Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตภัณฑ์ขิง

Description: การผลิตภัณฑ์ขิง

Search

Read the Text Version

เอกสารเผยแพรท ่ี 192 กรมสงเสริมการเกษตร เรียบเรียงโดย : ชาญยุทธ ภาณุทัต กองสง เสรมิ พชื สวน นรินทร สมบรู ณส าร กองสง เสรมิ พชื สวน นุชนาถ จอมไธสง กองสง เสรมิ พชื สวน พัฒนา นรมาศ กองเกษตรสมั พนั ธ ผลิตและเผยแพรโดย กองเกษตรสมั พนั ธ กรมสง เสรมิ การเกษตร ํ สารบญั บทนาํ พนั ธขุ งิ การเตรยี มพนั ธปุ ลกู การเกบ็ เกย่ี ว การเกบ็ รกั ษาพนั ธขุ งิ การคดั เลอื กทอ นพนั ธปุ ลกู เพอ่ื ผลติ พนั ธขุ งิ

การผลิตพันธุขิง 2 บทนาํ ขิงเปนทั้งพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ มสี รรพคณุ ดา นการรกั ษาโรคได เชน รักษาโรคทอ งอืดเฟอ คลื่นไส อาเจียน รักษาอาการไอที่มีเสมหะ รกั ษากลากเกลอ้ื น เปนยาอายุวัฒนะ การผลติ ขงิ แบง ออก เปน การปลกู ขงิ เพอ่ื บรโิ ภคสด สง โรงงานอุตสาหกรรม และการปลกู เพอ่ื ผลติ พนั ธุ ขงิ เปน พชื ทป่ี ลกู ได ดีในเขตรอน แหลงที่ปลูกที่สําคัญไดแก อนิ เดยี และสาธารณรฐั ประชาชนจนี รองลงมาไดแ ก ออสเตร เลยี ฟจิ ไตหวัน และไทย ในการปลูกขงิ จําเปน จะตอ งคดั เลอื กพนั ธขุ งิ ทด่ี เี พอ่ื ใชเ ปน พนั ธปุ ลกู โดยปลูกเพื่อใชเก็บเปน พันธุขิงเฉพาะ การเตรยี มพนั ธขุ งิ พนั ธดุ จี งึ ตอ งรจู กั คดั เลอื กพนั ธขุ งิ การเลอื กพน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสมในการ ปลูกขงิ ทําพนั ธุ การดูแลรักษา เปน ตน โดยมขี อ ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี พันธุขิง พันธุขิงพอจาํ แนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. ขิงใหญหรือขิงหยวก จะมีแงงใหญ ขอ หา ง เนอ้ื ละเอยี ดไมม เี สย้ี นหรอื มแี ตน อ ยมาก รสเผ็ด นอย ใตเ ซลลผ วิ เมอ่ื ลอกเยอ่ื หมุ อกจะไมม สี หี รอื มสี เี หลงื องเร่ือๆ ลักษณะของตาทป่ี รากฏบนแงง กลม มน ลําตนสูง ปลายใบปา น เหมาะสําหรบั ปลกู เปน ขงิ ออ น สง โรงงานเพอ่ื แปรรปู เปน ขงิ ดองขงิ แชอ ม่ิ หรอื ใชบริโภคสดก็ได 2. ขิงเล็กหรือขงิ เผด็ จะมแี งง เลก็ ส้ัน ขอ ถ่ี เนอ้ื มเี สย้ี นมาก รสคอ นขา งเผด็ ลกั ษณะของตาท่ี ปรากฏบนแงง คอ นขา งแหลมแตกแขนงดี นยิ มปลกู เปน ขงิ แก เพราะไดน า้ํ หนกั ดี ใชทาํ เปนพชื สมนุ ไพร ประกอบทาํ ยารักษาโรค และสกัดทาํ นา้ํ มนั การเตรียมพันธุปลูก !เลอื กพนั ธขุ งิ ท่ีมีอายุ 10-12 เดอื น !ตัดทอนพันธุที่สมบูรณเทานั้น (ปราศจากรอ งรอยการทาํ ลายของโรคและแมลง)

การผลิตพันธุขิง 3 !เม่ือจะตัดทอ นพนั ธขุ งิ ในแงง หนง่ึ ๆ ตองทาํ ความสะอาดมดี ทใ่ี ชต ดั ทกุ ครง้ั โดยแชไวใน แอลกอฮอลห รอื คลอรอคเพื่อปอ งกนั กาํ จดั เช้อื โรค เพราะถา นํามดี ทต่ี ดั แงง ขงิ ทเ่ี ปน โรคไปใชต ดั ทอ น พนั ธดุ ี จะทาํ ใหพ นั ธขุ งิ ดตี ดิ เชอ้ื โรคได !ตัดขิงพันธุเ ปน ทอน ๆ ใหแ ตล ะทอ นมี 2-3 ตาเทา นน้ั จะใชพ นั ธขุ งิ ประมาณ 300กโิ ลกรมั ตอ ไร !ใชส ารเคมปี อ งกนั และกาํ จัดเพลี้ยหอย เชน มาลาไธออนผสมสารปอ งกนั กาํ จดั โรครา เชน เดล ซีนเอม็ เอก็ ซ หรอื ไดแทนเอม็ 45 โดยใชอ ตั รา 2 เทา ที่ใชพนทางใบ แชทอนพนั ธปุ ระมาณ 15-30 นาที แลวนาํ ไปผง่ึ ใหแ หง กอ นนําไปปลกู การเกบ็ เกย่ี ว ขิงจะเริ่มเก็บเกี่ยวไดเมื่ออายุ 10-12 เดอื น หลงั จากปลกู หรอื จะสงั เกตไดจ ากใบและลําตน เรม่ิ เหย่ี วเฉา เม่ือขิงมีอายยุ า งเขา เดอื นท่ี 8 ในการเก็บเกี่ยวนั้นหากเปนพื้นที่แหงและแข็ง ใหร ดนา้ํ ที่แปลงเพื่อใหดิน ออนตัวกอนจงึ ใชม อื ดงึ ขน้ึ มากจากนน้ั เขยา ดนิ ออกทง้ิ ตดั รากและใบเหย่ี วออก แยกแงงที่จะใชสําหรับ ทําพันธุโ ดยเลอื กแงงทอ่ี วบใหญป ราศจากเชอ้ื โรค แมลง และไมม แี ผล การเกบ็ รักษาพนั ธุข ิง การเกบ็ รกั ษาพนั ธขุ งิ ถอื วา เปน เรอ่ื งทส่ี ําคญั มาก โดยทั่วไปควรนาํ ไปเก็บในที่ที่แหง อากาศถา ยเท ไดสะดวก เชน บนแครไ มโ ดยวางใหอ ากาศสามารถถา ยเทไดภ ายในกอง การคดั เลอื กทอ นพนั ธปุ ลกู เพอ่ื ผลติ พนั ธขุ งิ การคัดเลอื กทอ นพนั ธขุ งิ หรอื แงง ขงิ ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ! พันธุขิงตอ งปราศจากโรคและแมลง ไมม ลี กั ษณะเปน ขท้ี ตู !ขอ ถ่ี แงงใหญ กลมปอ ม !ตาเตง

การผลิตพันธุขิง 4 !เน้ือขงิ ไมน ม่ิ ผิวเปนมัน !อายปุ ระมาณ 10-12 เดอื น จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร