Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผ้ายกพุมเรียง ผ้าทอพื้นบ้านของกลุ่มชนไทยมุสลิมที่ใกล้สูญหาย

ผ้ายกพุมเรียง ผ้าทอพื้นบ้านของกลุ่มชนไทยมุสลิมที่ใกล้สูญหาย

Description: ผ้ายกพุมเรียง ผ้าทอพื้นบ้านของกลุ่มชนไทยมุสลิมที่ใกล้สูญหาย

Search

Read the Text Version

ผ้ายกพมุ เรียง ผา้ ทอพ้ืนบ้านของกลุ่มชนไทยมสุ ลิมท่ีใกล้สญู หาย

พุมเรียง เป็นชุมชนเก่าแก่ท่ีมีมาแต่โบราณ ตั้งอยู่ริม การทอผ้าไหมพุมเรียง เป็นงานฝีมอื แบบดง้ั เดมิ ต้อง คลองพมุ เรยี งซ่ึงไหลลงทะเลท่ีแหลมโพธิ ์ เปน็ ชอ่ื ต�ำ บล ตั้งอยู่ใน ใชค้ วามประณตี และประสบการณ์ในการทอ ที่สำ�คัญงานแต่ละชิ้น เขตการปกครองของ อ�ำ เภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธาน ี ประชากร แต่ละผืนจะใช้เวลาทอที่ยาวนานกว่าการทอด้วยวิธีอื่น ได้สืบทอด สว่ นใหญข่ องบา้ นพมุ เรยี งเปน็ ชาวมสุ ลมิ ทม่ี บี รรพบรุ ษุ ดง้ั เดมิ เปน็ ภูมิปัญญาในการทอผ้ามีพัฒนาการมาหลายช่ัวคน ตั้งแต่สมัย ชาวจาม ทอี่ พยพมาจากเขมร และชาวจามไดช้ อื่ วา่ เปน็ กลมุ่ ชนซงึ่ มี ตอนปลายกรุงศรีอยุธยาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงเป็นการ ฝมี อื ในการทอผา้ ไหมมาก โดยเฉพาะการทอผา้ ไหมยกดนิ้ เงนิ ดน้ิ ผสมผสานทางวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมและชาวไทย ทอง หรอื ยกไหม ซ่ึงต่างไปจากการทอผา้ ท่ที อโดยคนไทยสมยั น้นั พทุ ธพื้นเมืองในทอ้ งถน่ิ ผ้าพุมเรียง จนเป็นทีย่ อมรับกนั โดยทว่ั ไป และภูมปิ ัญญาเหล่าน้ันจงึ เป็นกำ�เนิดด้ังเดมิ ของ “ผ้าทอพมุ เรยี ง” วา่ ผ้าไหมพมุ เรยี ง เปน็ ผา้ ทมี่ ลี วดลายสวยงาม และมลี กั ษณะเด่น ท่ีเริ่มขึน้ ทบ่ี ้านพุมเรยี ง และสบื ทอด สง่ ตอ่ มาถงึ ลกู หลานที่เปน็ ท่ตี ่างไปจากผา้ ไหมของภาคอืน่ ๆ คอื การทอยกดอกดว้ ยไหม และ ชาวไทยสสุ ลมิ ทย่ี งั คงรกั ษาเอกลกั ษณด์ งั เดมิ ไว้ และสรา้ งสรรคผ์ ล ดนิ้ เงินหรอื ด้นิ ทอง งาน ผา้ พมุ เรยี งจนกลายเปน็ ผา้ ทอทข่ี น้ึ ชอื่ ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ทมี่ กั เป็นที่รู้จักกนั ในชอื่ “ผา้ ยกพุมเรียง” มาจนถึงปัจจบุ นั น้ี 1

2

คุณค่า ความส�ำ คญั ทางวฒั นธรรมของงานผา้ พมุ เรียง ในอดีตผ้าทอพุมเรียงท่ีทอยกด้วยด้ินเงิน ด้ินทอง ถือ ผ้าทอพุมเรียง ถือได้ว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านที่มี เปน็ ผา้ ระดบั ชนชนั้ สงู สวมใส่ จงึ จะทอไวส้ �ำ หรบั เจา้ เมอื งและขนุ นาง ความผกู พนั และสบื ทอดมาจากบรรพบรุ ษุ สู่รุ่นลกู หลาน และจาก ในวังใส่เท่าน้ัน การทอผ้าไหมของชาวพุมเรียง มีพัฒนาการท่ีต่อ การที่เป็นเป็นเมืองท่าผ่านไปยังดินแดนอื่น เป็นเมืองเศรษฐกิจ เน่ืองกันมาช้านานจนถึงสมัยต้นรัตนโกสินทร์ และเร่ิมซบเซาใน ซ่ึงมีหลายเชื้อชาติได้เดินทางผ่านมาเผยแพร่ และผสมผสาน สมยั สงครามโลกที่ 2 เน่อื งจากวสั ดทุ ่ีใช้ทอผ้ามรี าคาแพงและขาด ภูมิปัญญาท้องถ่ินเดิม กลายเป็นอารยะธรรมของชาวพุมเรียง ตลาด อีกทั้งมีผ้าท่ีทอด้วยเครื่องจักรส่งเข้ามาขายในท้องตลาด ประกอบกับ ชาวต�ำ บลพมุ เรียง มีอาชพี การประมง ผ้ชู ายมหี นา้ มากขึน้ และราคาถกู กว่า สตรไี ทยพทุ ธสว่ นมากจงึ เลิกทอผ้า คงมี ท่อี อกหาป ู หาปลาในทะเล ผู้หญงิ อยู่บา้ นจึงยดึ อาชพี การทอผา้ แต่สตรีไทยมุสลิมเท่าน้ันท่ียังคงสืบสานมรดกวัฒนธรรมการทอ ตลอดมาทกุ ยคุ สมยั จนกระทงั่ กลายเป็น ต�ำ นานผา้ ทอพมุ เรยี ง ผ้าพุมเรียงมาจนถึงปัจจุบัน ท่ีบ้านพุมเรียงนี้ จึงเป็นแหล่งท่ีมีชื่อ ในปจั จบุ นั ซง่ึ คงความเปน็ เอกลกั ษณ ์ แหง่ ผา้ ทอซงึ่ แตกตา่ งจาก เสยี งเร่อื งการทอผา้ ท้งั ท่ีทอด้วยฝา้ ยและไหม ทม่ี ีเอกลกั ษณท์ ่โี ดด ภาคอนื่ ๆ มคี วามสวยงาม ความประณีต มคี ณุ คา่ โดยเฉพาะการ เดน่ และได้รับความนิยมมาก คือผา้ ทีท่ อจากไหม จงึ มักเรียกกนั ทอผา้ ไหม ผ้ายกดนิ้ เงนิ ดิ้นทอง ว่า “ผา้ ไหมพุมเรียง” 3

ประเพณีและความเช่ือการทอผ้าของชาวพุมเรียงที่มีมา แต่สมัยโบราณคือ หญิงสาวมุสลิมท่ีจะออกเรือนต้องเตรียมผ้าท่ี จ�ำ เปน็ ทง้ั ฝา่ ยชาย และฝา่ ยหญงิ เพอื่ ใช้ในชวี ติ ประจ�ำ วนั และถอื เปน็ สิง่ ที่ผู้หญิงมุสลิมตอ้ งท�ำ ให้แก่สาม ี เพราะเช่ือวา่ ผ้หู ญิงมสุ ลมิ ทกุ คนมีหน้าที่ดูแลสามีให้ดีที่สุด ความเชื่อนี้เองทำ�ให้หญิงมุสลิมมี ความชำ�นาญในการทอผ้าสืบมาจนถึงปัจจุบัน จึงทำ�ให้สามารถ รกั ษาศิลปะการทอผา้ อนั โดดเดน่ น้ีไว้ได ้ ในอดีตผ้าท่ที อจะทอท้ังผา้ ไหมและผ้าฝ้าย แบง่ ออกเป็น ผ้าที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน และผ้าที่ใช้ในงานและพิธีการต่างๆ ผ้าท่ี ใช้ในชีวิตประจำ�วันน้ันทอกันเป็นจำ�นวนมากและส่วนใหญ่ใช้ฝ้าย ทอเพื่อความทนทาน โดยทอเป็นผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าพ้ืน ผ้าริ้วและ ผ้าขาวม้า ผ้าท่ีใช้ในงานและพิธีการต่างๆ จะทอด้วยไหมหรือฝ้าย แกมไหม มีลวดลายทอยกดอกสวยงาม นยิ มใชน้ ุง่ เข้าเฝ้า หรอื น่งุ ในงานนักขตั ฤกษ์ งานบญุ งานแตง่ งาน 4

5

เอกลักษณท์ างกายภาพ และเอกลกั ษณ์ ที่โดดเดน่ ในงานผ้าพุมเรยี ง ผา้ ไหมพมุ เรียง เป็นหัตถกรรมผา้ ทอพนื้ บ้านภาคใต้ ท่ี เอกลักษณ์และความโดดเด่นของผ้าไหมพุมเรียง คือ มกี ารผสมผสานทางวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ของชาวไทยมสุ ลมิ และชาว เทคนิคการทอยกดอกด้วยไหมและด้ินเงิน ดิ้นทอง เป็นลวดลาย ไทยพทุ ธพนื้ เมอื งในทอ้ งถน่ิ จนกลายเปน็ ผา้ ทมี่ ชี อ่ื เสยี งของจงั หวดั ตา่ งๆ ทง้ั ทท่ี อยกดอกเตม็ ผนื โดยมลี วดลายเดยี วกนั ทงั้ ผนื ผา้ และ สรุ าษฎรธ์ านี และเปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทว่ั ไปวา่ ผา้ ทอพมุ เรยี ง เปน็ ชนดิ ท่ียกดอกเฉพาะเชิงผา้ หรือยกดอกสอดด้นิ เงนิ ดนิ้ ทอง ซึ่ง ผ้าที่มีลวดลายสวยงาม เป็นงานฝีมือท่ีทอด้วยมือ ต้องใช้ความ นิยมทอกนั มาแต่โบราณ และมีสีสนั อนั สวยงาม ประณตี ความละเอียดและประสบการณ์ของชา่ งทอในระหว่างการ ทอ เพื่อให้ได้ช้ินงานที่มีคุณภาพมากที่สุด และที่สำ�คัญงานแต่ละ ชิ้นจะใช้เวลาทอทย่ี าวนาน 6

7

ลวดลายทใ่ี ชท้ อผา้ พมุ เรยี งมจี �ำ นวนมากและสวยงาม ซงึ่ จ�ำ แนกได้ ดังนี้ ลวดลายประเภทลายดอกไม้ เชน่ ลายดอกพกิ ลุ ลายดอก พิกุลคู่ ลายดอกกุหลาบ ลายดอกบหุ งา ลายดอกโบตั๋น ลายดอก เขีย้ วกระแต ลายดอกแกว้ ลายดอกมะลิ ลายดอกกา้ นแย่ง ลาย ก้านในดอก ลายดอกลอย ลายดอกกลมและลายเครือวัลย์หรือ เครือเถา เป็นต้น ลวดลายประเภทลายสตั ว์ เชน่ ลายพญาครฑุ ลายราชสหี ์ เขา้ ถ�ำ้ ลายขหี้ นอน (กนิ นร) ลายราชสหี ์ ลายชา้ ง ลายแมลงวนั ลาย นกยงู ลายปลาตะเพยี น ลายหูชา้ ง ลายลูกปลา ลายดอกพิกลุ ลายเทพพนม 8

