ขา วเกรียบทีว่ า น้เี ขาจะใชห วั ของเครอื “ตดหมา” มาตำผสมดว ย ชวยทำใหห อมหวานและ พองเวลาถูกความรอน เดอื นนชี้ าวบา นเขามีความ เชอ่ื ทเี่ ปน ขอ หาม “คะลำ” ดว ยนะวา หา มตักขา วใน เลา ขาวออกมากินกอ นวนั “ออกใหม 3 คำ่ เดือน 3” เพราะจะทำใหเกิดความอดอยาก จะตองทำพธิ ี “สขู วัญเลา” ใหเ ปน มงคลค้ำคูณกับครอบครัวกอน หลายแหงกเ็ รยี กช่อื กันตา งไปบา ง เชน ตุมปากเลา จกปากเลา ฯลฯ หลังจากน้ีแลวชาวบานทง้ั หมด จะเอาขา วเปลือกรวมกนั ตามกำลังทล่ี านวดั หรือลาน กลางบาน ทำพธิ ี “บญุ กมุ ขาวใหญ” คอื บญุ กองขา ว เพือ่ ใชประโยชนช ว ยเหลอื เก้ือกูลกนั ในหมบู า น 19

ฮีตท่ี 4 “บุญพระเวส” “à´×͹ÊÕ褌Í ¨ÇÑ ¹ÍŒ Âà·È¹ÁзՔ คนอีสานเรยี กฮีตที่ 4 วา บญุ ผะเหวด หรอื บุญพระเวสสันดร เปน บุญใหญท เี่ ชื่อกนั วาเปนการบำเพ็ญ “ทานบารมี” ในพระชาติ สุดทายของพระโพธสิ ัตวกอ นมาเกดิ เปน พระพทุ ธเจา จึงเรยี กอกี ช่ือหน่งึ วา บญุ มหาชาติ มีชาวบานทำบุญและมวนซนื่ รวมกนั ตลอดท้งั 2 วัน 20

โดยเฉพาะชอบฟง จวั นอยหรือเณร เทศนกัณฑ มัทรซี ึ่งตองใชเ สยี งแหลม เริม่ จากการเตรยี มตกแตง หอแจกหรอื โรงธรรมใหคลายปา เขาวงกตตามเรือ่ งพระ เวสสันดร งานวนั แรกเร่ิมจากพธิ แี หเชิญพระ อปุ คตุ จากแหลงน้ำมาชว ยคมุ ครองงานบุญ แหเชิญผา ผะเหวด ซึง่ เปนผาขาวมีรปู วาดวา เรอ่ื ง เวสสนั ดรชาดก เอาขนึ้ ขึงในหอแจกตอนเย็น ตกค่ำมีเทศนม าลัย หม่ืนมาลัยแสน รุงขึ้นเชา มดื แหขา วพันกอนรอบหอแจก ตอนเชา จะเร่มิ เทศนสงั กาด คอื เทศนบอกศักราชเปน เรือ่ งพทุ ธประวัติโดย สามเณร จากน้ันจึงเริม่ เทศนผะเหวดต้ังแตก ณั ฑท ศพรไปจนจบ รวมท้งั หมด 13 กณั ฑ มคี าถาประจำท้ังหมด 1,000 พระคาถา ก็อยางท่ีบอกละวา เรือ่ งมันมาก ไหนจะมเี ร่ืองแถมสมภาร เวลา พระเณรเทศนจ บแตละตอนอกี บางทกี ็มีการรวมกลมุ กนั เอาจตปุ จ จัย ไปถวายพระเณรเพมิ่ เติมท่เี รยี กวา กณั ฑห ลอนดวย 21

ฮตี ท่ี 5 “บญุ สรงน้ำ” พอถึงวันท่ี 13-14-15 ของเดอื นเมษายน คนทัว่ ไปเรยี กวา วันสงกรานต แตค นอสี านจะเรียกวา “บุญสรงน้ำ” เพราะตอ งทำ พิธีสรงนำ้ พระพทุ ธรปู สรงนำ้ พระสงฆ และสรงนำ้ ผเู ฒา ท่เี ปนหลกั ของชุมชน หมบู า น มปี ระเพณขี นทรายเขาวัดดวยการตบปะทาย 22

