Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลุ่มน้ำปากพนัง

Description: ลุ่มน้ำปากพนัง

Search

Read the Text Version

3

“...ควรสรา้ งเขอ่ื นทดนำ้ ในแม่น้ำปากพนงั ณ จดุ หา่ งจากอำเภอปากพนัง ไปทางทศิ ใต้ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร เพ่ือป้องกันน้ำเค็มบกุ รกุ และเกบ็ กกั น้ำจืด ไวใ้ นลำน้ำให้ราษฎรได้ใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรและอปุ โภคบริโภค พรอ้ มทง้ั กอ่ สร้างระบบระบายน้ำออกจากพืน้ ที่นำ้ ทว่ มลงทะเลใหเ้ รว็ ท่สี ดุ ...” พระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ โครงการพัฒนาลุม่ น้ำบางนรา อนั เน่ืองมาจากพระราชดำร ิ จงั หวดั นราธวิ าส เมื่อวนั ท่ี ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๕ 4

5

จากพระเมตตา... เปน็ เวลากวา่ ๖๐ ปี ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชดำเนินไปทั่วทกุ ภูมภิ าคของประเทศ เพื่อทอดพระเนตรชีวิตความเปน็ อยขู่ องราษฎร และมพี ระราชปณธิ านอนั แน่วแนท่ ีจ่ ะช่วยบรรเทาความทกุ ข์ยากเดือดรอ้ น อันเปน็ ท่มี าของโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำรกิ วา่ ๔,๐๐๐ โครงการ เพื่อยกระดบั และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของราษฎรให้ดีขน้ึ และมีความสขุ อย่างพอเพยี ง 6

สกู่ ารพัฒนาลมุ่ นำ้ ปากพนงั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ เสด็จพระราชดำเนินโดยเรอื องั สนา พร้อมดว้ ย สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไปยงั บรเิ วณหน้ากรมชลประทาน สามเสน เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร เพ่อื ทรงเปดิ โครงการชลประทานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๕ โครงการ เม่อื วนั ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ และหนึง่ ในนั้นคอื โครงการประตรู ะบายน้ำอทุ กวภิ าชประสทิ ธิ ส่วนหนงึ่ ของโครงการพฒั นาพ้นื ทลี่ ุม่ น้ำปากพนงั อันเนื่องมาจากพระราชดำร ิ 7

คำนำ โครงการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้ำปากพนัง พระราชทานแก่หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่าง อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เกิดข้ึนจาก ต่อเนื่องยาวนานนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๑ พระราชปณิธานอันแน่วแน่ของพระบาท จนเกิดโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนัง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการช่วยเหลือ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริข้ึนอย่างเป็น บรรเทาความทุกข์ยากเดือดร้อนของ ทางการเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัด เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง น้ำเค็ม น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช แ ล ะ พ้ื น ที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง น้ำเปร้ียว ปัญหาความเสื่อมโทรมของ ซ่ึงแต่เดิมประสบปัญหาภัยธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติ การประกอบอาชีพ ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากร ตลอดจนการยกระดับและพัฒนาคุณภาพ ธรรมชาติ ท้ังปัญหาอุทกภัย การขาดแคลน ชีวติ ประชาชนในพ้นื ท่ีอย่างครบวงจร น้ำจืดในการอุปโภค บริโภค และการเกษตร ในขณะท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมถึงการรุกตัวของน้ำทะเลเข้าไปใน ทรงมุ่งแก้ปัญหาเรื่องการบริหารจัดการน้ำ แม่น้ำปากพนัง ทำให้เกิดสภาพน้ำเค็ม และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งส่งผล ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการดำรงชีวิต กระทบต่อการทำมาหากินของราษฎร และการประกอบอาชีพ พระบาทสมเด็จ อันเป็นปัญหาหลัก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระเจ้าอยู่หัวทรงทราบถึงความทุกข์ยาก พระบรมราชินีนาถยังได้พระราชทาน เดือดร้อนท่ีราษฎรต้องเผชิญ ทรงศึกษา พระราชดำริให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจัดหา ข้อมูลอย่างละเอียด วิเคราะห์ปัญหา จนมี น้ำจืด แก้ปัญหาดินเปร้ียว และพัฒนา บทสรุปออกมาเป็นแนวพระราชดำริในการ คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน แก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้ำปากพนัง ใ น พื้ น ที่ บ้ า น เ นิ น ธั ม มั ง แ ล ะ ใ ก ล้ เ คี ย ง 8

ซึ่งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง เพ่ือให้ราษฎร ที่สามารถก้าวพ้นวิกฤตจนอยู่รอด สู่ความ สามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้ พอเพียง ต้ังตัวได้ และมีชีวิตความเป็นอย ู่ พร้อมท้ังทรงริเริ่มโครงการศิลปาชีพขึ้น ทด่ี ขี ึ้นโดยถ้วนหน้า เพื่อช่วยราษฎรให้มีรายได้เสริม อีกท้ังยัง ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ เป็นการอนุรักษ์ สืบสาน ต่อยอดภูมิปัญญา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ ท้องถ่นิ อกี ด้วย พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สำนักงาน ก ว่ า ๒ ท ศ ว ร ร ษ แ ห่ ง ก า ร พั ฒ น า ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จึงได้จัดทำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ หนังสือ “ด้วยพระเมตตา พลิกฟ้ืน พัฒนา พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถไม่เพียง ลมุ่ นำ้ ปากพนงั ” เพอ่ื เผยแพรพ่ ระราชกรณยี กจิ พระราชทานแนวพระราชดำริ คำปรึกษา แนวพระราชดำริในการพัฒนา และความ คำชี้แนะ อันเป็นประโยชน์ในการคล่ีคลาย ร่วมมือร่วมใจของเจ้าหน้าท่ีและประชาชน และบรรเทาปญั หาตา่ งๆ ใหเ้ บาบางลง หากแต่ ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องที่น้อมนำไปประพฤติ ยังทรงเป็นขวัญกำลังใจและศูนย์รวมจิตใจ ปฏิบัติจนก่อเกิดเป็นผลสำเร็จท่ีน่าช่ืนชม ของประชาชนและเจ้าหน้าท่ีทุกภาคส่วน และภาคภูมิใจ เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีทุกฝ่าย ให้พร้อมใจกันทุ่มเทแรงกาย แรงใจ มุ่งม่ัน หน่วยงานทุกภาคส่วน และประชาชนท่ัวไป ฟันฝ่าอุปสรรค ปัญหาต่างๆ เพื่อปฏิบัติงาน ได้ศึกษา เรียนรู้ และน้อมนำไปประยุกต์ใช้ สนองพระราชดำริ จนก่อเกิดผลสำเร็จเป็น ทั้งในการทำงานและการดำรงชีวิต สร้าง ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชนส์ ขุ สตู่ นเอง สงั คม และประเทศชาติ ที่ได้รับการฟ้ืนฟู ระบบนิเวศท่ีเร่ิมปรับตัวสู่ สืบต่อไป ความสมดลุ และโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประชาชน 9

10

สารบัญ ๐๘ ดว้ ยพระเมตตา ปญั หาคลค่ี ลาย จากแนวพระราชดำริ สูก่ ารพฒั นาพื้นท่ลี ุ่มน้ำปากพนัง ๕๒ พลิกฟนื้ คืนดคว้ วยานม้ำอพุดรมะรสาแู่ชผห่นฤทดยัิน หลังจากการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานดา้ นการชลประทานหลกั ๆ แลว้ เสรจ็ สู่...เปา้ หมายการพฒั นาพื้นทล่ี ุ่มนำ้ ปากพนงั ในระยะตอ่ ไป ๘๘ ดว้ ยพรศะกลิ รปณุะ แาลโะออบาเชอพี ือ้ พระมหากรุณาธิคณุ ของสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่มตี อ่ ชาวบา้ นเนินธัมมงั ๑๐๖ บทสรุปแห่งการพฒั นา 11

ดว้ ยปพัญระหเมาคตลตคี่ ลาาย โครงการพฒั นาพืน้ ทลี่ ่มุ น้ำปากพนงั อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ ไมเ่ พียงพลกิ ฟนื้ คืนความอุดมสมบรู ณ์สผู่ นื นาในตำบลหูลอ่ ง อำเภอปากพนัง จังหวดั นครศรธี รรมราช หนึ่งในพน้ื ท่โี ครงการ แต่ยงั คืนความสขุ สู่ชาวนาในพืน้ ทีอ่ กี ด้วย 12

จากแผ่นดินทเี่ คยถกู ทิง้ ร้าง ประดังไปด้วยปัญหา แตด่ ว้ ย “นำ้ พระราชทาน” จากพระเมตตา วันน้ี ผนื ปา่ กลบั มาเขียวชอุม่ แผ่นดิน กลบั มาชุ่มชื้น ผืนนำ้ กลับมาอดุ มสมบรู ณ์ ล่มุ น้ำปากพนงั ไดฟ้ ้นื คืนสู่ ความเป็นอู่ขา้ ว อนู่ ำ้ พร้อมกบั ความสขุ ที่กลบั คนื มาอีกคร้งั 13

พนื้ ทลี่ มุ่ นำ้ ปากพนงั ครอบคลมุ ๑๓ อำเภอ ใน ๓ จงั หวดั รวมพนื้ ทปี่ ระมาณ ๑,๙๓๗,๕๐๐ ไร่ บรรยากาศบริเวณหมบู่ า้ นชาวประมงในลุม่ น้ำปากพนงั 14

ลุ่มน้ำปากพนังตั้งอยู่ทางตอนใต้ ๑๓ อำเภอ ใน ๓ จงั หวดั ได้แก่ พ้ืนทท่ี ้ังหมดของ ของจงั หวดั นครศรีธรรมราช มีแหล่งกำเนิดต้นน้ำ อำเภอปากพนัง อำเภอเชียรใหญ่ อำเภอหัวไทร มาจากเทือกเขาบรรทัด ในอดีตเคยเป็นลุ่มน้ำ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอชะอวด อำเภอ ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ และมีความหลากหลาย ร่อนพิบูลย์ และอำเภอจุฬาภรณ์ พ้ืนที่บางส่วน ทางชีวภาพสูง เน่ืองจากมีลักษณะภูมิประเทศ ของอำเภอลานสกา อำเภอพระพรหม และอำเภอ ผสมผสานกนั ถงึ ๓ แบบ คือ ตอนบนของลุ่มน้ำ เมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช มีลักษณะเป็นท่ีลาดชันมาก ตอนกลางเป็นท ี่ รวมท้ังพ้ืนท่ีบางส่วนของอำเภอควนขนุน อำเภอ ลุ่มต่ำท้องกระทะ มีสภาพเป็นป่าพรุกว้างใหญ ่ ป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และอำเภอระโนด ส่วนตอนล่างเป็นท่ีราบลุ่มต่ำลาดลงสู่ชายฝ่ัง จงั หวดั สงขลา รวมพน้ื ทป่ี ระมาณ ๑,๙๓๗,๕๐๐ ไร่ ทะเล ก่อให้เกิดระบบนิเวศเฉพาะถิ่นท่ีเรียกว่า ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและ น้ำ ๔ ชนิด คือ น้ำจืด บริเวณลุ่มน้ำตอนบน ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นท่ี เหมาะแก่การ น้ำเปร้ียว บริเวณป่าพรุควนเคร็ง น้ำกร่อย เพาะปลูก กอปรกับมีความยาวของชายฝั่งทะเล บริเวณกลางลุ่มน้ำ และน้ำเค็ม บริเวณปากอ่าว ถึง ๒๓๖ กิโลเมตร เหมาะแก่การติดต่อค้าขาย มีแม่น้ำปากพนังเป็นแม่น้ำสายหลักยาว ทางเรือ ลุ่มน้ำแห่งน้ีจึงกลายเป็นเมืองท่าสำคัญ ประมาณ ๑๕๖ กิโลเมตร ไหลผ่านกลางพ้ืนท ่ี และได้ขึ้นช่ือว่าเป็น “อู่ข้าว อู่น้ำ” ที่สำคัญของ ต้ังแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ จากทิศใต้ส ู่ ภาคใต้มาตง้ั แตอ่ ดตี ทิศเหนือ ลงทะเลที่อ่าวปากพนัง ครอบคลุม 15

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ปากพนงั กับอดีตอันร่งุ โรจน์ “ปากพนัง” มาจากชื่อของ “แม่น้ำพนัง” ปากแม่น้ำแห่งน้ีจึงกลายเป็นชุมชนการค้า ซ่ึงไหลผ่านจังหวัดนครศรีธรรมราชมาออกสู่ทะเล และท่าเรือนานาชาติมาต้ังแต่โบราณ ซ่ึงเมื่อ ท่ีบริเวณน้ี คำว่า “พนัง” แปลว่า “กำบัง” มีที่มา เรยี กส้ันๆ จงึ เหลอื แค่ “ปากพนัง” จากลักษณะภูมิประเทศบริเวณปากแม่น้ำซึ่งมี ด้ ว ย ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง พื้ น ท ่ี แหลมตะลุมพุกเป็นสันดอนทรายขนาดใหญ ่ ปากลุ่มน้ำและลักษณะภูมิประเทศท่ีเป็น ติดทะเล ช่วยกำบังคลื่นลม ถือเป็นชัยภูมิที่ดี สันทรายน้ำท่วมไม่ถึง จึงมีชาวบ้านโดยเฉพาะ เหมาะสมท่ีจะใช้เป็นท่ีจอดเรือรับ - ส่งสินค้า ชาวจนี เขา้ มาตง้ั รกราก ทำการประมง และตดิ ตอ่ หลบลมพายุและมรสุมต่างๆ ไม่ต้องเสียเวลา ค้าขายทางเรือกันอย่างหนาแน่นตั้งแต่รัชสมัย เดินเรือเข้าไปถึงในอ่าวหน้าเมืองนครศรีธรรมราช พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๓ 16

ตอ่ มาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ บันทึกไว้เม่ือครั้งเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิด เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เม่ือสยามประเทศได้ม ี โรงสีไฟแห่งแรกในอำเภอปากพนัง เม่ือวันที ่ การทำสนธิสัญญาเบาร่ิงกับสหราชอาณาจักร ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๘ ดังความว่า… ใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ซึ่งทำให้การติดต่อค้าขาย “...อำเภอปากพนังนี้ ได้ทราบอยู่แล้วว่า ทางทะเลยิ่งเฟื่องฟู ปากพนังก็ย่ิงมั่งคั่ง รุ่งเรือง เป็นท่ีสำคัญอย่างไร เม่ือไปถึงท่ียังรู้สึกว่า โดยเฉพาะกิจการค้าข้าว เกิดโรงสีข้าวขึ้น ตามท่ีคาดคะเนน้ันผิดไปเป็นอันมาก ไม่นึก มากมายตลอดริมฝั่งแม่น้ำปากพนังและลำน้ำ ว่าจะใหญ่โตม่งั มถี ึงเพยี งน้ี… สาขา ปากพนังจึงกลายเป็นแหล่งผลิตข้าว “...แม่น้ำโตราวสักแม่น้ำเจ้าพระยา ท่ีสำคัญและเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวส่งออก กรุงเทพฯ...เป็นท่ีนาอุดมดี บ้างก็กล่าวกันว่า ท่ีใหญท่ สี่ ุดในภาคใต ้ ดีกว่านาคลองรังสิต และมีที่ว่างเหลืออยู่มาก ความรุ่งเรืองเฟื่องฟูของปากพนังเล่ืองลือ จะทำนาข้ึนได้ใหม่กว่าที่มีอยู่แล้วเดี๋ยวนี ้ ไปทั่ว จนมีคำบอกเล่าว่าแม้แต่ชาวมลายูยังต้อง อีก ๑๐ เท่า...บรรดาเมืองท่าในแหลมมลาย ู แล่นเรือมาซ้ือข้าวถึงที่น่ี และยังมีเรือสำเภาจาก ฝงั่ ตะวนั ออก เหน็ จะไมม่ ที ไี่ หนดเี ทา่ ปากพนงั ...” หัวเมืองตา่ งๆ นำเอาสินค้า เช่น ถ้วยชาม ไก่ หมู ประทัด เครื่องทองเหลือง หมาก น้ำตาล และ กล่าวได้ว่า ปากพนัง คือ เมืองท่าที่ กะปิมาขาย แล้วซื้อข้าวบรรทุกลงสำเภากลับไป โดดเด่นและมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจ ทงั้ สนิ้ การค้าของเมืองนครศรีธรรมราชและดินแดน ความมั่งคั่ง รุ่งเรืองของปากพนังเป็นท่ี ทางตอนใตข้ องประเทศในฐานะ “อขู่ ้าว อนู่ ำ้ ” ต่ืนตาต่ืนใจแก่ผู้พบเห็น แม้แต่พระบาทสมเด็จ ที่อุดมสมบูรณ์มาจนถึงปลายพุทธศตวรรษ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ยังทรง ที่ ๒๔ ชาวบา้ นปากพนังมารับเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว 17

โรงสไี ฟเอย๊ี ะหลี หนง่ึ ในโรงสที เ่ี คยรงุ่ เรอื งแหง่ ลมุ่ นำ้ ปากพนงั วถิ ีชวี ติ ของชาวปากพนงั อาจจะยงั คงไมเ่ ปลีย่ นแปลงมากนัก หากประเทศไทยมิไดป้ รับตัวอยา่ งรวดเร็ว ตามกระแสความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ แบบตะวนั ตก ความรงุ่ เรืองบนความรเู้ ท่าไม่ถงึ การณ์ ทำใหป้ ากพนงั เดินทางมาถึง “จดุ เปล่ยี น” นำมาซ่ึงผลร้ายแรงอย่างคาดไม่ถึง จากดนิ แดนที่มัง่ ค่ัง ม่ันคง กลายเป็นลำบาก แรน้ แคน้ เพยี งช่วั ไม่ก่ีทศวรรษ เม่ือประเทศไทยเริ่มมีการปฏิรูปการเมือง เกิดข้ึน จึงมีการสั่งข้าวไปกักตุนไว้มากมาย การปกครองและระบบเศรษฐกิจใหม่ รัฐได ้ เพอื่ เปน็ เสบียงในชว่ งสงคราม เข้ามาปกครองชุมชนปากพนังโดยตรงและได้ จากความรุ่งเรืองถึงขีดสุด ในฐานะ เล็งเห็นศักยภาพของเมืองปากพนังในฐานะที่เคย แหล่งท่ีผลิตข้าวได้สูงสุดในภาคใต้ ลุ่มน้ำ เปน็ เมอื งทา่ สง่ ผา่ นสนิ คา้ ระหวา่ งนครศรธี รรมราช ป า ก พ นั ง ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ม า สู่ จุ ด พ ลิ ก ผั น เ มื่ อ กับโลกภายนอกมาแต่เดิม สามารถท่ีจะเพิ่ม สถานการณ์ทางเศรษฐกิจโลกตกต่ำ และได ้ ผลผลิตและขยายบทบาททางการค้าได้ รัฐจึง ส่งผลกระทบต่อกิจการค้าข้าวของชาวปากพนัง เขา้ มาลงทนุ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานทง้ั การขดุ คลอง ยังผลให้โรงสีข้าวหลายแห่งต้องปิดกิจการลง ตัดถนน จัดต้ังไปรษณีย์และโทรเลข ส่งเสริม และเม่ือเกิดสงครามต่อต้านญ่ีปุ่นของชาวจีน เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม ในชว่ งระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๒ การคา้ ขา้ ว ช่วง พ.ศ. ๒๔๓๙ - ๒๔๘๑ “ข้าว” ได้ ของประเทศไทยกบั ญปี่ นุ่ จงึ เกดิ ปญั หาตามไปดว้ ย กลายเป็นสินค้าส่งออกท่ีสำคัญที่สุดของ เพราะการค้าข้าวอยู่ในความควบคุมของชาวจีน ปากพนัง โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน พ.ศ. ๒๔๘๐ ท้ังส้ิน ทางการจึงต้องเข้ามาช่วยแก้ปัญหา เม่ือมีการคาดการณ์ว่าจะมีสงครามโลกครั้งที่ ๒ หลายประการ รวมท้ังบรรเทาปัญหาการผูกขาด 18

สภาพโรงสที ห่ี ลงเหลอื อยใู่ นปจั จบุ นั มปี รากฏใหเ้ หน็ ตลอดลำนำ้ ปากพนงั อนสุ รณแ์ หง่ ความอดุ มสมบรู ณใ์ นอดตี การค้าข้าวด้วยการจัดระบบโควต้าการส่งออก โรงสีข้าวไว้เป็นอนุสรณ์ หลังจากนั้นเศรษฐกิจ ข้าว จัดตงั้ บรษิ ัทข้าวสยาม จำกัด จัดตัง้ สหกรณ์ ของเมืองนครศรีธรรมราชที่เคยเฟื่องฟูก็เร่ิม ขายข้าวข้ึนตามจังหวัดต่างๆ ย่ิงส่งผลกระทบต่อ ถดถอย เรือสำเภาจากต่างประเทศที่เคยเดินทาง การคา้ ขา้ วระหวา่ งไทยกบั ญ่ีปนุ่ โรงสขี ้าวในเมือง มาค้าขาย ณ ท่าเรือปากพนังก็เริ่มหดหาย นครศรีธรรมราชซ่ึงมีอยู่มากมายต่างได้รับ คงเหลือไว้เพียงเรือโดยสารและการขนส่งสินค้า ผลกระทบอยา่ งรนุ แรง ชายฝัง่ เท่าน้ัน คร้ันเกิดสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ มีการ บทบาทการเป็นเมืองท่าค้าขายของ ลักลอบค้าข้าวข้ามชาติ รัฐบาลจำเป็นต้อง ปากพนังเร่ิมสิ้นสุดลงอย่างเด่นชัดเมื่อการ ปิดเมืองท่าเพื่อควบคุมการส่งออกข้าว ควบคุม คมนาคมทางบกเริ่มเจริญขึ้น เน่ืองจากมีการ ราคาข้าว ชาวนาเปลี่ยนกลับมาผลิตเพ่ือการ ตัดถนนจากตัวเมืองนครศรีธรรมราชไปสู่อำเภอ ยังชีพตามเดิม ผลผลิตข้าวก็ตกต่ำลงมาก ต่างๆ โดยตรง เช่น ชะอวด หัวไทร เชียรใหญ ่ จนโรงสีข้าวขนาดใหญ่ขาดแคลนข้าวเปลือก โดยไม่ต้องผ่านปากพนังอีกต่อไป เรื่องราว ท่ีจะป้อนโรงสี และได้ทยอยปิดกิจการลงต้ังแต่ ความเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำในอดีตจึงเหลือไว้ ช่วง พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๕๐๖ เหลือเพียงปล่อง เพียงตำนาน 19

สภาพความเสยี หายจากมหาวาตภยั ทพี่ ดั ถลม่ แหลมตะลมุ พกุ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๕ 20

แหลมตะลมุ พกุ ในปจั จบุ นั มหาวาตภัย แหลมตะลุมพกุ จดุ สน้ิ สดุ ตำนาน เมอื งอขู่ ้าว อู่น้ำ ความรุ่งเรืองของกิจการค้าข้าวของชาวจีนที่ปากพนัง ส้ินสุดลงอย่างส้ินเชิงหลังเกิดมหาวาตภัยพัดถล่มแหลม ตะลุมพุก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาวาตภัยคร้ังน้ันไม่เพียง กวาดล้างทำลายนาข้าว บ้านเรือน ชีวิตผู้คน ทรัพย์สิน และ เครื่องมือทำมาหากินไปในชั่วพริบตา หากแต่ได้ทำลายวิถีชีวิต ของชาวปากพนังด้วย เน่ืองจากผลผลิตข้าวได้ตกต่ำลงอย่าง ต่อเน่ือง ส่งผลให้โรงสีข้าวขนาดใหญ่ต้องปิดกิจการไป หลายแห่ง ชาวจีนจำนวนมากจึงต้องอพยพแยกย้ายไปหา ที่ทำกินและลู่ทางการค้าใหม่ หนำซ้ำวิกฤตราคาน้ำมันที่เกิดข้ึน ในช่วงเวลาไล่เล่ีย ยิ่งตอกย้ำให้กิจการโรงสีไฟและการประมง ยิ่งได้รับผลกระทบจนต้องล้มเลิกกิจการ และมีผลทำให้ผู้คน เร่ิมทยอยอพยพออกจากพ้ืนที่มากข้ึนเรื่อยๆ ส่วนชาวบ้าน ท่ียังคงปักหลักอยู่ก็เร่ิมด้ินรน หาลู่ทางทำมาหากินใหม่ๆ ด้วยการเริ่มบุกรุก แผ้วถางทำลายพื้นท่ีป่าต้นน้ำของลุ่มน้ำ ปากพนังเพ่ือปรับเปลี่ยนเป็นพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยความรู้เท่า ไม่ถึงการณ์ และน่ีเอง คือจุดเร่ิมต้น ท่ีทำให้ “ลุ่มน้ำปากพนัง” ตอ้ งเผชิญกบั วกิ ฤตการณ์ร้ายแรงที่สุดอกี ครง้ั 21

นากุ้ง จุดเรม่ิ ต้นแห่งความย่งุ ยาก กุ้งกลุ าดำ การถาง “ปา่ ตน้ นำ้ ลำธาร” เพ่อื ใช้เปน็ ท่ที ำกนิ น่เี องทถี่ อื เปน็ จุดเริ่มตน้ สำคัญของวกิ ฤตการณ์ ลุ่มนำ้ ปากพนัง เพราะในอดีต ระบบนเิ วศของพืน้ ท่ ี ล่มุ น้ำปากพนังเปน็ ระบบที่มคี วามสมดุล ในตัวเอง เร่ิมจากพื้นที่บริเวณเทือกเขา มีระบบ นิเวศป่าไม้ทำหน้าท่ีเป็นแหล่งต้นน้ำ น้ำจะไหล ลงมาสู่ระบบนิเวศป่าพรุซ่ึงทำหน้าที่เก็บสำรอง พื้นท่ีพรุ น้ำที่เป็นกรดก็จะไหลไปตามลำคลอง น้ำ เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก ปริมาณน้ำจืดในแม่น้ำ สาขาออกสู่แม่น้ำ แม่น้ำปากพนังจึงปนเปื้อน ปากพนังจะมีมากพอท่ีจะดันน้ำเค็มออกไปได้ ไปด้วยน้ำเปรี้ยวอย่างหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ แต่เมื่อ “ป่าต้นน้ำ” ถูกทำลาย “น้ำ” ต้นทุน ส่วนตอนล่างของพ้ืนที่ลุ่มน้ำซึ่งอยู่ติด ตามธรรมชาตจิ ึงลดลง สมดุลของแมน่ ำ้ ปากพนงั ชายทะเล เมื่อเกิดน้ำข้ึน - น้ำลง น้ำเค็มก็จะรุก ที่เคยมีมาหลายชั่วอายุคน ทั้งน้ำจืด น้ำเปรี้ยว เข้าแม่น้ำปากพนัง ซ่ึงแต่เดิมจะเกิดขึ้นเพียงปีละ และน้ำเค็มในอัตราส่วนท่ีเหมาะสมจึงเร่ิม ๓ เดือน เฉพาะในช่วงหน้าแล้งเท่าน้ัน แต่เม่ือ เปล่ยี นแปลงไป... สมดุลธรรมชาติถูกทำลาย ขาดแคลนน้ำจาก ยังผลให้น้ำจืดที่ควรจะไหลมาจากป่า ป่าต้นน้ำ น้ำเค็มจึงสามารถรุกเข้าพื้นที่น้ำจืดได้ ต้นน้ำเกิดการขาดแคลน เกิดสภาพน้ำเป็นกรด เป็นระยะทางเกือบ ๑๐๐ กิโลเมตร และม ี หรือน้ำเปรี้ยวทางตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ำ แนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ เนื่องจากไม่มีแรงดัน ท่ีเป็นป่าพรุ เน่ืองจากไม่มีน้ำจืดจากป่าต้นน้ำ ของกระแสนำ้ จืดมาต้าน ยังผลใหน้ ำ้ เคม็ รกุ เขา้ มาหล่อเลี้ยง ครั้นเมื่อมีการระบายน้ำออกจาก พน้ื ทน่ี ำ้ จดื ไดย้ าวนานถงึ ปลี ะ ๙ เดอื น ชาวบา้ น 22

การเจรญิ เตบิ โตแบบก้าวกระโดด โดยขาดความร้คู วามเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งรองรับ ได้นำมาซง่ึ วกิ ฤตใหญ่หลวง อยา่ งคาดไมถ่ ึง ท่ามกลางเงนิ ทองที่หล่ังไหล เศรษฐกิจทเ่ี ฟอื่ งฟู ไม่มีใครทนั ได้คาดคิดว่า... ทรัพยากรธรรมชาติมากมายเทา่ ไร ท่ตี ้องหายไป... สมดุลธรรมชาตมิ ากแค่ไหน ทตี่ อ้ งสญู เสยี ... ทตี่ อ้ งอาศยั นำ้ จดื ทำนาจงึ ไมส่ ามารถประกอบ ต้นทศวรรษ ๒๕๓๐ ชาวนาจำนวนมาก อาชพี ตอ่ ไปได้ เกดิ ปญั หาการแยง่ ชงิ ทรพั ยากร ในพ้ืนที่ลุ่มน้ำปากพนังเลิกทำนาข้าว เนื่องจาก ต้นทุนสูง ในขณะที่ผลผลิตท่ีได้กลับลดต่ำลง นำ้ กันอย่างรุนแรง พ.ศ. ๒๕๒๙ วิกฤตการณ์ขาดแคลน สวนทางกับธุรกิจการเพาะเลี้ยงกุ้งซ่ึงอยู่ในภาวะ น้ำจืด กลับยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อ รุ่งเรืองถึงขีดสุด ชาวนาจำนวนมากจึงหันมาพลิก กระแสการเลี้ยงกุ้งแบบอุตสาหกรรมเริ่มเฟ่ืองฟู นาข้าวเป็นนากุ้ง และพลิกชีวิตจากที่เคยแทบ ผู้คนพากันหันมาเล้ียงกุ้งกุลาดำกันมากขึ้น ส้ินเน้ือประดาตัวสามารถกลับมาสร้างเนื้อ ย่ิงส่งผลให้เกิดการแผ้วถางทำลายป่า ทำลาย สร้างตัวและลมื ตาอ้าปากไดอ้ กี คร้งั ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศตลอดแนว ยิ่งการส่งออกกุ้งกุลาดำขยายตัวเพิ่มข้ึน สองฟากฝ่ังแม่น้ำปากพนัง เพื่อใช้เป็นพ้ืนท ี่ เท่าไร พื้นท่ีเพาะเล้ียงกุ้งก็ยิ่งขยายเพิ่มเป็น เลี้ยงกุ้ง และค่อยๆ ขยายรุกล้ำเข้าสู่พื้นท่ีน้ำจืด เงาตามตัว เป็นผลให้ใน พ.ศ. ๒๕๔๐ มีพ้ืนที่ อย่างต่อเน่ือง จนถึงกับต้องมีการประดิษฐ ์ เพาะเล้ียงกุ้งกุลาดำทั่วลุ่มน้ำปากพนังมากถึง รถบรรทกุ นำ้ ทะเลเพอื่ นำไปใช้ในบ่อเล้ียงกงุ้ ๑๐๓,๓๐๐ ไร่ มากอย่างทไี่ ม่เคยปรากฏมาก่อน 23

เมื่อทรพั ยากรธรรมชาตถิ กู ทำลาย เปน็ ผลให้ระบบนิเวศแหล่งนำ้ ขาดสมดุล หน้าฝนน้ำลน้ ท่วม หน้าแล้งนำ้ แห้งเหือด เกิดปญั หาน้ำเค็มรุก นำ้ จืดขาด นำ้ เปรย้ี วแพร่ทะลัก น้ำเสียหลง่ั ไหล ทำลายแปลงเกษตรกรรม และรุกลำ้ สู่แหล่งชุมชน ผ้คู นเร่ิมขดั แยง้ สภาพแวดล้อมเรม่ิ เปลีย่ นแปลงจนเกินกว่าจะเยียวยารักษาตนเองได้ทนั ลมุ่ นำ้ ปากพนงั กลายเป็นแหล่งประดังของปญั หา ปรากฏการณ์เพ่มิ ขึ้นของนากุ้ง โดยขาดความรคู้ วามเข้าใจท่ถี ูกตอ้ ง ในการเล้ยี งและระบบการบริหารจัดการท่ีดี ทำให้น้ำเคม็ หลงั่ ทะลัก เข้าสู่แหล่งน้ำจืดและนาข้าวมากย่ิงข้นึ พร้อมกบั ชนวนความขดั แยง้ และนำมาซึง่ ปัญหาย่งุ ยากตามมาเกินกวา่ จะเยยี วยาแกไ้ ข ลุ่มนำ้ ปากพนัง แหล่งประดงั ของปญั หา หนา้ ฝน น้ำล้นท่วม นำ้ เคม็ รกุ ปัญหาน้ำท่วมในช่วงฤดูฝนของทุกปี ปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำเข้าพ้ืนท่ีในช่วง (ตุลาคม - ธันวาคม) และในช่วงน้ำทะเล ฤดูแล้ง แพร่กระจายในพ้ืนที่เป็นบริเวณ หนุน เนื่องจากสภาพพ้ืนท่ีเดิมราบเรียบ กว้างขึ้น ลึกเข้าไปในแม่น้ำปากพนังมากกว่า เป็นท้องกระทะ มีระดับใกล้เคียงกับระดับ ๑๐๐ กิโลเมตร เนื่องจากท้องน้ำของแม่น้ำ น้ำทะเล ช่องทางการระบายน้ำออกมีน้อย ปากพนงั อยตู่ ำ่ กวา่ ระดบั น้ำทะเลและมคี วาม และมีส่ิงก่อสร้างกีดขวางทางน้ำเพ่ิมขึ้นทุกปี ลาดชันน้อยมาก อีกทั้งประชาชนในพ้ืนที่ ทำใหก้ ารระบายนำ้ เปน็ ไปได้ช้า ต้นน้ำก็มีความต้องการใช้น้ำเพิ่มขึ้นตลอด เวลา ทำให้น้ำจืดมีน้อย และขาดแรงในการ ผลักดันน้ำเค็มออกจากพ้ืนที่ น้ำในแม่น้ำ หนา้ แลง้ น้ำแหง้ เหือด ปัญหาการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง ลำคลองจึงมีความเค็ม ไม่สามารถใช้อุปโภค เน่ืองจากป่าต้นน้ำถูกทำลาย ไม่มีแหล่ง บริโภคได้นานถึง ๙ เดือนต่อปี (ช่วงเดือน ท่ีทำหน้าท่ีเก็บน้ำต้นทุน ประกอบกับความ มกราคม - กนั ยายน) ต้องการใช้น้ำจืดเพิ่มสูงข้ึนทุกปี ตามอัตรา ก า ร เ พิ่ ม ข้ึ น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ปั ญ ห า ก า ร ขาดแคลนน้ำจืดจึงย่ิงทวีความรุนแรงขึ้น โดยลำดบั 24

จำลองการรุกตัวของน้ำเค็ม จากอ่าวปากพนงั เขา้ มาในแม่น้ำปากพนัง เป็นระยะทางกวา่ ๑๐๐ กิโลเมตร จนถึงอำเภอชะอวด นำ้ เปรี้ยวทะลัก ปัญหาน้ำเปรี้ยว เน่ืองจากบริเวณ ลำพังปัญหาการขาดแคลนน้ำจืด ตอนกลางของพ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนังเป็นป่าพรุ ปัญหาน้ำเค็ม และน้ำเปร้ียว ก็ทำให้เกิด มีลักษณะเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ น้ำท่วมขังตลอดปี วิกฤตในพื้นท่ีมากพออยู่แล้ว หนำซ้ำการทำ คือ “พรุควนเคร็ง” และ “พรุคลองฆ้อง” นากุ้งยังทำให้เกิด “น้ำเสีย” จากกระบวนการ เน้ือท่ีประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ไร่ ในดินพรุ เลี้ยงกุ้งท่ีขาดระบบการบำบัดที่ดีก่อนปล่อย มีสารประกอบ “ไพไรท์” ตกตะกอนอย ู่ ลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ และได้ไหลลงไปใน เมื่อระดับน้ำลดลงจนชั้นไพไรท์สัมผัสกับ ลำน้ำต่างๆ ยิ่งส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวง อากาศจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้ดินมี ทั้งต่อสภาพแวดล้อม คุณภาพของน้ำ และ สภาพเป็นกรดและน้ำเปรี้ยว ไม่สามารถ เกษตรกรผใู้ ชน้ ำ้ จืด ซงึ่ ไมส่ ามารถนำนำ้ ไปใช้ ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ ในการเพาะปลูกได้ และยิ่งทวีความขัดแย้ง ราษฎรในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังจึงต้อง ระหว่างผู้ทำนากุ้งและนาข้าวจนกลายเป็น เผชิญทั้งปัญหาการขาดแคลนน้ำจืดจนทำนา วิกฤตทับซอ้ น ไม่ได้ ทั้งปัญหาดินเค็ม ดินเปร้ียว ซ่ึงขยาย ผืนแผ่นดินลุ่มน้ำปากพนังที่เคยมอบ วงกว้างออกไปเรื่อยๆ จนทำให้พื้นท่ีนา ความสุข สงบ ร่มเย็น และอุดมสมบูรณ ์ ท่ีเคยมีมากกว่า ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ ลดลงไป ได้แปรเปล่ียนเป็นดินแดนแห่งปัญหาและ กวา่ ครึง่ ความขัดแย้ง สง่ ผลกระทบร้ายแรงต่อวิถีชีวติ และการทำมาหากนิ ของประชาชน 25

กว่า ๒ ทศวรรษแห่งพระวริ ยิ ะ สู่ ๑๓ ครั้ง แหง่ แนวพระราชดำริในการพัฒนา ก่อเกดิ เป็นโครงการพัฒนาพ้ืนท ี่ ลมุ่ นำ้ ปากพนงั อันเนื่องมาจากพระราชดำริ คอื บทพิสูจน์แห่งพระราชปณิธานอันมุง่ ม่ัน ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทจี่ ะทรงคล่คี ลาย บรรเทาทุกข์ เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน จากพระเมตตา สพู่กฒั ารนพาลลกิ มุ่ ฟนื้น้ำป ากพนงั ปัญหาเรื้อรังที่ยืดเยื้อยาวนานนับ สิบๆ ปี มิได้ทำลายแค่เพียงทรัพยากร ธรรมชาติในพ้ืนที่ หากแต่ได้ทำลายสิ่งที่มี คุณค่าท่ีสุดในการอยู่ร่วมกัน นั่นคือมิตรภาพ แ ล ะ ค ว า ม ส มั ค ร ส ม า น ส า มั ค คี ข อ ง ผู้ ค น ซ่ึงเกือบจะขาดสะบ้ันลง เม่ือชาวนากุ้ง ต้องการน้ำกร่อย แต่ชาวนาข้าวต้องการ น้ำจืด ความต้องการท่ีสวนทาง จึงนำมาซึ่ง ความขัดแย้งทีไ่ ม่อาจหลกี เลย่ี ง 26

ปญั หานำ้ เคม็ รุกเขา้ มาในพน้ื ท่ีเพาะปลูก คอื ปญั หาใหญ่ ทเี่ ป็นอปุ สรรคตอ่ การทำมาหากนิ ของชาวนาและเกษตรกรในพ้ืนที่ นำมาซ่งึ ความทกุ ขย์ าก เดอื ดรอ้ นแสนสาหัส เม่ือปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อนของ น้ำเสีย ดนิ เปรย้ี ว การขาดแคลนน้ำจืด การรุกลำ้ ประชาชน ทงั้ จากปญั หาเร่อื งปากท้อง ความยาก ของน้ำเค็ม ระบบนิเวศเสียสมดุล และที่ทรง ลำบากในการทำมาหากิน และความรุนแรง เป็นห่วงอย่างย่ิง คือ ความขัดแย้งอย่างรุนแรง ของความขัดแย้งในพื้นท่ี ทราบถึงพระเนตร ของประชาชนในพื้นท่ี และได้พระราชทาน พระกรรณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่ง สนพระราชหฤทัยและได้ทรงศึกษาปัญหา ดำเนินการช่วยเหลือประชาชนอย่างต่อเน่ือง ท่ีเกิดขึ้นอย่างถี่ถ้วน ทรงวิเคราะห์ปัญหาและ ถึง ๑๓ ครัง้ ตลอดระยะเวลากวา่ ๒๐ ป ี สาเหตุของปัญหา ทั้งปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง 27

พ.ศ. ๒๕๓๕ ครัง้ ท่ี ๓ พระราชทาน เมอื่ วนั ที่ ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ณ สถานีสบู นำ้ บา้ นโคกกูแว ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธวิ าส ครัง้ ที่ ๔ พระราชทาน เมือ่ วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๒๑ พ.ศ. ๒๕๓๗ ในเกมาพพ่อื รวรรแันะะกณบรทป้ าา่ีัญโช๑ทรท๓หงสปาามกคนลนู เันรแดมุ่ซง้ัยนจ็นทเี ามพวี่ำ้ย๑นพปรน ตะราเกะพ์ทจรพงุ่.า้ศาสนอช.งังยด๒ คู่ห ำ๕รรัว๒้ังอ ิ แ๑นั ร เ กน เ ่ือมณงอื่ มวพาันจรคทาะรี่กตงั้๒พพทำ๓รหร่ี ะ๕ะนธรรันักาพาจชวชร ิตาวะดคังรรำดมลารสุชดิ พจิตทางั.ร าศหโน.หว ๒ัดฐ๕านน๓รเ ๕าม ธ ื่อ วิ วาันสคท รั้ง่ี ๔ที่ ณ โครงการพฒั นาลุ่มนำ้ บางนรา ๙ พระราชทาน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ อำเภอทุง่ สง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๑ ครงั้ ท่ี ๖ พระราชทาน ครัง้ ที่ ๒ พระราชทาน เมอ่ื วนั ที่ ๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ณ พระตำหนักทกั ษิณราชนิเวศน์ เมือ่ วนั ที่ ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ อาคารชยั พัฒนา พระราชวงั ดุสติ จังหวดั นราธิวาส ครัง้ ท่ี ๗ พระราชทาน เมอื่ วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ณ โครงการพัฒนาลุ่มนำ้ คลองนำ้ จืด - คลองแฆแฆ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ จังหวดั ปัตตานี คร้งั ที่ ๘ พระราชทาน เม่ือวนั ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ณ ศาลาดุสิดาลยั พระราชวงั ดสุ ติ 28

ประมวลพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ท่ีพระราชทานเพ่อื การพัฒนา ลมุ่ น้ำปากพนงั พ.ศ. ๒๕๔๕ คร้งั ท่ี ๑๓ พระราชทาน พ.ศ. ๒๕๔๑ เมอื่ วันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ณ โครงการปลกู ปา่ ถาวรเฉลิมพระเกียรต ิ ของการปิโตรเลยี มแห่งประเทศไทย ครัง้ ท่ี ๑๑ พระราชทาน บรเิ วณวนอุทยานปราณบุร ี เมื่อวนั ที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ อำเภอปราณบุรี จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ ์ พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๓ ครั้งที่ ๑๐ พระราชทาน ครง้ั ที่ ๑๒ พระราชทาน เมื่อวันท่ี ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เม่ือวันท่ี ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ภายหลงั ผูแ้ ทนจากกระทรวง ณ วังไกลกังวล อำเภอหวั หนิ วทิ ยาศาสตร์ จังหวัดประจวบครี ีขันธ ์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ ม กราบบังคมทูลรายงานสรุป สถานภาพการจดั ทำ และพจิ ารณารายงาน การวเิ คราะห์ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ของโครงการฯ 29

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทาน ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้เกิดฝนตกหนัก แนวพระราชดำริในการแก้ปัญหาลมุ่ นำ้ ปากพนงั ติดต่อกันตั้งแต่วันที่ ๑๙ - ๒๒ พฤศจิกายน เปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื วนั ที่ ๑๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นเหตุให้พ้ืนที่เพาะปลูกของเกษตรกรในบริเวณ ระหว่างเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ลุ่มน้ำปากพนังเกิดความเสียหายอย่างมาก และประทับแรม ณ โรงปูนซีเมนต์ อำเภอทุ่งสง จากน้ันในวันที่ ๒๔ ธันวาคม พระบาทสมเด็จ จงั หวดั นครศรธี รรมราช โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ให้ผู้อำนวยการสำนักชลประทานท่ี ๑๑ เข้าเฝ้าฯ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ องคมนตรี และมีพระบรมราชวินิจฉัยเกี่ยวกับการพัฒนา นายสุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ และอธบิ ดกี รมชลประทาน โครงการชลประทานในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนัง พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องเข้าเฝ้าฯ พร้อม โดยมีพระราชดำริให้สร้างอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส พระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทาน บริเวณลุ่มน้ำคลองชะอวด เพ่ือบรรเทาปัญหา ดำเนินการแก้ไขและบรรเทาปัญหาอุทกภัยอย่าง อุทกภัยในพื้นท่ีลุ่มน้ำปากพนังในพื้นที่อำเภอ เร่งด่วน โดยให้พิจารณาวางแผนการดำเนินงาน ชะอวด และป้องกันปัญหาน้ำเค็มในช่วงฤดูแล้ง เป็น ๒ ระยะ คือ ระยะแรก ให้ขุดคลอง ตลอดจนเป็นแหล่งน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค ธรรมชาติและปรับปรุงคลองระบายน้ำต่างๆ แตเ่ นอื่ งดว้ ยการก่อสร้างต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า เพ่ือเร่งการระบายน้ำออกจากพื้นท่ี ได้แก่ ๕ ปี จึงมีพระราชดำริให้ก่อสร้างฝายทดน้ำ คลองระบายน้ำท่าพญาและคลองสาขา คลองไม้เสียบ ที่ตำบลเกาะขันธ์ อำเภอชะอวด คลองระบายน้ำบ่อคณฑี คลองระบายน้ำ พร้อมระบบส่งน้ำอย่างเร่งด่วนเพ่ือใช้ประโยชน ์ หน้าโกฏิ และคลองแพรกเมือง - ชะอวด ในเบื้องต้นก่อน ต่อไปเม่ือสร้างอ่างเก็บน้ำ ระยะที่สอง ให้ขุดคลองใหม่เป็นคลองลัดน้ำ หว้ ยนำ้ ใสเสร็จแล้ว โครงการชลประทานดังกล่าว เพ่ือระบายน้ำท่ีเอ่อล้นในแม่น้ำปากพนังออกสู่ ก็จะสมบรู ณ์ยง่ิ ขึ้น ทะเลอย่างรวดเร็ว พร้อมก่อสร้างประตูระบายน้ำ จากนนั้ กรมชลประทานจงึ ไดเ้ รมิ่ วางโครงการ และคันกั้นน้ำด้วย เพ่ือกักเก็บน้ำจืดในลุ่มน้ำ สำรวจและออกแบบฝายทดน้ำคลองไม้เสียบ ปากพนังไว้ใช้ในการเกษตรและป้องกันการรุกล้ำ และกอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๕๒๙ ขณะเดยี วกนั ของนำ้ เค็ม ก็ได้ดำเนินโครงการสำรวจออกแบบอ่างเก็บน้ำ ห้วยน้ำใสด้วย โดยเร่ิมก่อสร้างใน พ.ศ. ๒๕๓๔ และแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๓๘ 30

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแนวพระราชดำรใิ นการพฒั นาลมุ่ นำ้ ปากพนงั แกค่ ณะกรรมการบรหิ ารโครงการพฒั นาพนื้ ทลี่ มุ่ นำ้ ปากพนงั อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร ิ ณ พระตำหนกั ทกั ษณิ ราชนเิ วศน์ จงั หวดั นราธวิ าส เมอื่ วนั ท่ี ๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ หลังจากนั้นอีก ๔ ปีต่อมา เม่ือวันท่ี ๙ ระบบระบายน้ำออกจากพ้ืนท่ีน้ำท่วมเพ่ือให้ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้า น้ำไหลลงทะเลโดยเรว็ ทส่ี ดุ อยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริเร่ืองการ ตอ่ มาในปเี ดยี วกนั เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ก่อสร้างประตูระบายน้ำพร้อมอาคารประกอบที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน บรเิ วณปากแมน่ ำ้ ปากพนงั โดยใหห้ า่ งจากอำเภอ แนวพระราชดำริเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเลือก ปากพนังไปทางทิศใต้ประมาณ ๓ กิโลเมตร ตำแหน่งที่จะสร้างประตูระบายน้ำอีกคร้ัง เพ่ือป้องกันน้ำทะเลมิให้ไหลเข้าสู่แม่น้ำปากพนัง ดังความตอนหนึ่งวา่ พร้อมกักเก็บน้ำจืดไว้ในแม่น้ำและลำน้ำต่างๆ “...การทำเขอ่ื นหรอื ประตบู งั คบั นำ้ หา่ งจาก ส่วนการแก้ปัญหาน้ำท่วมนั้น ทรงให้ขุดคลอง อำเภอปากพนังประมาณ ๓ - ๕ กิโลเมตรนี้ ระบายน้ำเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ถัดมาอีก จะต้องทำอาคารบังคับขนาดใหญ่ ๑ ตัว ๒ วัน ในวันท่ี ๑๑ ตุลาคม ได้พระราชทาน และขนาดเล็ก ๒ ตัว รวมทั้งขุดคลองเชื่อม พระราชกระแสอกี ครง้ั วา่ ควรกอ่ สรา้ งเขอ่ื นทดนำ้ และทำคลองน้ำแบ่งเหมือนโครงการบางนรา ในแมน่ ำ้ ปากพนงั หา่ งจากอำเภอปากพนงั ไปทาง ถ้าทำแล้วนากุ้งจะอยู่ส่วนนากุ้ง นาข้าว ทิศใต้ประมาณ ๕ กิโลเมตร พร้อมทั้งก่อสร้าง จะอยูส่ ว่ นนาข้าว...” 31

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กรมชลประทาน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้ร่วมดำเนินการสนอง เพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้อง เป็นระบบ พระราชดำริโดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รัฐบาลในสมัยน้ัน ด้านชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังมา จึงรับสนองพระราชดำริและได้แต่งตั้งคณะ โดยตลอดต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๒๑ และเนื่องด้วย กรรมการบริหารโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ โครงการพฒั นาพน้ื ทล่ี มุ่ นำ้ ปากพนงั ฯ เปน็ โครงการ ปากพนัง อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เมื่อ ขนาดใหญ่ มีความสลับซับซ้อน ต้องอาศัย วันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ซ่ึงถือเป็น ความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกันหลายฝ่าย จุดเรมิ่ ต้นโครงการอย่างเปน็ ทางการ การบรหิ ารโครงการพฒั นาพ้ืนที่ลุม่ นำ้ ปากพนงั อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาพื้นทลี่ ่มุ น้ำปากพนังฯ นายกรฐั มนตร ี ประธานฯ อธบิ ดกี รมชลประทาน กรรมการและเลขานกุ าร ปรบั ปรงุ ลา่ สดุ คำสงั่ กปร.ท่ี ๐๒/๒๕๕๐ ลว. ๑๒ ม.ี ค. ๒๕๕๐ ๑ ๒ ๓ ๔ คณะอนกุ รรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการ กองอำนวยการ พัฒนาส่งิ แวดล้อม พฒั นาอาชพี ประสานการดำเนินงาน โครงการพัฒนาพื้นท่ ี โครงการฯ ในพ้ืนทีโ่ ครงการฯ โครงการฯ ลุ่มนำ้ ปากพนงั ฯ ● ● ● ● รองปลดั กระทรวงทรพั ยากร รองปลดั กระทรวงเกษตร แมท่ พั ภาคที่ ๔ ผอู้ ำนวยการ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และสหกรณ ์ ทป่ี รกึ ษา กองอำนวยการ ประธานฯ ประธานฯ โครงการพฒั นาพน้ื ท ี่ ลมุ่ นำ้ ปากพนงั ฯ ● ● ● เจา้ หนา้ ทกี่ รมควบคมุ มลพษิ ผอู้ ำนวยการสำนกั แผนงาน ผวู้ า่ ราชการ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร และโครงการพเิ ศษ จงั หวดั นครศรธี รรมราช (สำนกั งานปลดั กระทรวง ประธานอนกุ รรมการ เกษตรและสหกรณ)์ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ● ผอู้ ำนวยการ กองอำนวยการโครงการ พฒั นาพน้ื ทล่ี มุ่ นำ้ ปากพนงั ฯ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ รเิ ปน็ หนว่ ยงานประสานงานโครงการ 32

ตลอดระยะเวลาอนั ยาวนาน พระบาทสมเดจ็ ๔. เร่งขุดลอกขยายคลองบ้านกลาง พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงติดตามการดำเนินงานอย่าง คลองปากพนัง และคลองหน้าโกฏิ พร้อม ใกล้ชิด พร้อมมีพระราชกระแสรับส่ังเพิ่มเติม ก่อสร้างประตูระบายน้ำ เพราะประตูระบายน้ำ เกี่ยวกับแนวทางแก้ปัญหาและเร่งรัดหน่วยงาน ท่ีบ้านเสือร้องและหน้าโกฏิจะช่วยระบายน้ำ ท่ีเก่ียวข้องให้เร่งดำเนินการก่อสร้างโครงการ จากคลองบ้านกลางและคลองปากพนังจากพ้ืนท่ี ต่างๆ มาโดยตลอด คร้ังสำคัญท่ีสุดเมื่อวันท่ ี โครงการฯ ลงสทู่ ะเลไดเ้ รว็ ขนึ้ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จ ๕. ควรพิจารณาขุดคลองระบายน้ำ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให ้ สายชะอวด - แพรกเมอื ง พรอ้ มกอ่ สรา้ งอาคาร นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา องคมนตรี ประตูระบายน้ำ เพ่ือช่วยระบายน้ำออกจากพ้ืนที่ นายสวัสดิ์ วัฒนายากร อธิบดีกรมชลประทาน โครงการฯ ออกสู่ทะเล กรณีเกิดอุทกภัยตาม นายสเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ เลขาธกิ าร กปร. พรอ้ มดว้ ย ความเหมาะสม เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนัก ๖. ตอ้ งพจิ ารณากำหนดแนวเขตทแ่ี นน่ อน ทักษิณราชนิเวศน์ จังหวัดนราธิวาส และได้ เพอ่ื แยกพนื้ ทนี่ ำ้ จดื และพน้ื ทนี่ ำ้ เคม็ ออกจากกนั พระราชทานแนวทางในการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้ำ โดยพิจารณาให้บริเวณด้านทิศตะวันออกของ ปากพนัง ซึ่งถือเป็นจุดเร่ิมต้นโครงการอย่าง คลองปากพนัง (คลองหัวไทร) เป็นพื้นท่ีน้ำเค็ม เปน็ รูปธรรม อันมีใจความสำคัญดังนี้ ท้ังนี้ให้กรมชลประทาน กรมประมง ตลอดจน ๑. ควรเร่งดำเนินการก่อสร้างประตู ผู้มีส่วนเก่ียวข้องต้องร่วมพิจารณาหาแนวทาง ระบายน้ำปากพนังให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ที่เหมาะสมรว่ มกนั เพราะจะเป็นจุดเร่ิมต้นของโครงการฯ และ ๗. ควรจัดต้ังศูนย์ศึกษาเฉพาะกิจที่ เป็นศูนย์รวมในการแก้ไขปัญหา ท้ังปัญหา บริเวณประตูระบายน้ำหน้าโกฏิในพื้นท่ีของ การขาดแคลนน้ำจืดสำหรับใช้ในการเกษตร กรมประมง เพื่อทำการทดลอง ศึกษา และวิจัย การอุปโภค และปัญหาน้ำทะเลบุกรุกในฤดูแล้ง ด้านการประมงแบบครบวงจร รวมถึงปัญหาน้ำท่วมพ้ืนท่ีทำกินของราษฎร ๘. พนื้ ทที่ างทศิ ตะวนั ตกของลมุ่ นำ้ ปากพนงั เปน็ บริเวณกวา้ งในฤดูฝน เป็นเทือกเขาสูง มีปัญหาการขาดแคลนน้ำใช ้ ๒. ควรพิจารณาขุดคลองระบายน้ำ ในการเกษตรและอุปโภคของราษฎรท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี ฉุกเฉินพร้อมอาคาร เพอื่ เรง่ ระบายนำ้ ออกจาก ดงั กลา่ ว ควรพจิ ารณาวางโครงการและกอ่ สรา้ ง แม่น้ำปากพนังสู่ทะเล โดยขุดขึ้นท่ีบริเวณหน้า อ่างเก็บน้ำหรือฝายทดน้ำ เพื่อช่วยเหลือพื้นท่ี ประตรู ะบายนำ้ ปากพนงั ซง่ึ จะชว่ ยระบายนำ้ ออก เกษตรกรรม การอุปโภคบริโภค และช่วยบรรเทา จากพื้นท่ีได้เร็วข้ึน สามารถช่วยแก้ไขปัญหา ปญั หาอุทกภัยในพืน้ ท่ตี อนลา่ ง นำ้ ทว่ มพนื้ ทที่ ำกนิ ของราษฎรได ้ ๙. ควรพิจารณาเก่ียวกับระบบการ ๓. เร่งขุดลอกคลองท่าพญา พร้อม จัดการน้ำเสียจากนากุ้งและน้ำเปรี้ยวจากพรุ ก่อสร้างประตูระบายน้ำท่าพญา เพ่ือช่วย รวมท้ังระบบน้ำเสียจากชุมชน เชน่ เขตชมุ ชน ระบายน้ำออกจากพ้ืนท่ีได้อีกทางหน่ึง อำเภอเชยี รใหญ่ และอำเภอชะอวด เพอ่ื ใหน้ ำ้ จดื ทกี่ กั เกบ็ ไวใ้ นแหลง่ นำ้ ตา่ งๆ ในเขตลมุ่ นำ้ สามารถ นำมาใช้ในการอปุ โภคบริโภคได้อย่างสมบูรณ ์ 33

ไม่ว่าพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั จะเสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปแห่งไหนหรือทอดพระเนตรเห็น สิ่งใด ปัญหาความเดือดร้อนของชาวปากพนัง ยังคงอยู่ในความสนพระราชหฤทัยของพระองค์ เสมอ ดังเช่นเม่ือคราวเสด็จพระราชดำเนินไป ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร พ้ื น ที่ โ ค ร ง ก า ร พัฒนาลุ่มน้ำ คลองน้ำจืด - คลองแฆแฆ อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ บ้านทุ่งเค็จ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี และบ้านแฆแฆ ตำบลน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เม่ือวันท่ี ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้มีกระแสพระราชดำรัส ถึ ง โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี ลุ่ ม น้ ำ ป า ก พ นั ง ว่ า ควรพิจารณาวางโครงการและก่อสร้างระบบ แยกน้ำออกจากกัน ได้แก่ การก่อสร้างระบบ ป้องกันน้ำเปร้ียวจากพรุที่ทำให้พ้ืนท่ีเพาะปลูก เป็นดินกรด ระบบป้องกันน้ำเค็มบุกรุก และ ระบบส่งน้ำจืด เพ่ือช่วยเหลือการเพาะปลูก และการอุปโภคบริโภคของราษฎรบ้านเนินธัมมัง ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัด นครศรธี รรมราช แมก้ ระทง่ั ในการพระราชทานพระราชดำรัส ทั้งยังทรงเน้นย้ำความสำคัญและประโยชน์ ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ที่จะไดร้ บั จากโครงการว่า ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระองค์ยังทรง “...ที่พูดกันวันน้ีก็เป็นโครงการอย่างสั้น หยิบยกโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนัง ทีส่ ดุ ๓ ปี. เปน็ โครงการ ๓ ปี ๔ ปี ๕ ปี ๖ ป.ี ข้นึ มากลา่ วถึง ดังความตอนหน่งึ วา่ แตถ่ า้ ไมเ่ รม่ิ ทำเดยี๋ วน้ี มนั กจ็ ะกลายเปน็ สบิ ป.ี “...ปีท่ี ๕๐ ในรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งใคร ถ้าไม่ทำไปปีก็เพิ่มไปอีกปี. ฉะน้ันต้องทำ ต่อใครเริ่มคิดจะทำการฉลอง...อยากให้ แล้วก็เข้าใจว่า เงินท่ีจะมาลงทุนในโครงการ โครงการปากพนังนี้สำเร็จสำหรับเฉลิมฉลอง เหลา่ น้ี กค็ วรจะมพี อ. เพราะเหตวุ า่ เงนิ เหลา่ น้ี ๕๐ ปี ของรัชกาลปัจจุบัน. มีความหมายดี ผู้เช่ียวชาญทางเศรษฐกิจก็จะต้องทราบดีว่า แล้วก็ทำให้ครึกคร้ืนดี ทำให้ปล้ืมใจทั่วทั้ง เปน็ การลงทนุ ทค่ี มุ้ คา่ ...กำไรนนั้ มาทป่ี ระชาชน ประเทศ...” ประชาชนจะอยดู่ กี นิ ดี...” 34

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแนวพระราชดำรใิ นการพฒั นาลมุ่ นำ้ ปากพนงั เมอ่ื ครงั้ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทอดพระเนตรโครงการพฒั นาลมุ่ นำ้ คลองนำ้ จดื - คลองแฆแฆ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร ิ เขตอำเภอสายบรุ ี และอำเภอปะนาเระ จงั หวดั ปตั ตานี เมอ่ื วนั ที่ ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ นอกจากนี้ยังทรงชี้แจงให้ประชาชนม ี หมดไป เพราะคนทเ่ี ปน็ โจรผรู้ า้ ยนนั้ ลว้ นแตเ่ กดิ จาก ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับประโยชน ์ ความอดอยาก ยากจน หากช่วยให้เขามีอาชีพ ท่ีจะได้รับจากโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ มีรายได้ท่ีมั่นคง ก็จะไม่มีใครอยากเป็นผู้ร้ายอีก ปากพนัง หากสามารถแยกน้ำจืดและน้ำเค็ม เพราะไม่ใช่อาชีพท่ีสนุกและเส่ียงอันตราย ได้สำเร็จ จะทำให้มีทั้งน้ำจืดสำหรับทำนาข้าว และทรงย้ำอีกว่าโครงการน้ีไม่เพียงแต่จะสร้าง และอุปโภค บริโภค ไม่ต้องใช้รถบรรทุกขนน้ำ ประโยชน์ในอนาคตเท่าน้ัน แต่จะสร้างประโยชน์ มาจากนอกพ้ืนที่ และมีน้ำกร่อยสำหรับทำนากุ้ง ได้ทันทีนับตั้งแต่เร่ิมโครงการ เพราะจะช่วย ประชาชนก็จะมีอาชีพท่ีดีและมีรายได้ที่มั่นคง สร้างงาน สร้างรายได้ให้คนในพ้ืนท่ีทันทีที่ลงมือ เม่ือทุกคนอยู่ดีกินดี ปัญหาเร่ืองโจรผู้ร้ายก็จะ ดำเนินโครงการ 35

ชว่ งวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาในปถี ดั มา วันที่ กลายเป็นจังหวัดร่ำรวย เกือบท่ีสุดได้ โดยมี ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ พระบาทสมเด็จ โครงการนี้อย่างเดยี ว...” พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรสั เกย่ี วกบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงตดิ ตามงาน การแกว้ กิ ฤตการณท์ ล่ี มุ่ นำ้ ปากพนงั เพม่ิ เตมิ อกี ครงั้ และมีพระราชกระแสรับสั่งให้เร่งดำเนินโครงการ ท้ังกระตุ้นให้ประชาชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ชลประทานท่ีลุ่มน้ำปากพนังโดยด่วนอีกครั้ง เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ที่จะได้รับจาก เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เพราะจะชว่ ย การดำเนินการอย่างจริงจัง หากดำเนินการแก้ไข แยกพื้นท่ีเลี้ยงกุ้งซ่ึงต้องการน้ำเค็ม และพ้ืนท ่ี อยา่ งสมบูรณ์ดังความตอนหนึง่ ว่า เพาะปลกู ซง่ึ ตอ้ งการนำ้ จดื ในบรเิ วณคลองชะอวด “...คนท่ีเคยไปในพ้ืนที่จะเข้าใจ คนท ี่ ทง้ั ยงั แกป้ ญั หานำ้ เสยี จากพรคุ วนเครง็ ได้ แตห่ าก ไมเ่ คยไปในพน้ื ท่ี จะไมม่ ที างเขา้ ใจได.้ ปากพนงั ยงั ไมเ่ รง่ ดำเนนิ การจะไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หาใดๆ ก็อดน้ำ ต้องส่งรถบรรทุกน้ำ เสียเงินเป็น ได้เลย ในปีนี้เองคณะรัฐมนตรีจึงมีมติเห็นชอบ ร้อยล้าน. แล้วก็ไม่จริง ท่ีว่าน้ำในแม่น้ำ และอนุมัติให้เปิดโครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้ำ ชะอวดนนั้ น้ำกรอ่ ยจะเปน็ การด.ี ไม่ดี. ถ้าทำ ปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการ นำ้ ในคลองชะอวดนนั้ จะเปน็ น้ำจดื . เม่ือวันท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ พร้อมกับ แน่นอน ต้องแก้ไขต่อไป เร่ืองความเปรี้ยว เรมิ่ ดำเนนิ การกอ่ สรา้ ง “ประตรู ะบายนำ้ ปากพนงั ” หรือความบกพร่องอย่างอ่ืนๆ แต่อย่างน้อย ในปีถัดมา เพื่อเป็นจุดเร่ิมต้นและเป็นหลักในการ ก็เป็นขั้นหนึ่ง. จะทำนาในลุ่มน้ำชะอวดนี้ได้ พฒั นาดา้ นอน่ื ๆ ตอ่ ไป เป็นแสนไร่. ชาวเชียรใหญ่ท่ีไปที่อ่ืน ก็จะ ๕ ปีต่อมา เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ๗ ตุ ล า ค ม กลับมา ทำอาชีพท่ีสุจริต. จะทำให้จังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นครศรธี รรมราชดขี นึ้ ซงึ่ ปจั จบุ นั นเี้ ปน็ จงั หวดั ได้พระราชทานแนวพระราชดำริ ซ่ึงถือเป็น ท่ีจนที่สุด. ไม่น่าเช่ือ ชื่อนครศรีธรรมราช หัวใจสำคัญของการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้ำปากพนัง น่าจะเป็นจังหวัดที่เจริญ ท่ีมีการผลิตข้าวได้ สรุปความได้ว่าให้บริหารน้ำในลุ่มน้ำให้มี ดีที่สุด. แต่ไม่เป็นเช่นนั้น กลับเป็นจังหวัด ประสิทธิผลสูงสุด โดยเมื่อเกิดภาวะฝนตกหนัก ที่ด้อยที่สุด จนท่ีสุด. แต่ถ้าทำโครงการนี ้ ผนวกกับน้ำทะเลหนุนให้พิจารณาหาวิธีการ จะกลับกลายมาเป็นจงั หวดั ที่ร่ำรวย. นใ่ี นทาง ระบายน้ำจากตอนบนของลุ่มน้ำออกสู่ทะเล เศรษฐกจิ แทๆ้ จะทำใหจ้ งั หวดั นครศรธี รรมราช ด้านตะวันออกโดยเร็วท่ีสุด และให้นำรูปแบบ 36

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะบคุ คลตา่ งๆ เขา้ เฝา้ ฯ ถวายพระพรชยั มงคล เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เมอื่ วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั พระราชวงั ดสุ ติ การเล้ียงกุ้งร่วมกับการทำนาข้าวและเล้ียงปลา การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย บริเวณพ้ืนท่ี โดยใช้ระบบการถ่ายเทน้ำท่ีทดลองปฏิบัติแล้ว วนอุทยานปราณบุรี อำเภอปราณบุรี จังหวัด ที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ ตำบลบางแตน ประจวบคีรีขันธ์ สรุปใจความสำคัญ คือ ให้เร่ง อำเภอบา้ นสรา้ ง จงั หวดั ปราจนี บรุ ี มาทดลองใชท้ ี่ ระบายนำ้ จากแมน่ ำ้ ปากพนงั ออกทางคลองธรรมชาต ิ โครงการพัฒนาพ้ืนทีล่ ่มุ นำ้ ปากพนงั ฯ ด้วย ไปออกทะเลอีกด้านหนึ่ง พร้อมทั้งเร่งดำเนินการ พระราชดำรัสคร้ังล่าสุดในการแก้ไขปัญหา ขุดลอกคลองชะอวด - แพรกเมืองให้แล้วเสร็จ น้ำท่วมและน้ำเน่าเสียในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนัง โดยเร็ว และให้พิจารณาก่อสร้างอาคารบังคับน้ำ ได้พระราชทานเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน เพ่ือควบคุมระดับน้ำในป่าพรุควนเคร็งให้อยู่ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ ระหว่างเสด็จพระราชดำเนินไปยัง ระดับทเี่ หมาะสม เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดไฟปา่ โ ค ร ง ก า ร ป ลู ก ป่ า ถ า ว ร เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ข อ ง 37

ประตรู ะบายนำ้ อทุ กวภิ าชประสทิ ธิ จดุ เรม่ิ ตน้ แหง่ โครงการพฒั นา พน้ื ทล่ี มุ่ นำ้ ปากพนงั อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ประตรู ะบายนำ้ ฉกุ เฉนิ 38

จากแนวพระราชดำริ สู่ โครงการพัฒนา บรรเทาปญั หาซบั ซอ้ นให้คล่คี ลาย แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ ประสิทธิภาพอย่างเหมาะสมและทั่วถึงทุกพื้นที่ พระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานให้ดำเนินโครงการ ประกอบด้วยงานก่อสร้างประตูระบายน้ำ พัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้ำปากพนังตามวาระและโอกาส อุทกวิภาชประสิทธิ เพ่ือแยกน้ำเค็มและน้ำจืด ต่างๆ ดังท่ีกล่าวมาตลอดระยะเวลากว่า ๒๐ ปี บรเิ วณแมน่ ำ้ ปากพนัง งานกอ่ สร้างคันแบ่งเขต แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระราชปณธิ านอนั แนว่ แนใ่ นการ น้ำเค็มและน้ำจืดระยะทาง ๙๑.๕ กิโลเมตร แก้ปัญหาความเดือดร้อนของชาวปากพนัง เพ่ือแบ่งเขตการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับ ทรงเข้าพระราชหฤทัยถึงความซับซ้อนของปัญหา สภาพน้ำในพ้ืนท่ี งานก่อสร้างระบบระบายน้ำ จึงก่อเกิดเป็นโครงการพัฒนาท่ีครอบคลุม สายหลักพร้อมอาคารประกอบ เพื่อแก้ปัญหา และครบถ้วนทุกกระบวนการ ต้ังแต่การแก้ไข น้ำท่วมท่ีเกิดข้ึนในลุ่มน้ำปากพนังและงาน ปั ญ ห า น้ ำ ท่ ว ม ปั ญ ห า ก า ร ข า ด แ ค ล น น้ ำ ก่อสร้างระบบชลประทาน เพ่ือส่งน้ำสำหรับ การปรับปรุงคุณภาพน้ำ ไปจนถึงการจัดระบบ การเกษตรใหเ้ ขา้ ถงึ และทว่ั ถงึ พน้ื ท่ี ๕๒๑,๕๐๐ ไร่ การบริหารจัดการน้ำท่ีมีประสิทธิภาพ ด้วยการ ในลมุ่ น้ำปากพนัง ส ร้ า ง ร ะ บ บ ก า ร จั ด ส ร ร แ ล ะ เ ก็ บ กั ก น้ ำ ที่ มี คลองชะอวด - แพรกเมอื ง 39

“…แมว้ า่ ประตนู ้ำอนั เดยี วนจ้ี ะไมแ่ ก้ไขปญั หาท้งั หมด เม๒ต๐ร แตจ่ ะตอ้ งสร้างหรอื ทำโครงการต่อเน่ือง... แต่ถา้ หากวา่ เป็นจุดเรม่ิ ต้นของการแก้ปญั หาทัง้ หลาย ซง่ึ แตก่ อ่ นน้ีการแกไ้ ขปัญหาต่างคนต่างทำ ต่างฝ่ายต่างทำ จุดเรมิ่ ไม่มี ตอนน้ีถ้าสรา้ งประตูนำ้ เสรจ็ ... จากอนั นจ้ี ะทำอะไรๆ ไดท้ กุ อยา่ งและแยกออกมาเปน็ โครงการ...” พระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั พระราชทานแก ่ คณะกรรมการบรหิ ารโครงการพัฒนาพ้นื ท่ีลมุ่ นำ้ ปากพนงั อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ ณ พระตำหนักทกั ษณิ ราชนเิ วศน์ จ ังหวดั นราธวิ าส เมื่อวันท่ี ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ปอรุทะตกูรวะบภิ าายชนปำ้ ระสิทธิ “ประตูระบายน้ำปากพนัง” ซึ่งถือเป็นกุญแจสำคัญที่ไขไปสู่การ แกป้ ญั หาตา่ งๆ เรมิ่ กอ่ สรา้ งเมอื่ วนั ที่ ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ทบ่ี า้ นบางป ้ี ตำบลหลู ่อง อำเภอปากพนัง เป็นประตรู ะบายนำ้ หลกั ทปี่ อ้ งกนั ไมใ่ ห้น้ำเคม็ ทางด้านอ่าวปากพนังรุกล้ำเข้ามาในแม่น้ำปากพนังได้อย่างส้ินเชิง โดยเฉพาะในช่วงฤดแู ล้ง “ประตูระบายน้ำปากพนัง” มีลักษณะเดียวกับประตูระบายน้ำท่ัวไป โครงสร้างของอาคารทำจากคอนกรีตเสริมเหล็ก มีช่องระบายน้ำเป็นช่อง ส่ีเหล่ียมผืนผ้า แต่เน่ืองจากต้องทำหน้าที่ทั้งป้องกันน้ำทะเลไม่ให้ไหลย้อน เขา้ ไปในแม่นำ้ ปากพนังและระบายน้ำหลากสู่ทะเลในช่วงฤดฝู น เพื่อความ สะดวกในการเปิด - ปิดบานระบาย จึงกำหนดให้เป็นบานระบายแบบ Vertical Fixed Wheel Gate ซึ่งจะมที ้ังบานคู่และบานเดีย่ ว รวม ๑๐ ชอ่ ง ความกว้างช่องละ ๒๐ เมตร มีการติดต้ังบานประตู ปิด - เปิด เพอื่ บังคับน้ำ มีประสิทธิภาพในการระบายน้ำไดถ้ งึ ๑,๔๓๐ ลูกบาศก์เมตร ต่อวินาที พร้อมก่อสร้างคลองลัด บันไดปลาและทางปลาลอด ประต ู เรอื สญั จร อา่ งน้ำสะพานหก อาคารควบคุมระยะไกล และอาคารโทรมาตร เพ่อื เพ่มิ พูนประสทิ ธิภาพของโครงการ เม่ือเสร็จสมบูรณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนาม ประตูระบายน้ำแห่งน้ีว่า “อุทกวิภาชประสิทธิ” อันหมายถึง “ประตู ระบายน้ำที่ให้ประสบความสำเร็จในการแยกน้ำ” และเร่ิมเปิดใช้งาน ตั้งแต่วันท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นต้นมา 40

เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร เม๒ต๐ร พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ได้พระราชทานนามประตรู ะบายน้ำแห่งนวี้ ่า “อทุ กวภิ าชประสิทธ”ิ อันหมายถงึ “ประตรู ะบายน้ำทใ่ี ห้ประสบความสำเร็จในการแยกนำ้ ” 41

แนวคนั แบง่ เขต นำ้ เค็มและนำ้ จดื ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๔๓ เริ่มดำเนินการ ตลอดจนง่ายตอ่ การควบคมุ ปญั หานำ้ เน่าเสีย ก่อสร้างแนวคันแบ่งเขตน้ำเค็มและน้ำจืด แนวคันแบ่งเขตน้ีกำหนดใช้แนวถนนเดิม เพื่อขจัดปัญหาความขัดแย้งของราษฎรในพ้ืนท่ ี ของสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ท่ีต้องการใชน้ ้ำทมี่ ีคณุ ภาพต่างกนั กรมทางหลวง กรมโยธาธิการ เป็นหลัก และ แนวคันแบ่งเขตน้ำเค็มและน้ำจืด รพช. ได้ดำเนินการก่อสร้างเพ่ิมเติมอีกประมาณ อยู่ห่างจากชายทะเลประมาณ ๓ - ๕ กิโลเมตร ๕ กิโลเมตร โดยมีอาคารบังคับคันน้ำตามแนว ความยาว ๙๑.๕ กิโลเมตร เพ่ือแบ่งเขต ก้ันน้ำ ซึ่งการกำหนดแนวคันแบ่งเขตการใช้ การประกอบอาชีพของประชาชนอย่างชัดเจน ประโยชนค์ ณุ ภาพนำ้ ทำการเกษตรทแี่ ตกตา่ งกนั น้ี ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ี ลดปัญหา กำหนดโดยราษฎรในพื้นท่ีเอง โดยผู้ที่มีพ้ืนที่ ความขัดแย้งเร่ืองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อยู่ในเขตการใช้น้ำประเภทใด จำเป็นต้อง ĐĖğăĐāĆĎĄåĆĘ Ę ĠĎĈĄøēĈěĄāâě ĐĖğăĐğĄĚĐèüåĆċĆĘûĆĆĄĆĕë ĐĕŇ ĊþĕâāüĔè ĐĖğăĐāĆēāĆĎĄ ĐĖğăĐþĕâāüèĔ ĐĖğăĐĆĐŇ üāýė ĈĜ ąŋ ĐĖğăĐğëąĘ ĆĢĎîŇ ĐĖğăĐğêĈĄė āĆēğâąĘ Ćøė ĐĖğăĐéěďĕăĆöŋ ĐĖğăĐĎĔĊģúĆ ĐĕŇ Ċģúą ĐĖğăĐëēĐĊ÷ éĔèĎĊ÷Ĕ üåĆċĆûĘ ĆĆĄĆĕëéèĔ ĎĊ÷Ĕ čèãĈĕ แนวคันแบ่งเขตน้ำเคม็ และน้ำจดื éĔèĎĊĔ÷øĆèĔ ĐŇĕèğâýĦ üĖĨ éèĔ ĎĊ÷Ĕ āĔúĈěè ĎĊň ąüĨĖĢč ĐĖğăĐåĊüãüüě ĐĖğăĐĆēġü÷ ĐĖğăĐþĕł āēąĐĄ úēğĈüňĐą แผนทแี่ สดงแนวคนั แบง่ เขตนำ้ เคม็ และนำ้ จดื เพอื่ แบง่ เขตการประกอบอาชพี ของประชาชน ตามความเหมาะสมของพน้ื ที่ ลดปญั หาความขดั แยง้ เรอ่ื งการใชท้ รพั ยากรธรรมชาต ิ 42

ปรับเปลี่ยนการประกอบอาชีพให้สอดคล้อง แนวพระราชดำริเรื่องการแบ่งเขตพื้นท่ ี กับการใช้น้ำในพื้นท่ีน้ันด้วย ด้วยเหตุน้ีผู้ทำ การใช้น้ำอย่างชัดเจนนี้เอง ได้คล่ีคลายปม นากุ้งกุลาดำเดิมซึ่งอยู่ในเขตน้ำจืด จึงต้อง ปัญหาทับซ้อนที่ส่ังสมมาอย่างยาวนานลงได้ ปรับเปล่ียนอาชีพไปทำการเกษตรท่ีต้องใช้น้ำจืด อย่างละมุนละม่อม ทำให้เกษตรกรท่ีเคยขัดแย้ง เช่น การทำนา การทำสวน การทำการเกษตร หันหน้าเข้าหากัน ช่วยเหลือ แบ่งปัน และได้อยู่ ผสมผสาน หรือเปลี่ยนไปเล้ยี งกงุ้ ขาวน้ำจดื แทน ร่วมกนั อย่างถอ้ ยทีถอ้ ยอาศัย นากงุ้ อาชพี หลกั ของเกษตรกรทอี่ ยใู่ นเขตพน้ื ทนี่ ำ้ เคม็ คลองชลประทานสง่ นำ้ สเู่ รอื กสวน ไรน่ า สำหรบั การทำการเกษตรในเขตพน้ื ทน่ี ำ้ จดื 43

ระบบระบายนำ้ สายหลกั พรอ้ มอาคารประกอบ เริ่มก่อสร้างใน พ.ศ. ๒๕๔๒ เพ่ือเสริมประสิทธิภาพการระบายน้ำออกสู่ทะเลด้วยการขุดลอก และขยายคลองระบายนำ้ สายเดมิ ใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ยง่ิ ขน้ึ ๒ สาย กอ่ สรา้ งคลองระบายนำ้ เพมิ่ เตมิ ๓ สาย ตลอดจนก่อสร้างประตูระบายน้ำใหม่อีก ๖ แห่ง เพ่ือให้การบริหารจัดการการระบายน้ำ เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ประกอบดว้ ย การขดุ ลอก ขยาย คลองระบายนำ้ กอ่ สรา้ งประตรู ะบายนำ้ ใหม่ ๖ แหง่ เพ่ือลดทอนปัญหาน้ำซึ่งมีปริมาณมาก ประตรู ะบายนำ้ คลองฉกุ เฉนิ เกินกว่าความสามารถในการระบายน้ำของประตู ชนดิ บานตรง สงู ๕.๒๕ เมตร กวา้ ง ๑๒ เมตร ระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิในช่วงฤดูน้ำหลาก จำนวน ๔ บาน ระบายนำ้ ไดส้ งู สดุ จนก่อให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังพื้นท่ีทำกินทุกปี ๒๑๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าท ี ประกอบดว้ ย ประตรู ะบายนำ้ คลองลดั การขุดลอก - ขยายคลองระบายน้ำที่ม ี ชนดิ บานตรง สูง ๕ เมตร อำเภอปากพนงั อยู่เดิม ๒ สาย สายแรก ได้แก่ คลองบางโด - กว้าง ๖ เมตร จำนวน ๔ บาน ท่าพญา คลองบ้านเพิง คลองบางไทรปก ระบายน้ำได้สงู สดุ และคลองระบายน้ำท่ีมีอยู่เดิม ๔ สาย ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที มีความยาวรวมกันประมาณ ๓๓ กิโลเมตร ประตรู ะบายนำ้ ทา่ พญา ก้นคลองกวา้ ง ๒๐ เมตร ลึก ๓ เมตร ชนดิ บานตรง สงู ๖ เมตร กวา้ ง ๕ เมตร จำนวน สว่ นอกี สาย ไดแ้ ก่ คลองระบายนำ้ หวั ไทร ๓ บาน ระบายน้ำได้สูงสุด ๑๓๐ ลูกบาศก์เมตร ขนาดก้นคลองกว้าง ๓๐ เมตร ลึก ๔ เมตร ตอ่ วนิ าที ความยาวตลอดสายประมาณ ๔๘.๖ กโิ ลเมตร ประตรู ะบายนำ้ คลองหนา้ โกฏ ิ ชนดิ บานตรง สงู ๙ เมตร กวา้ ง ๒๐ เมตร จำนวน ขดุ คลองระบายนำ้ สายใหม่ ๓ สาย ไดแ้ ก่ ๕ บาน ระบายน้ำได้สูงสุด ๒๕๐ ลูกบาศก์เมตร คลองระบายน้ำฉุกเฉิน บรเิ วณประตอู ทุ ก ตอ่ วนิ าท ี วภิ าชประสทิ ธิ มคี วามยาวประมาณ ๕ กโิ ลเมตร ประตรู ะบายนำ้ คลองปากพนงั (เสอื หงึ ) มขี นาดกน้ คลองกวา้ ง ๕๖ เมตร และลกึ ๓.๕ เมตร ชนิดบานตรง สูง ๗.๒๕ เมตร กว้าง ๑๒ เมตร คลองหน้าโกฏิ มีความยาวประมาณ ๗.๕ จำนวน ๓ บาน ระบายน้ำได้สูงสุด ๓๕๐ ลูกบาศก์ กิโลเมตร ขนาดก้นคลองกว้าง ๑๐๐ เมตร เมตรตอ่ วนิ าที ลกึ ๓.๕ เมตร ประตรู ะบายนำ้ ชะอวด - แพรกเมอื ง คลองชะอวด - แพรกเมือง มีความยาว ชนิดบานตรง สูง ๗ เมตร กว้าง ๑๒.๕ เมตร ประมาณ ๒๖ กิโลเมตร ขนาดก้นคลองกว้าง จำนวน ๕ บาน ระบายน้ำได้สูงสุด ๕๔๐ ๑๕๐ เมตร ลกึ ๕ เมตร ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าท ี 44

อำเภอชะอวด ประตรู ะบายนำ้ อทุ กวิภาชประสิทธิ มีบานระบายนำ้ ๑๐ บาน กว้างชอ่ งละ ๒๐ เมตร 45 ระบายน้ำได้ ๑,๔๓๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาท ี ประตรู ะบายน้ำคลองลดั มีบานระบายนำ้ ๔ บาน กวา้ ง ๖ เมตร สูง ๕ เมตร ระบายนำ้ ได้ ๑๐๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาท ี ประตรู ะบายน้ำฉุกเฉิน มบี านระบายนำ้ ๔ บาน กวา้ ง ๑๒ เมตร สงู ๕.๒๕ เมตร ระบายน้ำได้ ๒๑๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาท ี ประตูระบายน้ำทา่ พญา มบี านระบายนำ้ ๓ บาน กวา้ ง ๕ เมตร สงู ๖ เมตร ระบายนำ้ ได้ ๑๓๐ ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนิ าท ี ประตูระบายนำ้ คลองหนา้ โกฏิ มบี านระบายนำ้ ๕ บาน กวา้ ง ๒๐ เมตร สงู ๙ เมตร ระบายนำ้ ได้ ๒๕๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าท ี ประตูระบายนำ้ เสอื หงึ มบี านระบายนำ้ ๓ บาน กว้าง ๑๒ เมตร สูง ๗.๒๕ เมตร ระบายนำ้ ได้ ๓๕๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาท ี ประตรู ะบายน้ำชะอวด - แพรกเมอื ง มบี านระบายนำ้ ๕ บาน กวา้ ง ๑๒.๕ เมตร สงู ๗ เมตร ระบายนำ้ ได้ ๕๔๐ ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าที

ชระลบปบ ระทาน éèĔ ĎĊĔ÷øĆèĔ ĐĖğăĐāĆĎĄåĘĆĘ ĐĖğăĐğĄĐĚ èüåĆċĆûĘ ĆĆĄĆĕë การกอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ ระบบชลประทาน ĐĖğăĐāĆēāĆĎĄ ใ น โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ ำ ป า ก พ นั ง ĐĖğăĐĆĐŇ üāėýĜĈąŋ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริเพ่ือจัดสรรและ บริหารจัดการการใช้น้ำของเกษตรกรในลุ่มน้ำ ĐĖğăĐéěďĕăĆöŋ ปากพนังครอบคลุมพ้ืนท่ี ๕๒๑,๕๐๐ ไร่ มีการ ก่อสร้างทั้งระบบชลประทานน้ำเค็มบริเวณ ĐĕŇ èğâýĦ üĖĨ ĎĊň ąüĨĖĢč พื้นท่ีชายฝั่ง และก่อสร้างระบบชลประทาน āĚĨüúĘëħ ĈþĆēúĕüüåė ĄåĊüãüüě น้ำจืด โดยได้ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้าง ĐĖğăĐþĕł āēąĐĄ พนื้ ฐานหลกั แลว้ เสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกอบดว้ ย โครงการปรับปรุงระบบชลประทานของโครงการ สง่ นำ้ และการบำรงุ รกั ษา ๔๘๐,๐๐๐ ไร่ แบง่ เปน็ ระบบส่งน้ำแบบสูบน้ำด้วยเคร่ืองสูบน้ำขนาดเล็ก ของเกษตรกร และระบบส่งน้ำด้วยเคร่ืองสูบน้ำ ขนาดใหญ่ของกรมชลประทาน และการก่อสร้าง ร ะ บ บ ช ล ป ร ะ ท า น ท้ า ย ฝ า ย ค ล อ ง ไ ม้ เ สี ย บ ส่วนขยาย โดยก่อสร้างคลองส่งน้ำแบบ เหมืองฝายใหแ้ กพ่ ืน้ ที่ ๒๔,๐๐๐ ไร่ (ซึง่ ขยายจาก ระบบชลประทานฝายไม้เสียบเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ๓๕,๐๐๐ ไร่) และโครงการก่อสร้างระบบ ชลประทานทา้ ยอา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยนำ้ ใส โดยกอ่ สรา้ ง คลองส่งน้ำให้นิคมสร้างตนเองควนขนุนพื้นที่ ๑๗,๕๐๐ ไร่ ท้ังน้ีเพื่อให้เกษตรกรในทุกพ้ืนท ี่ มีน้ำใชอ้ ยา่ งท่ัวถึง ระบบการจดั สรร การเกบ็ กกั นำ้ และการระบายนำ้ ในโครงการพฒั นาพนื้ ทลี่ มุ่ นำ้ ปากพนงั อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำร ิ ประกอบดว้ ย ประตรู ะบายนำ้ คนั แบง่ เขตนำ้ เคม็ และนำ้ จดื เและ ระบบชลประทาน เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการบรหิ ารจดั การนำ้ 46

ĐĕŇ ĊþĕâāüèĔ ĠĎĈĄøēĈĄě āâě ĐĖğăĐþĕâāüĔè þĆēøĜĆēýĕąüĨĖĐěúâĊăė ĕëþĆēčėúûė åĈĐèĈĔ÷ĠĈēþĆēøĆĜ ēýĕąüĖĨ Ï ÑÐ åĈĐèêâě ğêėüĠĈēþĆēøĜĆēýĕąüĖĨ āĨĚüúħëĘ ĈþĆēúĕüĆēýýčĜýüĖĨ Ò þĆēøĜĆēýĕąüĨĖúĕŇ āîĕ ÷Ċň ąğåĆħĚĐèčĜýüĨĖãüĕ÷ğĈâĦ Ó åĈĐèĎüĕň ġâñėĠĈēþĆēøĆĜ ēýĕąüĨĖ ĐĖğăĐğëĘąĆĢĎîŇ Ô þĆēøĜĆēýĕąüĨĖåĈĐèþĕâāüèĔ  ğčĚĐĎęè ĐĖğăĐğêĈėĄāĆēğâĘąĆøė āüĨĚ úëĘħ ĈþĆēúĕüĆēýýčýĜ üĖĨ ÷Ċň ąğåĆĐĚħ èčĜýüĨĖãüĕ÷ĢĎîŇ ĐĖğăĐĎĔĊģúĆ Õ åĈĐèëēĐĊ÷ĠāĆâğĄĐĚ èĠĈēþĆēøĜĆēýĕąüĖĨ ĐĖğăĐëēĐĊ÷ āĚüĨ úĘëħ ĈþĆēúĕü āĆåě ĊüğåĆĦè éĔèĎĊ÷Ĕ čèãĈĕ åüĔ ĠýèŇ ğãøüĨĖğåĦĄüĨĖéĚ÷ ĀĕąåĈĐèģĄňğčĘąý éĔèĎĊĔ÷üåĆċĆûĘ ĆĆĄĆĕë ĐĖğăĐĆēġü÷ ğ÷Ąė āĚüĨ úĘëħ ĈþĆēúĕü ĀĕąåĈĐèģĄğň čĘąý ãąĕą éèĔ ĎĊĔ÷āĔúĈèě 47 ĐĖğăĐåĊüãüüě úēğĈüĐň ą

การบริหารจัดการน้ำ กกั น้ำจดื กันน้ำเค็ม ปอ้ งกันน้ำทว่ ม บรรเทาน้ำแล้ง ควบคมุ น้ำไดด้ ังประสงค์ หัวใจสำคัญของโครงการ คือ การบริหาร สร้างระบบป้องกันน้ำเค็มบุกรุก และสร้าง จัดการเปิด - ปิดประตูระบายน้ำตามแนว ระบบส่งน้ำจืดช่วยเหลือพ้ืนที่เกษตรกรรม พระราชดำริบริเวณชายฝั่ง โดยเฉพาะอย่างย่ิง และเพ่ือการอุปโภคบริโภค พร้อมกับนำ ประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิ ภายใต้หลัก เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการบริหารจัดการ “๔ น้ำ ๓ รส” อันเป็นแนวคิดพระราชทาน และการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์น้ำในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาเร่ืองน้ำ ความหมายของ ๔ น้ำ อย่างใกล้ชิด สามารถแจ้งเตือนราษฎรได้อย่าง คือ น้ำแล้ง น้ำท่วม น้ำเค็ม และน้ำเปรี้ยว ทันท่วงที เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำเกิดความ ส่วน ๓ รส ได้แก่ รสจืด รสเปร้ียว รสเค็ม โดยมี สมดุล เหมาะสม ในแต่ละพื้นท่ี แต่ละช่วงเวลา หลักการสำคัญ คือ การก่อสร้างระบบแยกน้ำ และสอดคล้องกับความต้องการน้ำของประชาชน ๓ รส ออกจากกนั คอื สรา้ งระบบปอ้ งกนั นำ้ เปรยี้ ว คล่คี ลายปมปัญหาความขดั แยง้ จากพรุที่ทำให้พื้นท่ีเกษตรกรรมเป็นกรด 48

เกบ็ กกั นำ้ จดื ยามหน้าแล้ง ชว่ งฤดแู ลง้ (เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ - สงิ หาคม) ๑. นำ้ ทเ่ี กบ็ กกั ในแมน่ ำ้ ปากพนงั ดา้ นเหนอื เน้นการบริหารจัดการน้ำเพ่ือเก็บกักน้ำไว้ใช้ ของประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิซึ่ง โดยเมื่อระดับน้ำของแม่น้ำปากพนังในช่วง เกบ็ กักไดป้ ระมาณ ๖.๙๕ ลา้ นลกู บาศก์เมตร ปลายฤดูฝนท่ีบริเวณประตูระบายน้ำอุทกวิภาช ๒.น้ำท่าในฤดูแล้งซ่ึงเป็นน้ำตาม ประสิทธิลดลงอยู่ในเกณฑ์ท่ีกำหนด จะปิด ธรรมชาติที่ไหลเข้ามาเติมในลำน้ำปากพนัง บ า นป ระตูระบ า ยน้ำ อุทกวิภ า ช ป ระสิทธิ ซ่ึงจะผันแปรไปในแต่ละปี เพ่ือเก็บกักน้ำไว้ใช้เพ่ือการเพาะปลูก การอุปโภค ๓. ปริมาณน้ำจากอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส บริโภคในฤดูแล้ง และป้องกันน้ำเค็มรุกล้ำ ซ่ึงเป็นอ่างเก็บน้ำท่ีมีความจุ ๘๐ ล้าน โดยจะมีนำ้ ใช้ในช่วงฤดแู ลง้ จาก ๓ แหล่ง คอื ลูกบาศกเ์ มตร พร้อมทั้งได้กำหนดเกณฑ์ในการจัดสรรน้ำ อย่างเหมาะสมเพ่ือให้มีน้ำใช้อย่างเพียงพอ ตลอดชว่ งฤดแู ลง้ 49

บรรเทานำ้ ทว่ ม ยามนำ้ มาก ในช่วงฤดูฝนเป็นช่วงน้ำมากและเส่ยี งต่ออทุ กภัย จะต้องเน้นการบรหิ ารจดั การนำ้ เพ่อื ประสทิ ธภิ าพในการระบายน้ำสูงสดุ โดยแบง่ เป็นชว่ งต่างๆ ชว่ งต้นฤดฝู น (เดอื นกนั ยายน - ตลุ าคม) ชว่ งฤดฝู น (เดือนพฤศจิกายน) ปริมาณน้ำเร่ิมมาก ความต้องการใช้น้ำ เมื่อฝนเร่ิมตกชุก เกิดภาวะน้ำล้นตล่ิง มีน้อย จะต้องทำการพร่องน้ำในแม่น้ำ ระดับน้ำเหนือประตูระบายน้ำอุทกวิภาช ปากพนังและลำน้ำสาขาโดยเปิดประตู ประสทิ ธสิ งู ขน้ึ เกนิ กวา่ ระดบั มาตรฐาน จะตอ้ ง ระบายน้ำต่างๆ บริเวณชายฝ่ังทะเลเพ่ือ เร่งระบายน้ำออกเพ่ือบรรเทาปัญหาอุทกภัย รองรับปริมาณน้ำหลากที่จะเกิดข้ึน และฟื้น โดยเปิดบานระบายน้ำทั้งหมดตลอดเวลา นิเวศน้ำกร่อยให้อยู่ในบริเวณท่ีเหมาะสม รวมทั้งพิจารณาเปิดประตูระบายน้ำฉุกเฉิน อีกทั้งเป็นการชะล้างความสกปรกท่ีสะสม เพ่ือให้สามารถระบายน้ำได้สูงสุด ทั้งน้ี ในพ้ืนที่มาตลอดช่วงฤดูแล้ง หากมีน้ำเปรี้ยว ในชว่ งทน่ี ำ้ ทะเลขน้ึ สงู กวา่ ระดบั นำ้ เหนอื ประตู จากพรุควนเคร็งแพร่ออกมา จะเร่งระบาย ระบายน้ำทั้งสอง ก็จะปิดบานเพื่อไม่ให ้ น้ำเปร้ียวออกสู่ทะเลทางประตูระบายน้ำ น้ำทะเลไหลย้อนเข้ามาหนุนทำให้น้ำท่วม แพรกเมืองหรือประตูระบายน้ำฉุกเฉิน มากขน้ึ เพ่ือไม่ให้ไหลผ่านเขตชุมชนเมืองโดยรักษา ระดับน้ำที่เหนือประตูระบายน้ำอุทกวิภาช ช่วงปลายฤดฝู น (เดือนธันวาคม) ประสิทธิให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีกำหนด ซึ่งจะ เมื่อระดับน้ำเหนือประตูระบายน้ำ สามารถรับน้ำได้เต็มท่ีประมาณ ๖.๙๕ อุทกวิภาชประสิทธิลดลงใกล้สู่ระดับที่ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยไม่ทำให้น้ำเค็มรุกล้ำ กำหนดซ่ึงเป็นระดับเก็บกักสูงสุด จะทำการ ปิดบานเด่ียว และระบายน้ำส่วนที่เกิน ไปทางด้านเหนอื ของประตูระบายน้ำ โดยการปรับบานคู่เท่านั้น และจะเร่ิมปิด บ า น ทุ ก บ า น เ ม่ื อ ร ะ ดั บ น้ ำ อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ ์ ทกี่ ำหนดแล้ว เพอื่ เก็บกกั นำ้ ไวใ้ ช้ในฤดูแล้ง 50

“ตรดิ ะตบงั้ บโ ทรมาตร” สำหรบั การบรรเทาน้ำท่วม ด้านท้ายประตูระบายน้ำอทุ กวิภาชประสทิ ธิ เพื่อจดั การนำ้ หากระดับน้ำทะเลข้ึนถึงระดับที่ต้อง เฝ้าระวัง จะเร่ิมเปิดบานประตูระบายน้ำ อุทกวิภาชประสิทธิ (บานคู่ก่อน) เพ่ือให้น้ำ นอกจากน้ีกรมชลประทานยังได้นำ ทะเลจากอ่าวปากพนังไหลเข้ามายังแม่น้ำ เทคโนโลยีการตรวจวัดจัดเก็บข้อมูล ณ ปากพนัง เพื่อลดระดับน้ำท่วมท้ายน้ำลง เวลาจริง ในระยะไกล และระบบพยากรณน์ ำ้ หากน้ำยังข้ึนอย่างต่อเนื่องจะเปิดบานเดี่ยว ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีชั้นสูง เรียกว่า “ระบบ เสริม พร้อมเปิดบานประตูระบายน้ำฉุกเฉิน โทรมาตรเพ่ือบริหารจัดการน้ำ” มาช่วย เพ่ือระบายน้ำทะเลกลับออกไปทางคลอง ตัดสินใจเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการน้ำ โดยได้ดำเนินการวางระบบและติดตั้งระบบ ฉุกเฉนิ ด้วย หลังจากที่ปริมาณฝนเริ่มลดลงแล้ว โทรมาตรเพื่อพยากรณ์น้ำและเตือนภัย จะเร่ิมปิดบานประตูระบายน้ำบริเวณชายฝั่ง ลุ่มน้ำปากพนังเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ แล้วเสร็จ ทะเลทุกแห่ง เพ่ือเก็บน้ำไว้ในพ้ืนที่เพื่อใช้ ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อใช้ประโยชน์ในการ จัดการน้ำเพ่ือการเกษตร อุปโภค - บริโภค ในฤดแู ล้งตอ่ ไป บรรเทาอุทกภัยและลดความเสียหาย สำหรับในพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมสว่ นย่อย จากน้ำท่วม โดยจะส่งข้อมูลสถานการณ์น้ำ เน้นการบริหารจัดการประตูระบายน้ำ จากสถานีสนามซึ่งตั้งอยู่ตามจุดต่างๆ ของ ในพื้นที่เพื่อควบคุมระดับน้ำและปริมาณน้ำ ลุ่ ม น้ ำ ป า ก พ นั ง ร ว ม ๑ ๗ ส ถ า นี ม า ยั ง สำหรับการจัดสรรน้ำไปใช้ประโยชน์ โดย สถานีหลักทุกๆ ๑๕ นาที พร้อมทั้งมีระบบ ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของราษฎร พยากรณ์น้ำซึ่งสามารถคาดการณ์สภาพน้ำ ในพ้ืนที่ เพื่อทำการตกลงแบ่งปันการใช้ ของลุ่มน้ำปากพนังได้ล่วงหน้า ๓ - ๗ วัน ทรัพยากรน้ำร่วมกันอย่างเอ้ืออาทรและ และมีการเช่ือมโยงข้อมูลมาท่ีศูนย์โทรมาตร สมประโยชน์ในแต่ละช่วงเวลา เพ่ือไม่ให ้ เพื่อบริหารจัดการน้ำที่กรมชลประทาน กรุงเทพมหานครอกี ดว้ ย เกดิ ความขัดแยง้ 51

พลกิ ฟน้ื แผ่นดนิ เพ่ือประโยชน์สขุ ชาวประชา ด้วยพระปรีชาสามารถด้านการพัฒนา ไหลเวียนของน้ำในคลองสายหลักดีข้ึน ประกอบ และพระวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของพระบาท กับการบริหารจัดการประตูระบายน้ำอุทกวิภาช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังผลให้โครงการพัฒนา ประสิทธิ และประตูระบายน้ำฉุกเฉิน ได้ช่วย พ้ืนท่ีลุ่มน้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดำร ิ บรรเทาปัญหาอุทกภัยในพ้ืนที่ให้ลดลงอย่างมาก สัมฤทธ์ิผลในการบริหารจัดการน้ำได้อย่างมี โดยสามารถคล่ีคลายทั้งระดับน้ำและระยะเวลา ประสิทธิภาพ ท้ังการป้องกันการรุกตัวของ การท่วมให้สั้นลง เนื่องจากสามารถระบายน้ำ น้ำเค็ม การกักเก็บน้ำจืดไว้ใช้ การบรรเทา ออกจากพื้นท่ีได้ถึงวันละประมาณ ๑๐๐ ล้าน ปัญหาน้ำท่วมและน้ำเสีย สร้างประโยชน์สุข ลูกบาศก์เมตร หากปริมาณน้ำฝนอยู่ในเกณฑ์ ให้แก่ชาวล่มุ น้ำปากพนังอย่างรอบดา้ น ป ก ติ จ ะ ส า ม า ร ถ ร ะ บ า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ทั น ท่ ว ง ท ี ไม่ก่อให้เกิดอุทกภัย แต่หากปริมาณน้ำฝน คณุ ภาพนำ้ ดพี อ มากเกินกว่าปกติจะสามารถระบายน้ำท่วมขัง การบรหิ ารจดั การปดิ - เปดิ ประตรู ะบายนำ้ จากเดิมที่เคยท่วมลึกประมาณ ๑.๕ เมตร อุทกวิภาชประสิทธิ และการรักษาระดับน้ำ เหลือเพียงประมาณ ๐.๕ - ๑ เมตร และจากท่ี ในแม่น้ำปากพนังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เคยท่วมนาน ๑ - ๒ เดือน เหลือเพียง ๒๐ วัน ทำให้น้ำในแม่น้ำปากพนังมีคุณภาพดีขึ้น เท่านั้น ช่วยลดระดับ ร่นระยะเวลา บรรเทา เป็นน้ำจืดท่ีเหมาะสมแก่การเกษตรและการ ปัญหา ลดความเสียหายแก่พื้นที่เกษตรกรรม อุปโภค สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลน และแหล่งชุมชนเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ น้ำดิบสำหรับทำน้ำประปาซึ่งเคยมีปัญหา ประชาชนสามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติสุขได้ น้ำประปามีรสกร่อยและมีกล่ินในฤดูแล้ง ในเวลาอนั รวดเร็ว ใหห้ มดไปได้ นำ้ เปรีย้ วลดลง ป้องกันน้ำเคม็ ไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด เม่ือน้ำจืดมีมากพอ จึงสามารถปล่อยน้ำ เห็นได้อย่างชัดเจนในช่วงฤดูแล้งใน บางส่วนไปตามลำคลองสาขาลงสู่ตอนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๓ ท่ีผา่ นมา ระดบั น้ำทะเลด้านท้ายน้ำ ของพื้นท่ีป่าพรุ เพื่อป้องกันไม่ให้ดินในป่าพร ุ สูงกว่าระดับน้ำจืดด้านเหนือน้ำถึง ๒ เมตร ทำปฏิกริ ยิ ากับอากาศจนเกดิ นำ้ เปรีย้ วได ้ แต่ไม่เกิดผลกระทบใดๆ ต่อคุณภาพของน้ำจืด ด้านเหนือน้ำ ประชาชนสามารถใช้น้ำจากระบบ การขยายตัวของการทำนากุ้งในเขต โครงข่ายคูคลองในพ้ืนที่ บรรเทาปัญหาการ นำ้ เคม็ ขาดแคลนน้ำและผ่านพ้นวิกฤตรุนแรงในครั้งน้ัน ก า ร ขุ ด ล อ ก ค ล อ ง ธ ร ร ม ช า ติ ใ น พ้ื น ที่ มาได ้ น้ำเค็มและการชลประทานน้ำเค็มทำให้ราษฎร มีน้ำเค็มคุณภาพดี สำหรับใช้ในการเลี้ยงกุ้ง นำ้ ทว่ มบรรเทา และมีการขยายพื้นท่ีการทำนากุ้งในเขตน้ำเค็ม ผลจากการขุดลอกคลองธรรมชาติและ เพ่มิ ขน้ึ การกำจัดผักตบชวาในเขตน้ำจืด ช่วยให้การ 52