ลวดลายประเภทลายเบด็ เตลด็ ลายราชวตั รหรอื ราชวตั ร ดอกใหญ่ ลายราชวัตรเลว หรือราชวัตรดอกเล็ก ลายดอกใหญ่ ลายดอกใหญ่ล้อมแมลงวัน ลายโคมเพชร ลายช่อเทพ ลายน�้ำ ไหล พมุ เรยี ง ลายขา้ วหลามตัด ลายยอดแหลม ลายก้างปลา ลายไทย ลายยกเบด็ ลายธงบิน ลายมาเลเซีย ลายนพเก้า เป็นต้น ส่วนลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของผ้ายกดอกพุมเรียง และเปน็ ลวดลายทข่ี นึ้ ชอื่ ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของการทอผา้ ไหม พมุ เรยี งสืบต่อกันมา เช่น ลาย ยกเบ็ด ลายราชวัตร ลายดอกโคม ลายดอกพิกุล ลายนพเกา้ ลาย ก้านต่อดอก ลายมุก ลายเมด็ มะยม ลายดอกพิกุลลอ้ ม ลายดอกก้านแยก เป็นต้น ความงดงามหลากหลายของลวดลายบนผนื ผา้ เหลา่ น้ี ยงั คงสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญั ญาของสตรไี ทยมสุ ลมิ บา้ นพมุ เรยี ง ได้ อยา่ งชัดเจน ผา้ พมุ เรยี ง จงึ เป็นผลิตภัณฑผ์ ้าทอพื้นเมอื งทีส่ �ำ คญั ทส่ี ามารถสรา้ งชอ่ื เสยี งเลอื่ งชอ่ื ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี มาจวบจน ปัจจุบันน้ี ลายยกเบ็ด ลายราชวตั รโคม 9

ภมู ิปัญญาท่ีสะทอ้ นทกั ษะเชงิ ช่าง และเทคนิค หรือขัน้ ตอน กระบวนการในงานผ้าพุมเรียง การทอผ้าพุมเรียง ใช้เทคนิคการทอ “ยกดอก” ให้เกิดลวดลาย ดว้ ยวธิ กี ารเกบ็ ตะกอเหมอื นการขดิ โดยการยกตะกอเพอื่ แยกเสน้ ยืนให้ด้ายเส้นพุ่งผ่านไปเฉพาะเส้น จะยกคร้ังละกี่เส้นก็ได้แล้วแต่ ลวดลายท่ีกำ�หนด เม่ือทอพุ่งกระสวยไปมาควบคู่กับการยกตระ กอ จะเกิดลวดลายนนู ขึ้นบนผืนผา้ ด้ายเสน้ พ่งุ นิยมใช้ดิ้นเงนิ ดิน้ ทองเพอ่ื เพมิ่ ความงดงาม กระบวนการทยี่ ากทส่ี ดุ ของการทอผา้ คอื การทอผา้ ยก เพราะมรี ายละเอยี ดมาก การท�ำ ลายตอ้ งใชว้ ธิ นี บั เสน้ ไหมไปเรอื่ ย ๆ หวั ใจหลกั อยตู่ รงการขดั ลายและเป็นขน้ั ตอนท่ียาก มาก ผู้ทอตอ้ งมีความอดทนและความตง้ั ใจจรงิ ๆ จึงจะสามารถ ทอได้ส�ำ เร็จงดงาม 10

ขนั้ ตอน ทส่ี �ำ คัญในการทอผ้าพุมเรยี ง ดงั นี้ • การคน้ เส้นไหมยืน เป็นกระบวนการเตรียมเส้นยืนให้มีความยาวและจำ�นวนเส้นเพียง พอกับความต้องการทอ ด้วยวิธีการทบเส้นไหม บนหลักค้นหรือ คราด เป็นหลักกลมๆ เรียงเรียงยึดบนแกนไม้ มีลักษณะคล้าย คราด 2 อันยึดส่วนกลางให้แน่นดว้ ยคานไมย้ าวประมาณ 1.5 - 2.0 เมตร 11

• การร้อยฟันหวี เป็นการสอดเส้นยืนด้านที่แบ่งคะนัดไว้เข้าในช่องฟันหวี ลักษณะ เป็นไม้แบนปลายด้านหน่ึงเป็นตะขอ สำ�หรับสอดเข้าไปในช่องฟัน หวี เพ่ือเกี่ยวเส้นยืนให้ลอดผ่านช่องฟันหวี เมื่อสอดเส้นยืนผ่าน ช่องฟันหวีแลว้ จะใช้ไมเ้ รียวรอ้ ยไวเ้ พื่อยึดติดกับไม้พนั ผ้า 12