คอื กอ กองทรายเอาธงผา และธงกระดาษปกไวท ยี่ อด บางแหง ก็ ตบปะทายตามหาดทรายริมน้ำใกลหมูบ า น คนท่วั ไปจะรูจกั กัน ตรงนเี้ พราะมกี ารเลนสาดนำ้ มว นซ่ืนกัน แตอ ีหลีแลวความสำคญั จะอยทู ก่ี ารเชญิ “พระลง” คอื จะชว ยกนั เอาพระพทุ ธรปู สำคญั ของ หมูบา นชมุ ชนมาทำความสะอาด นำน้ำอบนำ้ หอมมาสรงพระ แลว ประดษิ ฐานที่หอแจกใหช าวบา นสรงนำ้ ตลอดเวลา 1 เดอื น 23

ฮีตที่ 6 “บญุ บั้งไฟ” “ºÒŒ ¹ã´ã´à´Í× ¹ 6 à´Í× ¹ 5 ä´ŒÂ¹Ô Ç‹ÒàÍÒºÞØ º§Ñé ä¿” บญุ บ้งั ไฟเปนบญุ ใหญอีกบุญหนงึ่ มีตำนานเก่ยี วขอ งถงึ 2 เรอื่ ง คือ ผาแดงนางไอ และพญาคนั คาก แถมยังมีความเชื่อ อกี ดว ยวา ถา บานใดจัดแลวตอ งจัดตดิ ตอกัน 3 ป จะจดั งาน ตดิ ตอกัน 2 วนั คือ วันแหแ ละวันจดู ตอ งเตรยี มงานลว งหนา กนั นานเปนเดอื น เพราะตองเตรียมทำบ้ังไฟท่ตี กแตง เขาขบวน แหในวันแรกเรียกวา “บงั้ เอ” และตอ งเตรยี มบงั้ ไฟสำหรบั จุด ในวันท่ี 2 เรยี กวา “บั้งจดู ” ขบวนแหจ ะมีการแสดงทเี่ รียกวา “เซ้งิ บง้ั ไฟ” มที ั้งการฟอ นประกอบจังหวะการลำเซง้ิ เรียกวา “เซิ้งธรรมะ” แตก ี้เขาจะใหผชู ายแตงตวั ดว ยชดุ ผูห ญงิ เขา ขบวนกนั ทั้งน้ัน วันรุง ข้นึ จึงจูดบัง้ ไฟกนั ท่ี “คา งบ้งั ไฟ” ชายทุง ริมหมบู า น มีหมบู า นอื่นๆ เขา รว มแขงขนั กนั อยาง ครกึ ครื้น เลนสนกุ มว นซืน่ โฮแซวกันท้ัง 2 วนั ใหเจารูไ วว า คนสว นมากจะรูจกั บุญบ้ังไฟเพยี งการแหและ จูดบ้งั ไฟท่ีมวนซนื่ แตอ ีหลีแลว พธิ สี ำคญั ของบั้งไฟจะอยทู ก่ี าร ทำพธิ ีเลย้ี งผปี ตู า ซึ่งเปน ผีคุมครองหมบู า นใหสุขและสมบูรณ มีการจดู บงั้ ไฟเสี่ยงทายฟาฝน คนและสัตวเลยี้ งดว ย 24

สวนทางฝายวดั ก็จะมพี ธิ ีบวชลูกหลานชาวบานไปพรอมกันดวย เพราะเปน งานใหญอ ยูแลว และทส่ี ำคญั คอื บางหมบู านกจ็ ะรว มกนั ทำพิธี “ฮดสรง”พระ เพือ่ ยกยองใหสงู ขน้ึ กวาพระทัว่ ไป ทีเ่ รียกวาพิธี “เถราภิเษก” 25

ฮตี ท่ี 7 “บุญซำฮะ” บานใดเมืองใดเกดิ เดอื ดรอ น ขาวยากหมากแพง มโี รคระบาด คนแตก อ นเขาจดั พธิ ที ำบญุ ชำระบา นชำระ เมอื งใหเ ปน มงคลรว มกนั บา นเมอื งใดผเูปน ใหญใ นบา นเมอื ง 26

เจ็บไขไ มสบายหรอื เกดิ วุน วายชงิ อำนาจ ถือกันวา หลักไมม่ัน ตอ งทำพิธตี อกหลกั ใหตรง เดอื น 7 เจา รไู วว า ทำ “บญุ ซำฮะ” แตก อ นจะทำกนั ทล่ี านกลาง หมบู านทีม่ ี “หลกั บือบา น” ปก เปนเหมอื นสะดือบา นหรอื ใจบา น บางที กเ็ รยี กวา บญุ เบกิ บา นหรอื บญุ เลย้ี งบานก็มี ชาวบานจะนิมนตพ ระสวด มงุ คุน หรอื สวดพุทธมงคล ในตอนเย็น 3 วันตดิ ตอกัน เพ่ือความเปน สริ ิมงคลรวมกันทัง้ หมบู า นโดยผา นสายสิญจนท่ีโยงไปทุกหลงั คาเรือน รงุ ข้ึนจึงทำบุญเชา ถวายจงั หันพระสงฆทห่ี อแจก 27

ฮตี ท่ี 8 “บุญเขาพรรษา” ชว งฤดูเดือน 8 ชายหนมุ อสี านนิยมบวชเรยี นตาม ประเพณนี ยิ ม วดั จึงมพี ระอยูจ ำนวนมาก อกี ท้ังเปนชว งเวลา ทพ่ี ระภกิ ษุตอ งอยวู ัดตลอด 3 เดือน “บุญเขา พรรษา” เปน งานบุญของศาสนาพทุ ธโดยตรง ชาวบา นจะชว ยกนั หลอเทียนจากข้ีผ้ึง เปนตน เทยี นขนาดเล็ก ใหญตามกำลัง บางแหงกแ็ กะสลกั เทยี นใหสวยงามบา งตาม แตจะทำได แลว รวมตวั ตงั้ ขบวนแหเทียนไปถวายพระเรยี กวา “แหต น เทียน” เพ่ือไดใชจ ุดบชู าพระประธานในตอนทำพิธี กรรมรว มกันของสงฆทเี่ รียกวา “สงั ฆกรรม” สวนเทียนขผ้ี ึ้ง ขนาดเล็กกจ็ ะไดใ ชเ ปนแสงสวา งในการทำงานตา งๆ โดยเฉพาะ ใชจ ดุ อา นหนงั สอื ทองบทสวดมนตและจดุ บูชาพระเปน สว นตวั นอกจากนีก้ ็จะมกี ารถวายผาอาบน้ำฝนใหแกพ ระสงฆดวย 28

29

ฮตี ท่ี 9 “บุญขาวประดับดนิ ” ที่ผา นมาญาคบู อกเจา แลว วา บุญเขา พรรษาเปนเรื่องทำบญุ ศาสนาพทุ ธ แตเดอื น 9 เดือน 10 เปนการทำบญุ เก่ยี วกับวิญญาณ บรรพชน คอื “บุญขา วประดับดนิ ” และ “บญุ ขาวสาก” แตก ็มกี าร 30

ทำพิธที ี่วดั ดวยเหมอื นกัน จนเกือบจะเปนบญุ เดียวกัน จนบางแหง ถึงกบั เรยี กบุญขาวประดับดินวา บญุ ขา วสากนอ ย ขาวประดับดนิ คือ ขาวพรอ มอาหารคาวหวาน ชาวบาน ทำเปนหอๆ นำไปวางไวตามลานดินขา งโบสถและหอแจก ตามโคนตนไม ในตอนเรม่ิ มืดของวนั แรม 14 คำ่ เดือน 9 แลว กรวดน้ำอทุ ศิ ใหแกญาติท่ลี ว งลบั ไปแลว ชาวอสี านเราเชือ่ วา ในวันแรม 14 คำ่ เดือน 9 เปนวนั ท่ี ญาติพ่ีนอ งท่ีเปน เปรต จะขึน้ มารับสว นบญุ ทอ่ี ุทศิ ไปให 31

ฮตี ท่ี 10 “บญุ เขา สาก” คำวาสาก ก็คือสลาก การทำขา วสากกค็ ือการอุทศิ สว นกศุ ล ใหแกผตู ายโดยไมเจาะจงใหพ ระองคไ หน ชาวบานจะจัดเตรียม ขา วสากใหญไ วถ วายพระ เตรยี มขา วสากนอ ยและขา วสากหยาด ตอนกรวดน้ำอทุ ศิ สว นกุศลใหผ ีบรรพชน ทำขนมขา วตมค่ัว ขา วตอกแตก กวนขา วกระยาสารท 32

