Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารเผยแพร่ภูมิปัญญา_เตยปาหนัน

เอกสารเผยแพร่ภูมิปัญญา_เตยปาหนัน

Description: เอกสารเผยแพร่ภูมิปัญญา_เตยปาหนัน

Search

Read the Text Version

คำ� น�ำ เตยปาหนนั เปน็ พชื ตระกลู ปาลม์ ทชี่ อบขน้ึ เปน็ กลมุ่ อยตู่ ามบรเิ วณชายหาด ใบคลา้ ยใบเตยหอม แตใ่ บเตยปาหนนั จะมหี นามรมิ ใบทงั้ 3 ดา้ น คอื ดา้ นขา้ ง 2 ขา้ ง และตรงกลางหลังใบ หากมองดูสภาพท่ัวไปของใบ ท่ีมีหนามจ�ำนวนมากคิดว่า คงจะไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์อะไรได้ แต่ด้วยภูมิปัญญาและความสามารถ ของชาวบ้าน สามารถน�ำใบเตยปาหนันมาท�ำการแปรรูปจักสาน เป็นข้าวของ เครื่องใช้ในครัวเรือนได้มากมายหลายรูปแบบ ภูมิปัญญาการจักสานเตยปาหนัน บ้านดุหุน อ.สิเกา จ.ตรัง เป็นอีกหนึ่งภูมิปัญญาท่ีได้รับการสืบทอดมาจาก บรรพบรุ ุษชาวอนิ โดนิเซีย ทอี่ พยพต้งั รกรากในระเทศไทย ทางภาคใตต้ อนลา่ ง และไดถ้ า่ ยทอดความรกู้ ารจกั สานจากรนุ่ สรู่ นุ่ จากรนุ่ ลกู สลู่ กู หลาน สบื ทอดกนั มา เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี จากการจักสานเพ่ือใช้ประโยชน์กันเองในครัวเรือน กไ็ ดม้ กี ารปรบั ปรงุ พฒั นารปู แบบสสี นั ลวดลาย ใหท้ นั ยคุ ทนั สมยั อยเู่ สมอ จนสามารถ ผลติ เป็นสนิ คา้ โอทอปที่สร้างรายได้และชอ่ื เสียงใหก้ บั ชมุ ชน กรมปา่ ไมม้ องเหน็ คณุ คา่ และความสำ� คญั ของผลติ ภณั ฑจ์ กั สาน เตยปาหนนั ทที่ างชมุ ชนไดร้ ว่ มกนั อนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดกนั มาหลายชว่ั อายคุ น ตลอดจนภมู ปิ ญั ญา ในการอนุรักษ์ต้นเตยปาหนันให้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างย่ังยืน จึงได้ ท�ำการศึกษาภูมิปัญญาของชาวบ้านในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์เตยปาหนัน เพ่ือตอ้ งการประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่องค์ความรูน้ ี้ของชมุ ชนให้สบื ทอดตอ่ ไป กรมป่าไม้ ��������.indd 1 9/11/2563 BE 2:19 PM

สารบัญ เตยปาหนัน 3 ภูมิปญญาการจกั สานผลิตภัณฑเ ตยปาหนนั 5 ภูมิปญ ญาการจกั สานผลิตภณั ฑเ ตยปาหนันบา นดุหนุ จ.ตรัง 6 ตัวอยา งผลติ ภณั ฑจ ักสานเตยปาหนันบา นดหุ ุน ต.บอหนิ อ.สเิ กา จ.ตรัง 11 เอกลักษณ / จดุ เดน ของผลิตภัณฑ 12 ภูมปิ ญญาการอนุรกั ษต นเตยปาหนันของชมุ ชน 12 รายชือ่ คณะกรรมการกลมุ จักสานเตยปาหนัน บา นดุหุน จ.ตรงั 14 รางวัลที่ทางกลุม จักสานเตยปาหนนั บา นดุหุนเคยไดร บั 15

เตยปาหนัน ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Pandanus odorifer Forssk. Kuntze ชอ่ื สามญั : Seashore screwpine ชอ่ื วงศ : PANDANACEAE ชอื่ ทอ งถน่ิ : การะเกด ลาํ เจยี ก (ภาคกลาง) ปะหนนั , ปาแนะ (มลาย,ู นราธวิ าส) เตยทะเล ถนิ่ กาํ เนดิ : เตยปาหนนั มถี น่ิ กาํ เนดิ ทวั่ คาบสมทุ ร ในแถบเสน ศนู ยส ตู ร พบขน้ึ เปน กลุมตามชายหาด ตั้งแตห มูเกาะฟลปิ ปนส ไทย เวยี ดนาม คาบสมุทร มลายู หมเู กาะฮาวาย อนิ เดยี ออสเตรเลยี พอลนิ เี ซยี และวานอู าตู สาํ หรบั ประเทศไทย พบมากทจ่ี งั หวดั ตรงั และจงั หวดั สตลู ลกั ษณะ : เตยปาหนนั เปน พชื ตระกลู ปาลม - ลาํ ตน เปน กอและแตกกง่ิ ใบยาวเปน พมุ ขนาดเลก็ บา งใหญบ า ง ขนึ้ อยกู บั อายแุ ละสภาพดนิ สงู ประมาณ 2 - 5 เมตร โคนตน มรี ากอากาศชว ยคา้ํ จนุ ลาํ ตน - ใบ มีสเี ขยี วยาว คลา ยใบเตยหอม แตใบเตยปาหนนั จะมีหนามรมิ ใบท้งั 3 ดา น คอื ดา นขา ง 2 ขา ง และตรงกลางหลงั ใบ ใบกวา งประมาณ 10 เซนตเิ มตร ยาว 1 เมตร àμ»Ò˹ѹ 3

- ดอก ออกเปน ชอ ขนาดใหญท ปี่ ลายยอด ปลายกง่ิ หรอื ตามซอกใบ ดอกเพศผแู ละเพศเมยี จะแยกกันอยคู นละตน ดอกเพศผมู ขี นาดเล็ก และมีจาํ นวนมาก ไมม กี ลีบดอก มีกาบรองดอก สีขาวนวล 2 - 3 กาบ ดอกเพศเมียมีสีเขียว อยูติดกันเปนกลุมขนาดใหญ มีกาบรองดอก สีเขียว 2 - 3 กาบ ดอกจะบานในชวงเย็น มีกลน่ิ หอมฉนุ (ตน ทม่ี ดี อกเพศผู ชาวบา นจะเรยี ก “ตน ลาํ เจยี ก” สว นตน ทมี่ ดี อก เพศเมยี เรยี กวา “เตยทะเล”) - ผล เปนผลรวมรูปรางลักษณะคลายผลสับปะรด แตแข็งกวา ผลออน สีเขียว ผลแกเ ปลย่ี นเปน สเี หลอื ง เมอ่ื สกุ จะเปลย่ี นเปน สสี ม หรอื สม อมแดง มกี ลนิ่ หอมออ นๆ ภายในผลมเี มลด็ เปน รปู กระสวย ผลออกตลอดทง้ั ป การขยายพันธุ : โดยการเพาะเมล็ดซึง่ ตอง การแตกหนอ ออ น ใชระยะเวลานานหลายป และการแยกหนอ (ทําไดในปที่ 2) สามารถเจริญเติบโตไดดีใน ดนิ เหนียวปนทรายท่ีอมุ นํ้า ชอบแสงแดด 4 àμ»Ò˹ѹ

การนาํ มาใชป ระโยชน - ผลใชร บั ประทานได - ใบนาํ มาใชส านเสอ่ื หรอื เครอ่ื งใชป ระเภทจกั สาน - เปลอื กสามารถนาํ มาทาํ เชอื กได - นยิ มปลกู เปน ไมป ระดบั เพอื่ ตกแตง อาคารสถานท่ี หรอื ปลกู เปน รว้ั บา น การปลูกเตยปาหนนั เพ่ือเปน แนวร้วั บา นและตกแตง อาคารสถานท่ี สรรพคณุ ทางสมนุ ไพร - ชอ ดอกเพศผู จดั อยใู นตาํ รบั ยาเกสรทง้ั เกา ใชป รงุ เปน ยาหอมบาํ รงุ หวั ใจ - ราก มีรสเยน็ และหวานเลก็ นอ ยเปนยาแกพษิ โลหติ ขบั เสมหะ นาํ มาตม นา้ํ ดมื่ เพอ่ื ขบั ปส สาวะแกน วิ่ รกั ษาหนองใน แกม ตุ กดิ ระดขู าวมกี ลน่ิ เหมน็ - ผล นาํ มาหน่ั เปน ชนิ้ ๆ ผสมกับตน ตายปลายเปน ใชกรอกใหวัวกนิ ทาํ ให ววั ทเ่ี บอื่ หญา สามารถกนิ หญา ไดม ากขนึ้ ภมู ิปญ ญาการจักสานผลติ ภัณฑเตยปาหนนั ใบเตยปาหนนั เมอ่ื เทยี บกบั ใบเตยชนดิ อน่ื ๆ จะมขี นาดเลก็ มาก นอกจากใบ จะมขี นาดเลก็ แลว บรเิ วณขอบใบดา นขา งทง้ั สองดา น และเสน กลางดา นหลงั ใบยงั มี หนามจาํ นวนมาก หากมองดเู ผนิ ๆคดิ วา คงจะไมส ามารถนาํ มาใชป ระโยชนอ ะไรได แตดว ยภูมปิ ญ ญาและความสามารถของชาวบา น สามารถนําใบเตยปาหนนั มา ทาํ การแปรรปู จกั สาน เปน ขา วของเครอื่ งใชใ นครวั เรอื นไดม ากมาย / หลายรปู แบบ ราษฎรหลายจังหวดั ในภาคใตโ ดยเฉพาะอยา งยิ่ง ชาวมุสลิมท่อี าศยั อยูใน àμ»Ò˹¹Ñ 5

บริเวณพ้ืนท่ตี ิดชายฝง ทะเล เชน สตูล กระบ่ี และ ตรงั จะมภี ูมิปญ ญาในการ จกั สานเตยปาหนนั ซง่ึ เลา กนั วา เปน ภมู ปิ ญ ญาทไี่ ดร บั การถา ยทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ชาวอินโดนีเซีย ท่ีอพยพมาต้ังรกรากในประเทศไทยทางภาคใตตอนลาง ซ่ึง ภูมิประเทศดงั กลา วมลี กั ษณะสภาพพน้ื ทที่ เ่ี หมาะสมสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โตของ ตน เตยปาหนนั ทาํ ใหม ตี น เตยปาหนนั ขนึ้ อยเู ปน จาํ นวนมาก และไดน าํ ใบมาทาํ การ จกั สานเปนของใชใ นครวั เรือน เชน การสานเสอื่ ชาวมสุ ลิมในสมยั กอ นนยิ มสาน เสอ่ื เตยปาหนนั ไวส าํ หรบั ใชร องนง่ั เวลาทาํ พธิ ลี ะหมาดในสเุ หรา ใชใ นพธิ แี ตง งาน ซ่ึงในสมัยกอนคูบาวสาวท่ีจะเขาพิธีแตงงาน จะตองชวยกันสานเส่ือ เตรียมไว หลายๆ ผืนสําหรับใชปูนอนแทนที่นอนในหองหอ ตลอดจนการสานเสื่อเพ่ือไว ใชในพธิ ฝี งศพ(รองศพผตู ายกอ นจะนาํ ไปขดุ หลุมฝง ทก่ี โุ บร) นอกจากนําใบเตย ปาหนนั มาจกั สานเปน เสอื่ แลว ยงั มกี ารจกั สานเปน ขา วของเครอ่ื งใชใ นครวั เรอื นอกี หลายอยา ง เชน หมวก หมอน ขมุกยา (ใสยาเสน ใบจาก) กระสอบ (สาํ หรับใส ขาวเปลอื ก ขา วสาร ) ภมู ปิ ญ ญาการจกั สานผลติ ภณั ฑเ ตยปาหนนั บา นดหุ นุ จ.ตรงั ปาชุมชนบานดุหุน หมูที่ 3 ตําบลบอหิน อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง เปน ปา ชมุ ชนอกี ผนื หนง่ึ ทมี่ ลี กั ษณะสภาพพน้ื ทท่ี เี่ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของตน เตยปาหนัน ทาํ ใหมีตนเตยปาหนนั ขึน้ อยูมากมายกระจายอยูท ั่วพืน้ ท่ี ราษฎรใน พน้ื ทชี่ มุ ชนบา นดหุ นุ กไ็ ดร บั การถา ยทอดภมู ปิ ญ ญาการจกั สานเตยปาหนนั มาจาก บรรพบุรษุ ดว ยเชนกัน โดยเฉพาะกลุมสตรีผสู งู อายทุ ีอ่ ยกู บั บา น และกลุม สตรี ทเี่ สรจ็ สนิ้ ภารกจิ จากการกรดี ยางตอนเชา ไดใ ชเ วลาวา งในชว งบา ยใหเ กดิ ประโยชน โดยการนําใบเตยปาหนันมาแปรรูปจักสานเปนผลิตภัณฑตางๆ มากมายหลาย รูปแบบ นอกจากจกั สานไวใ ชเ องในครวั เรอื น กม็ กี ารจกั สานเพอื่ จาํ หนา ยดว ย โดย จดุ เรมิ่ ตน ของการจาํ หนา ยผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั ชมุ ชนบา นดหุ นุ เรมิ่ จาก การทม่ี พี อ คา ชาวอนิ โดนเี ซยี เดนิ ทางนาํ เรอื มาเทยี บทา ในทะเลอา วสเิ กา แลว ขน้ึ ฝง 6 àμ»Ò˹ѹ

นาํ ผา ปาเตะ (ผา ถงุ สาํ หรบั นงุ ) มาขอแลกเปลยี่ นกบั ขมกุ ยาทชี่ าวบา นจกั สานดว ย เตยปาหนันแลวนํากลับไปขายท่ปี ระเทศอินโดนเี ซยี (ขมกุ ยา ชาวบา นจกั สานไว สาํ หรบั ใชใ สใ บจากและยาเสน วสั ด-ุ อปุ กรณ สาํ หรบั ใชใ นการจกั สานเตยปาหนนั 1.ใบเตยปาหนนั สาํ หรบั ทาํ เสน ตอกจกั สาน 2.เครอื่ งรดี ใชส าํ หรบั รดี ใบเตย และเสน ตอกเตยใหแ บนเรยี บและนมิ่ 3.ไมกรีด (ยาหงาด หรือเล็บแมว) สําหรับกรีดใบเตยดิบใหเปนเสนตอก ตามขนาดทต่ี อ งการ 4.มดี ใชส าํ หรบั ตดั หนามหลงั ของใบเตยดบิ ใหเ ปน สองซกี 5.กรรไกร ใชสําหรบั ตัดเสนตอกใบเตยใหไดความยาวตามขนาดทีต่ องการ หรอื ตดั เสน ใย 6.ไมข ดู ใชส าํ หรบั ขดู รดี เสน ตอกขณะกาํ ลงั นงั่ สานใหเ รยี บ 7.ไมท บั ใชส าํ หรบั เหยยี บทบั เสน ตอกขณะนง่ั สานเปน ผนื เสอ่ื เพอ่ื ใหผ นื เสอื่ ตรงและสานไดง า ย 8.สสี าํ หรบั ยอ มเสน ตอกใหเ ปน สตี า งๆ ตามตอ งการ (ใชส สี าํ หรบั ยอ มใยพชื ) 9.เตาถา นและกระทะ สาํ หรบั ตม และยอ มสเี สน ตอกใบเตย àμ»Ò˹¹Ñ 7

การทาํ ใบเตยปาหนนั ใหเ ปน เสน ตอกสาํ หรบั สาน 1 2 1.เลือกตัดใบเตยปาหนันท่ีไมออนหรือแก 3 เกนิ ไปนาํ มามดั ใหเ ปน กาํ ตดั โคนใบและปลายใบให 4 เสมอกนั 5 6 2.นาํ ใบมากรดี เอาหนามหลังใบออก ใบเตย 7 จะแยกออกเปน สองซกี 3.นาํ ไปลนไฟใหใ บพอเรมิ่ เหยี่ ว (ทาํ ใหเ สน ใย เหนียวเปนมันเงา และชว ยปอ งกนั การเกดิ เชอื้ รา) 4.นาํ มากรดี ดว ยไมก รดี (ยา หงาด หรอื เลบ็ แมว) ตามขนาดทีต่ องการ (ใบเตย 1 ใบ สามารถกรดี ได เสน ตอกประมาณ 4 - 6 เสน ) 5.แยกหนามขางใบและเสนตอกเตยออก จากกนั จากนนั้ นาํ เสน ตอกเตยมารดี อกี ครงั้ 6.รวบรวมผูกเปนกํามัดขนาดพอประมาณ นําไปแชในน้ําธรรมดา โดยใชของหนักกดทับให ตอกเตยจมอยใู ตน า้ํ แชท งิ้ ไวป ระมาณ 2 คนื ตอกเตย จะเปลย่ี นจากสเี ขยี วเปน สขี าวเหลอื ง 7.นําตอกเตยข้ึนจากนํ้า ลา งและผึง่ แดดให แหง ประมาณ 1 วัน จะไดเ สนตอกเตยที่ตากแดด แหง แลว เปน สีขาวนวลธรรมชาติ มดั เปน กําใหม ี ขนาดและความยาวทเี่ ทา ๆ กนั เกบ็ ไวใ นทรี่ ม อากาศ ถายเทไดสะดวก พรอ มทจี่ ะนําไปใชใ นการจักสาน 8 àμ»Ò˹¹Ñ

ปจ จบุ นั สาํ นกั งานพลงั งานจงั หวดั ตรงั ไดใ หก ารสนบั สนนุ โรงอบแหง พลงั งาน แสงอาทติ ยแ บบเรือนกระจกแกช ุมชน เพ่ือความสะดวกในการตากเสนตอกเตย ปาหนัน สําหรับการจักสานผลิตภัณฑท่ีตองการใหมีสีสวยงาม สามารถทําไดโดย การนําเสน ตอกเตยทตี่ ากจนแหง ดแี ลว ไปทาํ การยอ มสี ขน้ั ตอนการยอ มสเี สน ตอกเตย 1.นําสีเคมีที่ตองการจะยอมมาผสมกับนํ้าละลายในอัตราสวนท่ีตองการ สาํ หรบั การยอ มใสใ นกระทะสาํ หรบั ยอ มสี นาํ กระทะไปตงั้ ไฟตม ใหน าํ้ เดอื ด 2.นําเสนตอกเตยแหงท่ีมัดเปนกําไปแชนํ้าใหเปยกทั่วทุกเสน เพ่ือชําระ สง่ิ สกปรก แลว ยกขน้ึ ผง่ึ ใหส ะเดด็ นา้ํ พอหมาดๆ 3.นาํ ลงไปแชใ นกระทะยอ มสี คนใหเ สน ตอกเตยตดิ สใี หท วั่ ทกุ เสน ประมาณ 3 - 5 นาที 4.นาํ ไปลา งดว ยนาํ้ เยน็ 2 - 3 ครง้ั หรอื จนกวา นา้ํ ทลี่ า งจะใสสะอาด จากนน้ั นาํ ไปผง่ึ แดดใหแ หง ประมาณ 1 วนั เกบ็ ไวใ นทร่ี ม อากาศถา ยเทสะดวก เตรยี มพรอ ม ทจี่ ะนาํ ไปจกั สานเปน รปู แบบตา งๆ àμ»Ò˹¹Ñ 9

เสน ตอกเตยทีม่ ีสีธรรมชาติ และสีทีผ่ านการยอม มัดเปน กําผง่ึ ลมเกบ็ ไวใ นทรี่ ม วธิ กี ารจกั สานเสอ่ื เตยปาหนนั (ลายขดั สอง) นาํ เสน ตอกเตยมารดี ดว ยเครอื่ งรดี ใหเ รยี บ และน่ิมพอประมาณสําหรับการสานรวบรวม เสนตอกเตยที่ผานการรีดแลวจับเปนกําใหมี ความยาวเทากันแลวพับก่ึงกลางเริ่มสานจาก กึ่งกลางของเสนตอกท่ีพับไว โดยนําเสนตอก ประมาณ 8 เสน มาสานเปน ลายสอง โดยการสาน เสน ตอกขดั กนั ยกสอง ขม สอง ไปเรอ่ื ยๆ จนหมด เสน ตอก หรอื ไดค วามยาวตามขนาดทต่ี อ งการ ทําการตกแตงริมเก็บขอบเสื่อ “เมน” เปนการ ตกแตงปลายตอกท่ีเหลือ กอนจะเปนผืนเสื่อ สามารถทาํ ได 2 แบบ คอื การพบั กลบั เปน การพบั เสน ตอกกลบั เขา มา ตามลายเดมิ ประมาณ 2 - 3 นวิ้ แลว ตดั เสน ตอก สว นทเ่ี หลอื ออก จากนน้ั ตกแตง ใหส วยงาม การชอ รมิ เปน การพบั ปลายตอกทเี่ หลอื ใหค มุ กนั เองคลา ยกบั การถกั แลว ตดั ตอกสว นทเ่ี หลอื ออก เสอ่ื เตยปาหนนั สามารถนาํ ออกจาํ หนา ย ใน ราคาตงั้ แต 50 - 1,000 บาท ขน้ึ อยกู บั ขนาดและ ความยากงา ยของลายทจี่ กั สาน 10 àμ»Ò˹¹Ñ

ตวั อยา งผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั บา นดหุ นุ ต.บอ หนิ อ.สเิ กา จ.ตรงั ตัวอยางรูปแบบผลิตภัณฑท่ีจักสานเปนสิ่งของเคร่ืองใชที่มีขนาดเล็ก เชน ทใี่ สไ มจ ม้ิ ฟน กลอ งใส flash drive, ขมกุ ยา, พัด, กระเปาสตางค, ซองใส โทรศพั ท, กระเปา ใสนามบัตร, ซองใส ipad, กลอ งสาํ หรบั ใสแ หวน, นาฬกา หรอื เครื่องประดบั ตา งๆ ฯลฯ àμ»Ò˹ѹ 11

เอกลกั ษณ / จุดเดน ของผลติ ภัณฑ - เปน งานหตั ถกรรมทอ งถน่ิ ทมี่ ลี วดลายละเอยี ดประณตี สสี นั สดใส สวยงาม - มีรปู แบบท่หี ลากหลาย ทนั ยคุ ทนั สมัย - ใชวัสดุธรรมชาติที่มีอยูในทองถ่ิน ซ่ึงเตยปาหนัน เสนใยจะมีความ เหนียวนุม เมื่อนํามาริดเอาหนามออกแลวลนไฟทําใหเสนใยมีความยืดหยุน เปนมันเงา ไมมีเชื้อรา - หากเก็บไวในท่ีรม จะมีอายุการใชงานท่ียาวนาน ภมู ปิ ญญาการอนุรักษตนเตยปาหนนั ของชมุ ชน การคดั เลอื กใบเตยปาหนนั สาํ หรบั นาํ ไปใชใ นการจกั สาน ชาวบา นจะเลอื ก ใบเตยที่อยปู ระมาณช้ันใบท4ี่ นับจากโคนตนขนึ้ ไป ซึง่ จะเปนใบท่ีไมอ อน หรอื แกจนเกนิ ไป เหมาะสาํ หรับใชท าํ ตอกจกั สาน (ใบท่อี อ นเกนิ ไป จะนิ่มทาํ ใหเสน ตอกขาดงา ย สวนใบท่แี กเ กนิ ไปจะกรอบทําใหอ ายุการใชงานสน้ั ) การตดั จะใช มีดพราทมี่ ีความคม ฟน เฉียงๆใหตดิ หวั ออ น การทไี่ มตัดใหถ ึงโคนตน จะชว ยให ตนสามารถแตกหนอออนและใบใหม ซึ่งใชระยะเวลาประมาณ 1 - 2 ปก็จะ กลับมาตัดไปใชงานจักสานไดอีกครั้ง และสลับสับเปล่ียนหมุนเวียนพ้ืนที่ตัด 12 àμ»Ò˹¹Ñ

ไปเรอ่ื ยๆ เปน การอนุรักษต นเตยใหสามารถอยูไดน านๆ ทําใหช าวบานมีใบเตย ปาหนันจกั สานผลติ ภณั ฑไ ดอยา งตอเน่ือง จะเห็นไดว าชาวบา นไมเพียงแตไ ดรบั การสบื ทอดภมู ปิ ญ ญาในการจกั สานเตยปาหนนั เพยี งอยา งเดยี ว แตย งั ไดร บั สบื ทอด ภูมิปญญาในการอนุรักษตนเตยปาหนัน มาจากบรรพบุรุษดวยเชนกัน ทําให ตนเตยปาหนันสามารถเจริญเติบโตแตกหนอขยายพันธุอยคู ูผ ืนปาไดอยางย่งั ยืน ดวยฝมือการจักสานท่ีละเอียด ประณีต สวยงาม และสามารถปรับปรุง พฒั นารปู แบบสสี นั ของผลติ ภณั ฑใ หม คี วามหลากหลาย ทนั ยคุ ทนั สมยั อยตู ลอดเวลา ทําใหผลิตภัณฑจักสานเตยปาหนันชุมชนบานดุหุน ไดรับความนิยมจากลูกคา ทัง้ ในประเทศและตา งประเทศ จนไดร บั รางวลั ตา งๆ มากมายหลายรางวัล àμ»Ò˹ѹ 13

รายชอ่ื คณะกรรมการกลมุ จกั สานเตยปาหนนั บา นดหุ นุ จ.ตรงั 1. น.ส. จันทรเ พ็ญ ปูเงนิ ประธาน 2. นางอารี ปเู งิน รองประธาน 3. น.ส.เราะเกยี ะ หยีสนั กรรมการ 4. นางหาบีน้ ะ ปูเงนิ กรรมการ 5. นางไหมเลียะ เขียดเขยี ว กรรมการ 6. นางมะนะ ปเู งนิ กรรมการ 7. นางแบะดะ ตรงบาตัง กรรมการ 8. นางแมะ สมันหลี กรรมการ 9. นางพรพรรณ ดําทวั่ กรรมการ 14 àμ»Ò˹ѹ

รางวัลทท่ี างกลุม จกั สานเตยปาหนนั บานดหุ นุ เคยไดร บั 1. พ.ศ. 2555 กระเปาสะพาย(จักสานเตยปาหนัน) ไดร ับการคดั สรรเปน ผลิตภัณฑระดับสี่ดาว ประเภทของใชของตกแตง ของท่ีระลึกโครงการคัดสรร สุดยอด หนงึ่ ตาํ บล หน่ึงผลิตภณั ฑไ ทย 2. พ.ศ. 2556 น.ส.จนั ทรเ พญ็ ปูเงิน ประธานกลุม ไดร บั ประกาศเกยี รตคิ ุณ ดานอนรุ กั ษสบื ทอดวฒั นธรรมพน้ื บาน 3. พ.ศ. 2558 ผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั ไดร บั คดั เลอื กเปน 10 สดุ ยอด ผลติ ภัณฑเ ดนจังหวดั ตรงั 4. พ.ศ. 2558 ไดร ับเกียรติบัตร ในการเขารวมออกรา นจําหนา ยสนิ คาและ บรกิ ารคุณภาพในงานของท่รี ะลึกแดพอ ของขวญั ปใหม รางวลั แหง ความภาคภมู ิใจ àμ»Ò˹ѹ 15

คณะผู้จัดทำ� จัดทำ� โดย สำ� นกั จดั การปา่ ชมุ ชน กรมป่าไม้ 61 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 ท่ปี รกึ ษา นายอรรถพล เจรญิ ชนั ษา อธบิ ดกี รมป่าไม้ นายสมศกั ด์ิ สรรพโกศลกุล รองอธิบดกี รมปา่ ไม้ บรรณาธกิ าร นางนันทนา บุณยานันต์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักจดั การปา่ ชมุ ชน นายเสกสรร กวยะปาณกิ ผู้อำ� นวยการส่วนพัฒนาวนศาสตรช์ มุ ชน กองบรรณาธิการ ส่วนพฒั นาวนศาสตรช์ ุมชน ส�ำนักจัดการปา่ ชมุ ชน ศูนย์สง่ เสรมิ วนศาสตร์ชมุ ชนท่ี 8 (ตรงั ) พิมพ์ ครงั้ ท่ี 2 จ�ำนวน 1,900 เล่ม ส�ำหรับเผยแพร่หา้ มจำ� หนา่ ย ปที พ่ี มิ พ ์ พทุ ธศกั ราช 2563 พมิ พ์ที่ หา้ งห้นุ สว่ นจำ� กดั เอน็ .พ.ี จี. เอ็นเตอร์ไพรส์ 16 àµÂ»Ò˹¹Ñ 9/11/2563 BE 2:21 PM ���������������.indd 16