• การม้วนเสน้ ยืนเขา้ กระดานมว้ นไหม ท�ำ โดยการขงึ เสน้ ยนื ตามความยาว แผเ่ สน้ ไหมใหก้ ระจายสม�่ำ เสมอ เทา่ กับความกว้างของหนา้ ฟนั หวี น�ำ ไม้ลูกพันแนบตดิ กบั รอ่ งขอบ ไม้กระดานม้วนไหม หมุนกระดานพับเส้นยืน โดยพยายามจับให้ เสน้ ยืนตงึ สม�ำ่ เสมอ ขั้นตอนนจี้ ำ�เปน็ ต้องใชแ้ รงอย่างนอ้ ย 4 คน ช่วยกนั จับปลายกระดานม้วนไหม และจดั เรยี งเส้นยืนไปพรอ้ มกนั เม่ือพับเส้นยืนจนใกล้สุดความยาวที่จะนำ�ไปติดต้ังบนก่ีทอผ้า นำ� ดา้ นทย่ี ดึ ตดิ กบั ไมพ้ นั ผา้ สวมลงทบี่ า่ ก่ี สอดคา้ งปลายกระดานมว้ น ไหมกบั ลกู ดุ้งซึ่งแขวนกบั ราวกี่ แลว้ จงึ ขงึ เส้นยืนให้ตึง 13

• การเก็บตะกอลายขัด เมอ่ื ขึงเสน้ ยืนบนก่ที อผ้า แล้วใช้ไมน้ ัดสอด (ไมน้ ัดใหญ่ส�ำ หรบั คัด ยกลายผา้ ) สอดเขา้ ไปในเสน้ ยนื ตามไมค้ ะนดั พลกิ ตง้ั ดา้ นสนั ไมต้ ง้ั ขน้ึ เรยี กวา่ “ขนั นดั ” เสน้ ยนื จะแยกเปน็ 2 สว่ น น�ำ ดา้ ยไนลอนเกบ็ ตะกอสอดเขา้ ไปจากขวาไปซา้ ย หมวดปลายเสน้ ดา้ ยเปน็ หว่ งคลอ้ ง กบั ไมล้ ูกเขา 2 อนั วางไมล้ ูกเขาบนเสน้ ของไมก้ ่อเขา (ไม้รองเก็บ ตะขอ) ใช้นวิ้ มือขวาสะกิดเสน้ ยนื ซ่งึ พาดบนไมน้ ัดสอดออกมาทีละ เสน้ พรอ้ มทงั้ หยบิ ดา้ ยตะกอทอี่ ยขู่ า้ งใต้ใหเ้ ปน็ บว่ งคลอ้ งเสน้ ยนื ขนึ้ มา พนั คล้องถกั เปน็ รูป กับไม้ลกู เขาทง้ั 2 สะกิดเสน้ ยนื เสน้ ตอ่ ไป พรอ้ มทง้ั ถกั เชน่ เดมิ จนครบทกุ เสน้ ผกู ปลายดา้ ยตะกอกบั ไมล้ กู เขา 14

• ลวดลายผ้ายกพมุ เรยี ง ช่างทอผ้ายกดอกที่พุมเรียงจะมีลวดลายต้นแบบท่ีใช้เป็นตัวอย่าง เก็บดอกผ้าเรียกว่า “ผ้าครู” อาจจะเป็นผ้าที่ปักด้วยไหมเป็น ลวดลายต่างๆ หรอื เศษผา้ ยกที่ชา่ งทอเก็บไวแ้ ต่เดิม การเก็บดอก ผา้ จะใชข้ นเมน่ แบง่ เสน้ ยนื ออกเปน็ กลมุ่ ๆ โดยจะยกและขม่ เสน้ ยนื ตามจำ�นวนช่องฟันหวี เชน่ ยก 3 หมายถึง ยกเส้นยืนขึน 3 ช่อง ฟนั หวี มเี สน้ ไหม 2 เสน้ ซึง่ การเกบ็ ลายผา้ ท่มี ีลักษณะสมมาตรจะ เกบ็ ลายเพยี งครง่ึ ดอกหรอื ครง่ึ ลาย โดยเรมิ่ จากกงึ่ กลางของลายไป ยังส่วนริมของลายถ้าเป็นลายดอกท่ีทออย่างต่อเน่ืองกันก็จะต้อง เก็บบางส่วนของลายดอกขา้ งเคยี งไปพร้อมกัน เมื่อต้องการจะทอ ลายให้เต็มดอกก็เพยี งยกตะกอชุดเดมิ ยอ้ นกลบั จากตะกอสดุ ทา้ ย ไปยังตะกอแรกสุด 15

• การทอผ้ายกพุมเรียง จะทำ�โดยการยกตะกอลายข้นึ และสอดไมเ้ รยี วคัดไว้ในเส้นยืน ถา้ เปน็ ตะกอลายทอ่ี ยู่ไกลออกไป ตะกอลายทค่ี นั่ อยกู่ อ่ นหนา้ จะรงั้ เสน้ ยนื ไว้ ทำ�ให้เสน้ ยนื เปดิ ช่องส�ำ หรับสอดไม้เรียวไดย้ าก จงึ จำ�เป็นจะ ต้องใช้ไม้นัดสอดเขา้ ไปกอ่ น หลังจากน้นั จงึ พลกิ ตง้ั ดา้ นเสน้ ไม้ขึ้น (ขดั นดั ) เพอ่ื บงั คบั ใหเ้ สน้ ยนื เปดิ ชอ่ ง ส�ำ หรบั สอดไมเ้ รยี วเมอ่ื สอด ไมเ้ รยี วไดค้ รบเตม็ ตามลายดอกผา้ แลว้ จงึ น�ำ มาทอตามล�ำ ดบั ดว้ ย การสอดไม้นดั เข้าไปพร้อมกบั ดึงไม้เรียวออก 16

การอนุรักษส์ บื สานภมู ปิ ญั ญา ของงานผา้ พุมเรยี ง ปัจจุบันภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่า อย่างผ้าไหมยกดอก พมุ เรยี ง นับวันใกลจ้ ะสญู หายไป ด้วยเพราะข้นั ตอนท่ยี ุ่งยาก ซับ ซ้อน และวัตถุดิบก็ต้องมาจากนอกพ้ืนถิ่น ช่างทอรุ่นใหม่จึงไม่ สนใจที่จะสืบสานต่อ งานหัตถกรรมผ้าพุมเรียง จึงเริ่มกลายเป็น ของท่ีหายากในประเทศไทย ในปัจจุบันที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีก็มี ร้านผา้ พุมเรียงหลงเหลอื อยู่ประมาณไม่ถงึ 10 ร้าน ซึ่งถ้าไมม่ ชี ่าง ทอคนรุ่นหลังรับช่วงสืบทอดต่อ ไม่มีผู้ท่ีมาเรียนรู้และสัมผัสถึง คุณค่าความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาที่ตกทอดจากรุ่นสู่รุ่นแล้ว ผ้า ทอพมุ เรยี ง ศลิ ปหตั ถกรรมพนื้ บา้ นภาคใตข้ องกลมุ่ คนไทยมสุ ลมิ ทีบ่ ้านพมุ เรียง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ท่ไี ด้สืบทอดมาหลายชว่ั คน มี ลกั ษณะทโ่ี ดดเดน่ ทตี่ า่ งจากผา้ ไหมของภาคอน่ื ๆ กค็ งจะสญู หายไป จากพ้นื ถนิ่ ใต้ในท่สี ุด ครหู วันม๊ะ นุย้ หมีม เปน็ หนึ่งในช่างทอ “ผ้าไหมยกดอก พุมเรยี ง” ผสู้ บื ทอดการทอผา้ พมุ เรียง และยงั คงยดึ มน่ั การทอผ้า ไหมยกดอกตามแบบฉบับดั้งเดิม ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ี เก่าแก่ของชาวไทยมุสลิมในตำ�บลพุมเรียงท่ีได้รับการถ่ายทอดมา จากบรรพบุรุษ ใหค้ งอยู่คชู่ ุมชนมสุ ลิมที่บา้ นพมุ เรยี งแห่งนี้ ด้วย ไม่อยากให้ ภูมิปัญญาผ้าทอทมี่ ีมาตง้ั ครัง้ บรรพบรุ ษุ ต้องสญู หาย ไปตามกาลเวลา 17

“ยังไม่ร้วู า่ อนาคตของผ้าพุมเรียง จะอยู่ได้อีกนานเทา่ ไหร่ ถ้าเรา ไมท่ ำ� คนทอก็จะไปทำ�อย่างอ่ืน การทอผา้ พมุ เรยี งกจ็ ะหายไป มะ๊ จงึ ตอ้ งพยายามทำ�ใหค้ งอยู่ เพราะสมยั นหี้ าคนทอยากมาก เพราะค่าแรงถูก” เป็นคำ�กล่าวของผรู้ ักษา สืบสานของชา่ งทอในวัย 73 ปี อย่างครู หวนั ม๊ะ นยุ้ หมมี ท่ียงั คงเหลืออยู่ในชมุ ชนบา้ นพมุ เรยี ง ด้วยความ หมายที่สะท้อนว่า ถ้าหมดจากช่างทอรุ่นเก่าแก่น้ีแล้ว จะยังมีช่าง ทอรุ่นหลงั ทีจ่ ะเปน็ ผู้สบื ทอดผ้าทอพุมเรียงหรอื ไม่ หากไมม่ ีคนทอ แล้ว ผ้าทอพมุ เรียงก็คงจะสญู หายไปในทส่ี ุด จากความมงุ่ มน่ั มาตลอดชวี ติ ของ ครหู วนั มะ๊ นยุ้ หมมี ทจ่ี ะอนรุ กั ษ์ ภูมปิ ัญญาของ ผา้ พมุ เรียง ใหม้ ผี ู้สืบทอดตอ่ ไป อยากผูท้ สี่ นใจได้ เรียนรู้ถึงกรรมวิธีการทอผ้าไหมพุมเรียง และให้เห็นความสำ�คัญ ของผ้าพ้ืนเมืองเพ่ือนำ�ไปสู่การอนุรักษ์และส่งเสริมให้แพร่หลาย ยงิ่ ตอ่ ไปในอนาคต เพราะในขณะนี้ คนรนุ่ หลงั แทบจะไม่ได้ใหค้ วาม สนใจงานทอผ้าพุมเรียง ถึงแม้ว่ากรรมวิธีในการผลิตจากมีข้ัน ตอนท่ียากกว่าการทอผ้าสมัยปัจจุบัน แต่หากไม่มีใครมาสืบทอด ผ้าพมุ เรยี งโบราณ ก็จะสูญหายไปจากประเทศไทย 18

ต่อยอดภูมิปญั ญาเพอื่ อนุรักษ์สืบสาน และ พฒั นาสรา้ งสรรคง์ านผา้ ทอพุมเรยี ง ครหู วนั มะ๊ ไดน้ �ำ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทส่ี บื ทอดกนั มาหลายชวั่ อายคุ น มาต่อยอดเป็นธุรกิจ “ร้านวรรม๊ะไหมไทย” พร้อมกับต้ังกลุ่มทอ ผา้ บา้ นพมุ เรยี งขนึ้ โดยเปน็ คนออกแบบคดิ ลวดลายและใหส้ มาชกิ ทอผา้ มารวมกลมุ่ กันจำ�หน่าย จนได้รับความนยิ ม คือ ลายสรอ้ ย แสงจนั ทร ์ ผา้ ลายดอกกา้ นแยกยกเชงิ ท่ที อดว้ ยหูกโบราณ ด้วย ความรกั ความภมู ใิ จในการทอผา้ และต้องการให้มีผ้สู ืบทอด ครูห วันม๊ะไดน้ �ำ ความร้ถู า่ ยทอดให้กบั เด็กๆ คนร่นุ หลังๆ ตง้ั แตก่ ารต่อ เสน้ ไปจนถึงการทอ ด้วยหวังท่ีจะใหพ้ วกเขาเหลา่ น้ี เหน็ ถงึ คุณคา่ ภูมิปญั ญาในงานผา้ ทอพมุ เรียง และจะภูมใิ จมากที่มคี นนำ�ความ รู้ไปประกอบเป็นอาชีพได้ 19

“ยงั ไม่รวู้ ่าอนาคตของผ้าพมุ เรียง จะอยู่ไดอ้ กี นานเทา่ ไหร่ ถ้าเราไมท่ �ำ คนทอกจ็ ะไปทำ�อยา่ งอืน่ การทอผา้ พุมเรียงก็จะหายไป มะ๊ จึงตอ้ งพยายามท�ำ ให้คงอยู่ เพราะสมยั น้หี าคนทอยาก มาก เพราะคา่ แรงถกู ” ครหู วนั มะ๊ นยุ้ หมมี ครศู สิ ปข์ องแผน่ ดนิ ปี 2553 20