33

ตอนเชา ทำบุญทหี่ อแจก เสรจ็ แลว แยงเก็บขาวสากนอยทีแ่ ตล ะคนแขวนไว ตามกง่ิ ไมและวางไวในบริเวณวัด ยายคล่ี เปด หอขา วสากเพือ่ หยาดน้ำ กวานจำ้ เอาขา วสากไปถวายผีปตู า แตละครอบครวั มกั จะเอาขา วสากนอ ยไปใสใ นทีน่ าดว ย เชอื่ วา เอาไปใหผ ตี าแฮก ซง่ึ เปน ผีอารกั ษน าไดกิน 34

ใหเจา รูดวยวา กอนถึงวันงานบญุ ขาวสากนนั้ จะมีประเพณี สำคญั อยางหนึ่งทีค่ นทั่วไปไมค อ ยสนใจ คอื ประเพณี “ยามยา ” ที่พอ แมจ ะตอ งพาลกู ๆ ไปเยยี่ มยามยาท่หี มบู านเดมิ ของพอ ดวย ถาอยูหา งไกลก็จะไปลว งหนา 1-3 วนั เพราะเมื่อถงึ งานบญุ ขาวสาก จะตอ งอยูทำบญุ ที่บานพอ เฒาแมเ ฒา ที่ตวั เองมาเปน เขยสู อยูกบั ครอบครัวของผหู ญิง 35

ฮตี ที่ 11 “บญุ ออกพรรษา” เดอื น 11 บญุ ออกพรรษาเปนงานใหญ มีเรอื่ งสนุกสนานหลายอยางท่จี ะตอ งชว ยกนั ทำ แลวแตว า หมูบา นไหนจะเนน ใหความสำคัญ กับเร่อื งอะไร เชน ประเพณกี วนขาวทพิ ย ตกั บาตรเทโว บางแหงกจ็ ะไหลเรอื ไฟ สวงเรือ หรอื แขง เรอื ลอยโคมลมในเวลากลางวนั และ ลอยโคมไฟในเวลากลางคนื บางแหงกจ็ ะจัด พธิ แี หปราสาทผง้ึ เปนตน ในงานบญุ ออกพรรษาน้ี เมือ่ กอ นจะมี ชาวบา นรวมกันจัดพธิ กี รรมเลก็ ๆ ดว ยการเดด็ รวงขา วทก่ี ำลังทองหรอื ออกรวงใหมๆ ไปบูชา ที่หอในบรเิ วณวัดในตอนหัวคำ่ เรยี กวา พิธี “ซัดมานขา ว” ซึ่งเดยี๋ วนเ้ี ร่มิ หาดูไดยากแลว 36

37

38

ฮีตที่ 12 “บญุ กฐนิ ” เดือน 12 เปนชว งเวลาฤดูการจัดงานบุญกฐนิ กฐนิ หมายถึง สะดึงท่ใี ชขึงผา ผากฐินกค็ อื ผาท่ี ใชสะดงึ ทำเปน กรอบขงึ เยบ็ จีวร บุญกฐนิ กำหนด ใหจ ัดภายใน 1 เดอื น นับจากวนั ออกพรรษา ชาวบา นเช่ือกนั วา กฐนิ จะมอี านสิ งสม ากกับ พระท่บี วชครบ 3 เดือน เรยี กกนั วา อานสิ งสพรรษา ซ่งึ จะสง ผลบญุ ถึงโยมพอ โยมแมข องพระรูปนั้น ชาวบา นสว นใหญจ งึ นยิ ม รวมกนั ทอดกฐนิ ทม่ี บี ริวารมาก เรียกวา มหากฐิน ถือวาไดก ศุ ลมาก ถาวดั ไหนไมมกี ฐนิ มาทอดจนเกอื บจะพน 1 เดือนแลว ชาวบา นกจ็ ะ ทนกนั ไมได ตอ งรวมตวั กนั จัดกฐินไปทอดใหต ามกำลัง ดว ยการชวยกัน ทำเครื่ององคก ฐนิ คอื ชุดผาไตรเปนหลกั จงึ เรียกวา “จลุ กฐนิ ” แตเน่ืองจาก ตอ งทำกนั อยา งรบี เรง รีบรอน ตลอดคนื หนง่ึ จนเสรจ็ ในตอนสาย ๆ วนั รุงข้ึน จึงเรียกกนั ดว ยวา “กฐนิ แลน” ฮตี ทั้ง 12 น้ี คนแตกอ นเขาเชอื่ เขาทำตาม ทำใหค นมโี อกาสไดเขาวัด ใกลชดิ กับพระศาสนา จึงเปนคนอยใู นศีลกินในธรรม บานไมแ ตก เมือง ไมเ ดือด บานเมืองเราจงึ ไดชอ่ื วา เปน “ถิ่นไทยดี” 39

อธบิ ายศพั ท คำอีสาน โฮม หมายถงึ รวม ชมุ นมุ หรือประชมุ กนั บญุ โฮม ชอื่ บุญโฮมจึงหมายถงึ บญุ ท่ีมารวมกัน หรอื เปนทีร่ วมของบุญ เสยี ชวี ติ ตาย เสยี ตัว เปนคำทีค่ นอีสานใชเรยี กเดก็ กำพรา ท่ีไมมีทั้งพอและแม กำพอย เจา อาวาส ญาคู นาสงสาร นา เวทนา เปน ตาอีโตน ยังไมนานเทาไร บทนั ดน อยดู วย อยนู ำ วธิ กี าร แนว เดือนท่ี 1 นับแบบจนั ทรคติ หมายถึงเดือนธนั วาคม เดือนอาย ปรวิ าสคอื การอยปู ฏบิ ตั ติ ัวใหบ รสิ ุทธอ์ิ ยา งเครงครดั ปริวาสกรรม เดอื นท่ี 2 นับแบบจนั ทรคติ หมายถึงเดอื นมกราคม เดอื นย่ี ขอขมา ขอสมมา การทำอาหารใหสกุ ดว ยการยางไฟออ นๆ, ปง จีไ่ ฟ เณรนอ ย, สามเณร จัวนอ ย ชื่อไมเลือ้ ยชนดิ หนงึ่ เมอื่ ทำใหสกุ แลว จะมกี ล่ินหอมนากนิ เครอื ตดหมา ขอหา ม สิง่ ทีท่ ำแลว จะไมถกู ตองเหมาะสม คะลำ สิง่ ท่เี ปน มงคลมากขึน้ ยิ่งขึน้ คำ้ คูณ ชอื่ พระเถระท่มี ีความเช่ียวชาญ พระอปุ คตุ จรงิ แนนอน อหี ลี แตก อ น แตก ้ี สนกุ สนานมาก มว นซ่นื โฮแซว การสรงน้ำพระเพอ่ื ยกยองฐานะใหพระสงู ขึ้นกวาพระทัว่ ๆ ไป ฮดสรง ถวายอาหารเชา ถวายจงั หัน เยี่ยม ดู ถามขา วคราวทกุ ขสขุ ยาม 40

ผเู ขยี นเรือ่ ง ผศ.สมชาย นิลอาธิ • เกิดวันท่ี 15 มีนาคม พ.ศ. 2490 ทบ่ี า นแหลมอา ยกงั ต.มหาสอน อ.บา นหม่ี จ.ลพบรุ ี ประวัตกิ ารศึกษา • ศศ.ม. (มานุษยวทิ ยา) คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร • ป.ชั้นสูง (สถาปตยกรรมไทย) คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร • กศ.บ. (ศลิ ปศกึ ษา) วทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาประสานมิตร • ปวส. (จติ รกรรม) โรงเรยี นเพาะชาง • ทีอ่ ยูปจ จบุ นั 368 ถนนศรสี วสั ดด์ิ ำเนิน ตำบลตลาด อำเภอเมอื ง จังหวดั มหาสารคาม 44000 โทรศัพท 08-4957-4894 ประวตั ิการทำงาน • คณบดี คณะศิลปประยุกตแ ละการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี (2551) • อาจารยพเิ ศษ สอนรายวชิ ามานษุ ยวิทยาวฒั นธรรม ระดับปรญิ ญาโท สาขาภาษาลาว สาขาภาษาเวียดนาม ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวันออก, สาขาไทยคดศี ึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 41

• ผูช ว ยศาสตราจารย ภาควชิ าสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (2537-2550) • อาจารย วทิ ยาลยั ครูมหาสารคาม อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม (2518-2537) • พนักงานแรงงานจงั หวัดสมุทรสาคร กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย (2517-2518) • เจาหนา ท่โี สตทัศนศกึ ษา สถาบันพัฒนาฝม ือแรงงาน กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย (2516-2517) • ครู โรงเรยี นวนิ ิตศกึ ษา อ.เมือง จ.ลพบุรี (2511-2512) ความเช่ยี วชาญเฉพาะ วฒั นธรรมอสี าน, สถาปตยกรรมอสี าน, ประเพณคี วามเชือ่ อีสาน, ศลิ ปหตั ถกรรมอีสาน, กลุม ชาตพิ ันธุในอีสาน ผลงานทผี่ า นมา • ผลงานเขยี น ทงั้ บทความเอกสารวิชาการ พ็อกเกต็ บุค และบทความตพี มิ พอยา ง ตอเนือ่ งในวารสารหลายเลม อาทเิ ชน วารสารศลิ ปวฒั นธรรม วารสารเมืองโบราณ วารสารเดนิ ทางทองเทยี่ ว วารสารเทคโนโลยีชาวบา น วารสารเดอื นเพ็ญ เปน ตน • วิทยากรบรรยายพิเศษ ไดมโี อกาสถวายคำบรรยายเรอ่ื ง “เรอื นอีสานและสถาปตยกรรม อสี าน” แดสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี เนอ่ื งในการจดั งานวัน วฒั นธรรมไทย เม่ือวนั ท่ี 2 เมษายน 2537 ณ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร กทม. • กรรมการตดั สินการประกวดธงผะเหวด ในงานบุญผะเหวด จ.รอยเอ็ด • มัคคเุ ทศก นำเท่ยี วลา นนาไทย จัดโดยกองบรรณาธิการวารสารสารคดี และนำเทีย่ ว เมอื งมหาสารคาม-รอยเอ็ด จดั โดยศนู ยม านษุ ยวทิ ยาสริ ินธร (2548) 42

ผูเขียนภาพประกอบ ธนพนธ เลก็ สงิ หโต • เกดิ วันท่ี 27 พฤษภาคม 2505 • การศึกษา ปรญิ ญาตรี ครุศาสตรบัณฑติ เอกศลิ ปศกึ ษา วทิ ยาลัยครมู หาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม • อาชพี ศลิ ปนอิสระ การตนู การเมือง นสพ.ทองถิน่ ผูสื่อขา วทอ งถิน่ 4 ฉบับ 43

ÎÕµÊÔºÊͧ เจา ของโครงการและดำเนนิ การจัดพมิ พ สำนกั งานอุทยานการเรียนรู นทิ านภาพพ้นื บานภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ สำนกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคความรู เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (องคก ารมหาชน) สังกัดสำนกั นายกรฐั มนตรี 978-974-287-811-5 สว นบริการ อาคารเซน็ ทรลั เวิลด ชนั้ 8 Dazzle Zone ผูเ ชย่ี วชาญที่ปรกึ ษาคณะบรรณาธกิ าร โทรศัพท 02-257-4300 โทรสาร ตอ 125 ศ.ดร.ฉวลี กั ษณ บณุ ยะกาญจน สวนสำนักงาน 999/9 อาคารสำนกั งานเซ็นทรลั เวลิ ด ผศ.วีณา วสี ะเพญ็ ช้ัน 17 ถนนพระราม 1 โทรศพั ท 0-2264-5963-65 โทรสาร 0-2264-5966 คณะบรรณาธิการอำนวยการ www.tkpark.or.th นางทศั นยั วงศพ ิเศษกลุ นางสาวเฉียดฉตั รโฉม ปริพนธพ จนพสิ ทุ ธ์ิ ดำเนินการจัดทำตนฉบับ นายวฒั นชยั วินจิ จะกูล มลู นธิ หิ นังสือเพ่อื เด็ก นางสาวนนั ธนา เจริญภกั ดี โทรศัพท 0-2805-0202 โทรสาร 0-2805-1308 www.thaibby.in.th คณะบรรณาธิการตน ฉบับ รศ. สกุ ญั ญา สจุ ฉายา ออกแบบรปู เลม จดั พมิ พ และจัดจำหนาย ผศ.ดร. ชลภสั ส วงษป ระเสริฐ บรษิ ัท แปลน ฟอร คดิ ส จำกัด นายเรืองศกั ด์ิ ปน ประทปี โทรศพั ท 0-2575-2828 โทรสาร 0-2575-2558 นายณัฐพร ศรีมกุ ด www.planforkids.com เรือ่ ง สมชาย นิลอาธิ เหมาะสำหรบั เด็กอายไุ มเกนิ 9 ป ภาพประกอบ ธนพนธ เล็กสิงหโต พสิ ูจนอกั ษร นันทธ นัตถ จิตประภสั สร, อารีณะ วรี ะวัฒน พิมพครัง้ ท่ี 1 พฤศจิกายน 2551 จำนวนพิมพ 3,000 เลม 44




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook