Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน

Description: พุทธวจน

Search

Read the Text Version

พุทธวจน จิต วญิ ญาณ

ภกิ ษุทงั้ หลาย เปรยี บเหมือนวานร เม่ือเท่ยี วไปในป่ าใหญ่ ย่อมจบั ก่ิงไม้ ปลอ่ ยก่ิงนนั้ จับก่งิ อ่ืน ปล่อยก่งิ ท่ีจบั เดิม เหน่ยี วก่ิงอ่ืนอกี เช่ นนี้เร่ือยๆ ไป ภิกษุทัง้ หลาย ฉันใดก็ฉนั นัน้ เหมอื นกนั ส่ิงท่ีเรียกกนั ว่าจติ บา้ ง มโนบ้าง วญิ ญาณบา้ ง ดวงหน่ึงเกิดขนึ้ ดวงหน่ึงดับไป ตลอดวัน ตลอดคนื . -บาลี นิทาน. ส.ํ ๑๖/๑๑๕/๒๓๒.





พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ ๑๗ฉบับ จิต มโน วิญญาณ พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ ำ� ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๑๗ จิต มโน วิญญาณ ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลิขสิทธใิ์ นตน้ ฉบับน้ไี ดร้ บั การสงวนไว้ ในการจะจดั ท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพื่อรกั ษาความถูกต้องของข้อมูล ให้ขออนุญาตเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร และปรึกษาด้านข้อมูลในการจดั ท�ำ เพอ่ื ความสะดวกและประหยดั ตดิ ต่อได้ท่ี มลู นิธพิ ทุ ธโฆษณ ์ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มลู นธิ พิ ุทธวจน โทรศัพท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คุณศรชา โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอารวี รรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปีท่ีพิมพ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม อภชิ ญ์ บุศยศริ ิ, ปริญญา ปฐวนิ ทรานนท์ จัดท�ำ โดย มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)

ค�ำอนุโมทนา ขออนุโมทนากับคณะงานธัมมะ ผู้จัดทำ�หนังสือ พุทธวจน ฉบับ จิต มโน วิญญาณ ที่มีความต้ังใจและ มีเจตนาอันเป็นกุศล ในการเผยแผ่คำ�สอนของตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธะทอ่ี อกจากพระโอษฐข์ องพระองคเ์ อง ในการรวบรวมค�ำ สอนของตถาคต  อนั เกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งของ จติ มโน วญิ ญาณ วา่ มคี วามเหมอื นและความตา่ งกนั อยา่ งไร ตามทต่ี ถาคตไดท้ รงบญั ญตั .ิ ด้วยเหตุอันดีท่ีได้กระทำ�มาแล้วน้ี  ขอจงเป็นเหตุ ปัจจัยให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หนังสือ  และผู้ที่ได้อ่าน  ไดศ้ กึ ษา  ไดน้ �ำ ไปปฏบิ ตั  ิ พงึ ส�ำ เรจ็ สมหวงั   พบความเจรญิ รุ่งเรืองของชีิวิตได้จริงในทางโลก  และได้ดวงตาเห็นธรรม  ส�ำ เรจ็ ผลยงั นพิ พาน  สมดงั ความปรารถนา  ตามเหตปุ จั จยั ที่ไดส้ รา้ งมาอยา่ งดแี ล้วดว้ ยเทอญ. ขออนุโมทนา ภกิ ขคุ ึกฤทธ์ิ โสตถฺ ิผโล

ค�ำน�ำ ภกิ ษทุ ้งั หลาย  เปรียบเหมือนวานร เม่อื เท่ียวไปใน ปา่ ใหญ่ ยอ่ มจบั กง่ิ ไม้ ปลอ่ ยกง่ิ นน้ั จบั กง่ิ อน่ื ปลอ่ ยกง่ิ ทจ่ี บั เดมิ เหนย่ี วกง่ิ อน่ื อกี เชน่ นเ้ี รอ่ื ยๆ ไป  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั เหมือนกัน ส่ิงที่เรียกกันว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ดวงหนึ่งเกิดข้นึ ดวงหน่ึงดบั ไป ตลอดวนั ตลอดคืน. พุทธวจน ฉบับ จิต มโน วิญญาณ จึงเป็นการ รวบรวมระเบียบวินัยของพระสุคต อันยังคงมีอยู่ในโลก เพ่ือประโยชน์เก้ือกูลแก่ผู้ท่ีได้เข้ามาศึกษา จะได้ทราบถึง สัจจะความจริง ท่ีตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะได้บอก แสดง บัญญัติ เปิดเผย จำ�แนกแจกแจง กระทำ�ให้เข้าใจ ได้งา่ ยซ่ึง จติ มโน วญิ ญาณ. ชนเหลา่ ใดถอื วา่ เรอื่ งนคี้ วรฟงั ควรเชอื่ ยอ่ มจะทราบ จิตนั้นตามความเป็นจริงว่า จิตนี้ผุดผ่อง (ปภสฺสรมิท) แต่ว่า จิตน้ันแหละ เศร้าหมองแล้วด้วยอุปกิเลสที่จรมา และจิต เป็นของเปล่ียนแปลงได้รวดเร็ว (ลหุปริวตฺต) อันจะเป็นเหตุ ใหเ้ บอ่ื หนา่ ย คลายก�ำ หนดั และปลอ่ ยวางซง่ึ สง่ิ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จิต มโน วิญญาณ.

วญิ ญาณเปน็ ปฏจิ จสมปุ ปนั นธรรม (สง่ิ ทอ่ี าศยั ปจั จยั แลว้ เกดิ ขน้ึ ) ถา้ เวน้ จากปจั จยั แลว้ ความเกดิ ขน้ึ แหง่ วญิ ญาณยอ่ ม ไม่มีดังน้ี วิญญาณอาศัยปัจจัยใดๆ เกิดข้ึน ก็ถึงความนับ ด้วยปัจจัยนั้นๆ วิญญาณอาศัยจักษุและรูปทั้งหลายเกิดข้ึน ก็ถึงความนับว่าจักษุวิญญาณ  วิญญาณอาศัยโสตะและ เสยี งทงั้ หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ โสตวญิ ญาณ  วญิ ญาณ อาศัยฆานะและกล่ินท้ังหลายเกิดขึ้น ก็ถึงความนับว่า ฆานวิญญาณ  วิญญาณอาศัยชิวหาและรสท้ังหลายเกิดขึ้น ก็ถึงความนับว่าชิวหาวิญญาณ  วิญญาณอาศัยกายและ โผฏฐัพพะท้ังหลายเกิดขึ้น ก็ถึงความนับว่ากายวิญญาณ  วญิ ญาณอาศยั มโนและธรรมทงั้ หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ มโนวิญญาณ. เม่ือวิญญาณน้ัน ต้ังข้ึนเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว ความเกดิ ขน้ึ แหง่ ภพใหมต่ อ่ ไป (ปนุ พภฺ วาภนิ พิ พฺ ตตฺ )ิ ยอ่ มม.ี เมอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ ภพใหมต่ อ่ ไปมอี ยู่ ชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จึงเกิดข้ึน ครบถ้วน ความเกิดข้ึนพร้อมแห่งกองทุกข์ท้ังสิ้นน้ี ย่อมมี ด้วยอาการอยา่ งน.ี้

ด้วยเหตเุ พยี งเทา่ น้ี สตั ว์โลก จงึ เกดิ บา้ ง จึงแกบ่ า้ ง จึงตายบ้าง จึงจุติบ้าง จึงอุบัติบ้าง ความเวียนว่ายในวัฏฏะ ก็มเี พยี งเท่านี.้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กถ็ า้ วา่ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สง่ิ ใดดว้ ย ยอ่ มไมด่ �ำ รถิ งึ สง่ิ ใดดว้ ย และยอ่ มไมม่ จี ติ ฝงั ลงไปในสง่ิ ใดดว้ ย ในกาลใด ในกาลนน้ั สง่ิ นน้ั ยอ่ มไมเ่ ปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยู่ แหง่ วญิ ญาณไดเ้ ลย เมอื่ อารมณไ์ มม่ ี ความตงั้ ขนึ้ เฉพาะแหง่ วญิ ญาณยอ่ มไมม่ ี. เมอ่ื วญิ ญาณนน้ั ไมต่ ง้ั ขน้ึ เฉพาะ ไมเ่ จรญิ งอกงามแลว้ เคร่ืองนำ�ไปสู่ภพใหม่ย่อมไม่มี เม่ือเคร่ืองนำ�ไปสู่ภพใหม่ ไมม่ ี การมาการไปยอ่ มไมม่ ี เมอ่ื การมาการไปไมม่ ี การเคลอื่ น และการบังเกดิ ยอ่ มไม่มี. เม่ือการเคลอื่ นและการบังเกดิ ไม่มี ชาติ ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลายตอ่ ไปจงึ ดบั สน้ิ ความดับลงแห่งกองทุกข์ท้ังส้ินนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างน้ี ดังน้แี ล. คณะงานธมั มะ วดั นาปา่ พง



อักษรย่อ เพ่ือความสะดวกแกผ่ ทู้ ่ียังไม่เขา้ ใจเรื่องอกั ษรยอ่ ท่ใี ชห้ มายแทนชื่อคัมภีร์ ซึง่ มอี ย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค ์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขนุ ี. ว.ิ ภกิ ขนุ วี ภิ งั ค์ วินัยปฎิ ก. มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . วิ. จลุ วรรค วนิ ัยปิฎก. ปริวาร. ว.ิ ปริวารวรรค วนิ ัยปฎิ ก. สี. ท.ี สีลขนั ธวรรค ทฆี นกิ าย. มหา. ที. มหาวรรค ทฆี นกิ าย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นกิ าย. ม.ู ม. มูลปณั ณาสก์ มชั ฌมิ นิกาย. ม. ม. มัชฌมิ ปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย. อปุ ริ. ม. อุปริปัณณาสก์ มชั ฌมิ นิกาย. สคาถ. สํ. สคาถวรรค สังยุตตนกิ าย. นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สังยตุ ตนกิ าย. เอก. อํ. เอกนบิ าต องั คุตตรนกิ าย. ทกุ . อํ. ทกุ นิบาต องั คตุ ตรนิกาย. ติก. อ.ํ ตกิ นบิ าต อังคตุ ตรนิกาย. จตุกกฺ . อํ. จตกุ กนิบาต องั คตุ ตรนิกาย.

ปญฺจก. อํ. ปัญจกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. ฉกกฺ . อํ. ฉกั กนบิ าต องั คุตตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สัตตกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย อฏฺ ก. อํ. อัฏฐกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนบิ าต องั คุตตรนิกาย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต องั คุตตรนิกาย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนิบาต อังคุตตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ข.ุ ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อ.ุ ข.ุ อทุ าน ขทุ ทกนกิ าย. อติ วิ .ุ ขุ. อิตวิ ุตตกะ ขทุ ทกนกิ าย. สุตฺต. ขุ. สุตตนบิ าต ขุททกนกิ าย. วิมาน. ข.ุ วมิ านวัตถุ ขุททกนิกาย. เปต. ขุ. เปตวัตถุ ขุททกนกิ าย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขุททกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรคี าถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนิกาย. มหานิ. ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนกิ าย. จฬู น.ิ ขุ. จูฬนทิ เทส ขทุ ทกนิกาย. ปฏสิ มฺ. ขุ. ปฏสิ มั ภิทามรรค ขทุ ทกนิกาย. อปท. ข.ุ อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทธฺ ว. ขุ. พทุ ธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จริยาปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตัวอย่าง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อ่านวา่ ไตรปฎิ กฉบบั สยามรัฐ เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๕

สารบัญ จติ มโน วญิ ญาณ (พระสตู รทค่ี วรทราบ) 1 1. จติ มโน วญิ ญาณ ดวงหนง่ึ เกดิ ขน้ึ ดวงหนง่ึ ดบั ไป2 2. ทฏิ ฐวิ า่ จติ มโน วญิ ญาณ เปน็ ของเทย่ี ง9 3. จติ ดวงแรกเกดิ ขน้ึ วญิ ญาณดวงแรกปรากฏ10 4. ความเกดิ แหง่ จติ ยอ่ มมี เพราะความเกดิ แหง่ นามรปู 11 5. ความเกดิ ขน้ึ แหง่ วญิ ญาณยอ่ มมี เพราะความเกดิ ขน้ึ แหง่ นามรปู 12 6. เพราะวญิ ญาณเปน็ ปจั จยั จงึ มนี ามรปู 14 7. เพราะนามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มวี ญิ ญาณ17 8. เพราะสงั ขารเปน็ ปจั จยั จงึ มวี ญิ ญาณ26 9. นามรปู ปจั จยั แหง่ การบญั ญตั ิ วญิ ญาณขนั ธ์ 28 10. วญิ ญาณ ตง้ั อยไู่ ดใ้ นทใ่ี ด การกา้ วลงแหง่ นามรปู กม็ อี ยใู่ นทน่ี น้ั 30 (อปุ มาดว้ ยแสงกบั ฉาก)  11. รายละเอยี ดของนามรปู 36 12. รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๑)37 13. รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๒)38 14. รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๓)39 15. รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๔)41 16. รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๕)43 17. วญิ ญาณฐติ ิ (ทต่ี ง้ั อยขู่ องวญิ ญาณ)49 18. อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ (นยั ท่ี ๑) 52 19. อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ (นยั ท่ี ๒)54 20. อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ (นยั ท่ี ๓)56 21. การตง้ั อยขู่ องวญิ ญาณ คอื การบงั เกดิ ในภพใหม่ 58

22. การตง้ั อยขู่ องความเจตนา หรอื ความปรารถนา 60 คอื การบงั เกดิ ในภพใหม่  23. ภพ ๓62 24. เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พ63 25. เหตทุ เ่ี รยี กวา่ “สตั ว”์ 64 26. ผลทไ่ี มน่ า่ ปรารถนา หรอื นา่ ปรารถนา 67 “จติ ”69 27. จติ เปลย่ี นแปลงไดเ้ รว็ 70 28. จติ เปน็ ธรรมชาตกิ ลบั กลอก71 29. จติ อบรมได้ 73 30. จติ ฝกึ ได้ 76 31. จติ ผอ่ งใส79 32. จติ ประภสั สร81 33. จติ ผอ่ งแผว้ 82 34. ผลของการไมร่ กั ษา หรอื รกั ษาจติ 84 35. ผลเมอ่ื จติ ถงึ ความพนิ าศ86 36. จติ ตมโน จติ ตสงั กปั โป88 37. อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ เปน็ เครอ่ื งรองรบั จติ 89 38. เหน็ จติ ในจติ (นยั สตปิ ฏั ฐานสตู ร)90 39. เหน็ จติ ในจติ (นยั อานาปานสตสิ ตู ร)92 40. จติ หลดุ พน้ (นยั ท่ี ๑)93 41. จติ หลดุ พน้ (นยั ท่ี ๒)95 42. จติ หลดุ พน้ (นยั ท่ี ๓)97 43. จติ ทห่ี ลดุ พน้ ดแี ลว้ 99 44. ผมู้ จี ติ อนั หลดุ พน้ แลว้ ดว้ ยดี 103

45. การเขา้ ไปหา เปน็ ความไมห่ ลดุ พน้ 104 การไมเ่ ขา้ ไปหา เปน็ ความหลดุ พน้  46. การนอ้ มใจเพอ่ื ตดั โอรมั ภาคยิ สงั โยชน์ 106 47. เหตใุ หว้ ชิ ชาและวมิ ตุ ตบิ รบิ รู ณ์ 111 48. ความแตกตา่ งระหวา่ ง อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ 115 กบั ภกิ ษปุ ญั ญาวมิ ตุ ติ “มโน” 117 49. มโน คอื สว่ นแหง่ อายตนะภายใน118 50. อกศุ ลธรรม-กศุ ลธรรม มมี โนเปน็ หวั หนา้ 120 51. ธรรมทง้ั หลาย มมี โนเปน็ หวั หนา้ 121 52. มโนสงั ขาร (นยั ท่ี ๑) 123 53. มโนสงั ขาร (นยั ท่ี ๒)125 54. มโนวติ ก 127 55. กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๑)129 56. กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๒)132 57. กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๓)134 58. กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๔)136 59. กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๕)138 60. การไดอ้ ตั ภาพ140 61. เหตใุ หเ้ จรญิ ไมเ่ สอ่ื ม (อปรหิ านยิ ธรรม)145 62. เหตใุ หร้ ะลกึ ถงึ รกั เคารพ ไมว่ วิ าท 147 และพรอ้ มเพรยี งกนั (สาราณยี ธรรม) 63. เหตแุ หง่ ความแตกแยก149 64. ความพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจยอ่ มมี 151 65. คนพาล-บณั ฑติ (นยั ท่ี ๑)153

66. คนพาล-บณั ฑติ (นยั ท่ี ๒)155 67. คนพาล-บณั ฑติ (นยั ท่ี ๓)157 68. คนพาล-บณั ฑติ (นยั ท่ี ๔) 158 69. ผลของกรรมทไ่ี มส่ ม�ำ่ เสมอ-สม�ำ่ เสมอ159 70. ผลของกรรมทไ่ี มส่ ะอาด-สะอาด160 71. ความไมส่ ะอาด-ความสะอาดทางกาย วาจา และใจ161 “วญิ ญาณ” 169 72. วญิ ญาณ ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทท่ี อ่ งเทย่ี ว170 73. วญิ ญาณ ไมเ่ ทย่ี ง178 74. วญิ ญาณ เปน็ สง่ิ ทเ่ี กดิ ดบั 184 75. วญิ ญาณเปน็ อนตั ตา186 76. ผลของผสั สะ187 77. วญิ ญาณาหาร (อาหารของวญิ ญาณ) 193 “สงั ขตะ-อสงั ขตะ” 195 78. ลกั ษณะของสงั ขตะ-อสงั ขตะ196 79. สงั ขตธาต-ุ อสงั ขตธาตุ 198 80. ธรรมชาตทิ ไ่ี มถ่ กู อะไรท�ำ ไมถ่ กู อะไรปรงุ 201 81. ทซ่ี ง่ึ นามรปู ดบั สนทิ ไมม่ เี หลอื 203 82. สง่ิ นน้ั มอี ยู่ 206 83. ชอ่ื วา่ นพิ พาน อนั บคุ คลเหน็ ไดย้ าก207 84. นพิ พานของคนตาบอด 208 85. ยนื คนละท่ี เหน็ คนละแบบ (นยั ท่ี ๑) 213 86. ยนื คนละท่ี เหน็ คนละแบบ (นยั ท่ี ๒) 218 87. อปุ าทานและทต่ี ง้ั แหง่ อปุ าทาน221 88. ขนั ธ์ ๕ และอปุ าทานขนั ธ์ ๕223

89. มลู รากของอปุ าทานขนั ธ์ 226 90. อปุ าทานกบั อปุ าทานขนั ธ์ ไมใ่ ชอ่ ยา่ งเดยี วกนั 227 91. สญั โญชนแ์ ละทต่ี ง้ั แหง่ สญั โญชน์ 228 92. ความผกู ตดิ กบั อารมณ์ 230 93. กายกอ็ อก จติ กอ็ อก237 94. อะไรคอื กรรมเกา่ และกรรมใหม่ 239 95. กายน้ี เปน็ “กรรมเกา่ ” 242 96. ลกั ษณะความเปน็ อนตั ตา244 97. ขนั ธ์ ๕ ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา246 98. เจรญิ สมาธแิ ลว้ จะรไู้ ดต้ ามความเปน็ จรงิ ของขนั ธ์ ๕250 99. รชู้ ดั อปุ าทานขนั ธโ์ ดยปรวิ ฏั ฏ์ ๔255 100. ผฉู้ ลาดในฐานะ ๗ ประการ263 101. สพั เพ ธมั มา อนตั ตา (นยั ท่ี ๑) 272 102. สพั เพ ธมั มา อนตั ตา (นยั ท่ี ๒)277 103. ธรรมทง้ั หลายทง้ั ปวง อนั ใครๆ ไมค่ วรยดึ มน่ั ถอื มน่ั 279 104. อตั ตามี หรอื อตั ตาไมม่ ี 281 105. อตั ถติ าและนตั ถติ า282 106. เหตใุ หไ้ มป่ รนิ พิ พานในทฏิ ฐธรรม285 107. พรหมจรรย์ มนี พิ พานเปน็ ทส่ี ดุ 290 108. ธรรมทง้ั หลายทง้ั ปวง มนี พิ พานเปน็ ทส่ี ดุ 292

จติ มโน วิญญาณ (พระสูตรท่คี วรทราบ) 1

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ จิต มโน วิญญาณ 01 ดวงหนึง่ เกดิ ขน้ึ ดวงหน่ึงดับไป -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๑๔/๒๓๐. ... ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั จะพงึ เบอื่ หนา่ ย ได้บ้าง คลายกำ�หนัดได้บ้าง หลุดพ้นได้บ้าง ในร่างกายอัน เป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตท้ัง ๔ นี้  ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร  ภิกษุทั้งหลาย  เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตายก็ดีของร่างกายอันเป็นท่ีประชุมแห่ง มหาภตู ทง้ั ๔ น้ี ยอ่ มปรากฏ เพราะเหตนุ น้ั ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั จึงเบื่อหน่ายได้บ้าง คลายกำ�หนัดได้บ้าง หลุดพ้นได้บ้าง ในร่างกายนนั้ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย  สว่ นสงิ่ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ ง1 ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั ไมอ่ าจจะเบอ่ื หนา่ ย ไมอ่ าจจะ คลายกำ�หนัด ไม่อาจจะหลุดพ้น จากสิ่งนั้นได้เลย  ข้อนั้น เพราะเหตอุ ะไร  เพราะเหตวุ า่ สงิ่ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ เปน็ ตน้ น้ี อันปุถุชนผู้มิได้สดับ ได้รวบรัดถือไว้ด้วยตัณหา ได้ยึดถือ ด้วยทิฏฐิว่า น่ันของเรา นั่นเป็นเรา น่ันเป็นตัวตนของเรา ดังนี้มาตลอดกาลช้านาน เพราะเหตุน้ันปุถุชนผู้มิได้สดับ 1. พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง ไดแ้ ปลบทนว้ี า่ แตต่ ถาคตเรยี กรา่ งกายอนั เปน็ ทป่ี ระชมุ แหง่ มหาภตู ทง้ั ๔ นว้ี า่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ ง.  -ผรู้ วบรวม 2

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ จึงไม่อาจจะเบ่ือหน่าย ไม่อาจจะคลายกำ�หนัด ไม่อาจจะ หลดุ พน้ ในสงิ่ ทเ่ี รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ งนน้ั ไดเ้ ลย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั จะพงึ เขา้ ไปยดึ ถอื เอารา่ งกายอนั เปน็ ทป่ี ระชมุ แหง่ มหาภตู ทง้ั ๔ น้ี โดยความเปน็ ตวั ตนยงั ดกี วา่ แตจ่ ะเขา้ ไปยดึ ถอื เอาจติ โดยความเปน็ ตวั ตน ไมด่ เี ลย  ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร  เพราะเหตวุ า่ รา่ งกายอนั เป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ น้ี เม่ือดำ�รงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปบี ้าง สามปบี ้าง สปี่ ีบ้าง ห้าปีบา้ ง สบิ ปีบ้าง ย่สี ิบปบี า้ ง สามสิบปีบ้าง ส่ีสิบปีบ้าง ห้าสิบปีบ้าง ร้อยปีบ้าง เกินกว่า รอ้ ยปบี า้ ง กย็ งั มปี รากฏ  ภกิ ษทุ งั้ หลาย สว่ นสงิ่ ทเี่ รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ งนน้ั ดวงหนง่ึ เกดิ ขนึ้ ดวงหนงึ่ ดบั ไป ตลอดวนั ตลอดคนื . ภิกษทุ ้งั หลาย  เปรียบเหมอื นวานร เมื่อเที่ยวไปใน ป่าใหญ่ ย่อมจับก่ิงไม้ ปล่อยก่ิงนั้น จับกิ่งอ่ืน ปล่อยกิ่งท่ี จับเดิม เหน่ียวก่ิงอ่ืนอีก เช่นนี้เรื่อยๆ ไป  ภิกษุท้ังหลาย  ฉันใดก็ฉันนั้นเหมือนกัน สิ่งท่ีเรียกกันว่าจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ดวงหน่ึงเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ตลอดวัน ตลอดคืน. 3

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย  อริยสาวกผู้ได้สดับ ย่อมกระทำ�ไว้ ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทน่ันเทียว ดงั นวี้ า่ เมอื่ สงิ่ นม้ี ี สง่ิ นยี้ อ่ มม ี เพราะความเกดิ ขนึ้ แหง่ สงิ่ น้ี สง่ิ นจ้ี งึ เกดิ ขน้ึ   เมอ่ื สง่ิ นไ้ี มม่ ี สง่ิ นย้ี อ่ มไมม่  ี เพราะความดบั ไป แห่งส่ิงน้ี สิ่งนี้จึงดับไป ได้แก่สิ่งเหล่าน้ีคือ เพราะมีอวิชชา เป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย  เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะมนี ามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ  เพราะมสี ฬายตนะ เป็นปจั จัย จึงมีผสั สะ  เพราะมีผัสสะเปน็ ปัจจัย จงึ มีเวทนา  เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา  เพราะมีตัณหาเป็น ปัจจัย จึงมีอุปาทาน  เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ  เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ  เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน ้ี เพราะความจางคลายดบั ไปโดย ไม่เหลือแห่งอวิชชาน้ันนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร  เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ  เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป  เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ  เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ  4

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา  เพราะมี ความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา  เพราะมี ความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน  เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ  เพราะมี ความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ  เพราะมีความดับ แห่งชาติน่ันแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัส อปุ ายาสะทง้ั หลาย จงึ ดบั สน้ิ   ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมีด้วยอาการอยา่ งนี้ ดงั นี.้ ภิกษุทั้งหลาย  อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา ย่อม เบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นสญั ญา ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นสงั ขารทง้ั หลาย ย่อมเบ่ือหน่ายแม้ในวิญญาณ  เม่ือเบ่ือหน่าย ย่อมคลาย ก�ำ หนดั   เพราะคลายก�ำ หนดั ยอ่ มหลดุ พน้   เมอ่ื หลดุ พน้ แลว้ ยอ่ มมญี าณหยง่ั รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้   เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ น้ิ แลว้ พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจท่ีควรทำ�ได้ทำ�เสร็จแล้ว กิจอ่ืน ท่จี ะต้องทำ�เพ่ือความเปน็ อย่างน้ีมิไดม้ ีอกี ดังน.้ี อกี สตู รหนงึ่ -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๑๖/๒๓๕. ไดต้ รสั ชว่ งตน้ โดยมขี อ้ ความเหมอื นกนั กบั สตู รขา้ งบนนแ้ี ตต่ า่ งกนั ทอ่ี ปุ มา ซง่ึ ภายหลงั จาก ตรสั วา่ ภิกษทุ ้ังหลาย  สว่ นสง่ิ ที่เรียกกันว่าจติ บ้าง มโนบา้ ง วญิ ญาณบ้าง ดวงหนง่ึ เกดิ ขน้ึ ดวงหนง่ึ ดบั ไป ตลอดวนั ตลอดคนื ไดต้ รสั อปุ มาตา่ งไปดงั น.้ี 5

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย  อริยสาวกผู้ได้สดับ ย่อมกระทำ�ไว้ ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี ซ่ึงปฏิจจสมุปบาทน่ันเทียว ดังนี้ว่า เม่ือส่ิงน้ีมี สิ่งน้ีย่อมมี  เพราะความเกิดข้ึนแห่ง ส่ิงนี้ ส่ิงน้ีจึงเกิดขึ้น  เม่ือส่ิงน้ีไม่มี ส่ิงน้ีย่อมไม่มี  เพราะ ความดับไปแห่งส่ิงน้ี ส่ิงน้ีจึงดับไป  เพราะอาศัยผัสสะอัน เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ สขุ เวทนา จงึ เกดิ สขุ เวทนาขน้ึ   เพราะความดบั แห่งผัสสะอันเป็นท่ีต้ังแห่งสุขเวทนานั้นแหละ เวทนาใด ท่ีเกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ต้ังแห่งสุขเวทนา สขุ เวทนานน้ั ยอ่ มดบั ยอ่ มสงบไป  เพราะอาศยั ผสั สะอนั เปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ ทกุ ขเวทนา จงึ เกดิ ทกุ ขเวทนาขนึ้   เพราะความดบั แห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนาน้ันแหละ  เวทนาใด ท่ีเกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นท่ีตั้งแห่งทุกขเวทนา  ทุกขเวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป  เพราะอาศัยผัสสะอัน เป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา จึงเกิดอทุกขมสุขเวทนาข้ึน เพราะความดบั แหง่ ผสั สะอนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ อทกุ ขมสขุ เวทนา นั้นแหละ  เวทนาใดที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็น ที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา อทุกขมสุขเวทนานั้นย่อมดับ ยอ่ มสงบไป. 6

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ ภิกษุทั้งหลาย  เปรียบเหมือนเพราะไม้สองอัน เสียดสีกันจึงเกิดไออุ่น เกิดความร้อน  แต่ถ้าแยกไม้ ท้ังสองอันนั้นแหละออกเสียจากกัน ไออุ่นซ่ึงเกิดจากการ เสยี ดสกี นั นน้ั ยอ่ มดบั ยอ่ มสงบไป แมฉ้ นั ใด  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ข้อนี้ก็ฉันนั้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ต้ังแห่งสุขเวทนา จึงเกิดสุขเวทนาข้ึน  เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ต้ัง แห่งสุขเวทนาน้ันแหละ  เวทนาใดท่ีเกิดขึ้นเพราะอาศัย ผัสสะอันเป็นท่ีต้ังแห่งสุขเวทนา  สุขเวทนานั้นย่อมดับ ยอ่ มสงบไป  เพราะอาศยั ผสั สะอนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ทกุ ขเวทนา จงึ เกดิ ทกุ ขเวทนาขน้ึ   เพราะความดบั แหง่ ผสั สะอนั เปน็ ทต่ี งั้ แห่งทุกขเวทนาน้ันแหละ  เวทนาใดท่ีเกิดขึ้นเพราะอาศัย ผัสสะอันเป็นท่ีต้ังแห่งทุกขเวทนา  ทุกขเวทนานั้นย่อมดับ ยอ่ มสงบไป  เพราะอาศยั ผสั สะอนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ อทกุ ขมสขุ - เวทนา จึงเกิดอทุกขมสุขเวทนาข้ึน  เพราะความดับแห่ง ผสั สะอนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ อทกุ ขมสขุ เวทนานน้ั แหละ  เวทนาใด ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะอาศยั ผสั สะอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ อทกุ ขมสขุ เวทนา  อทกุ ขมสขุ เวทนาน้นั ย่อมดบั ยอ่ มสงบไป. 7

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย  อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นรปู   ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นเวทนา  ยอ่ ม เบอื่ หนา่ ยแมใ้ นสญั ญา  ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นสงั ขารทง้ั หลาย ย่อมเบ่ือหน่ายแม้ในวิญญาณ  เมื่อเบ่ือหน่าย ย่อมคลาย ก�ำ หนดั   เพราะคลายก�ำ หนดั ยอ่ มหลดุ พน้   เมอ่ื หลดุ พน้ แลว้ ยอ่ มมญี าณหยง่ั รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้   เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ น้ิ แลว้ พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ�ได้ทำ�เสร็จแล้ว กิจอ่ืน ทจ่ี ะต้องทำ�เพ่อื ความเป็นอย่างน้มี ิได้มอี กี ดงั นี้. 8

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ ทิฏฐวิ ่า จิต มโน วิญญาณ 02 เป็นของเทีย่ ง -บาลี ส.ี ท.ี ๙/๒๘/๓๔. … อน่ึง ในฐานะที่ ๔ สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัย อะไร ปรารภอะไร จึงมีทิฏฐิว่า บางอย่างเท่ียง บางอย่าง ไม่เท่ียง  แล้วบัญญัติอัตตาและโลกว่า  บางอย่างเที่ยง บางอย่างไมเ่ ท่ยี ง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สมณะหรอื พราหมณบ์ างคนในโลกน้ี เป็นนักตรึก เป็นนักค้นคิด กล่าวแสดงปฏิภาณของตน ตามทต่ี รกึ ได้ ตามทค่ี น้ คดิ ไดอ้ ยา่ งนว้ี า่ สง่ิ ทเ่ี รยี กกนั วา่ ตากด็ ี หูก็ดี จมูกก็ดี ลิ้นก็ดี กายก็ดี น้ีได้ช่ือว่าอัตตา เป็นของ ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่คงทน มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา สว่ นสง่ิ ทเี่ รยี กกนั วา่ จติ บา้ ง มโนบา้ ง วญิ ญาณบา้ ง นช้ี อ่ื วา่ อัตตา เปน็ ของเทีย่ ง ย่ังยืน คงทน มีความไม่แปรปรวน เป็นธรรมดา จะตงั้ อยเู่ ทยี่ งเสมอไปเช่นน้นั ทเี ดียว. ภิกษุทั้งหลาย  น้ีเป็นฐานะที่ ๔ ซึ่งสมณพราหมณ์ พวกหน่ึงอาศยั แลว้ ปรารภแล้ว จงึ มที ฏิ ฐวิ ่า บางอยา่ งเท่ยี ง บางอยา่ งไมเ่ ทยี่ ง ยอ่ มบญั ญตั อิ ตั ตาและโลกวา่ บางอยา่ งเทยี่ ง บางอย่างไมเ่ ท่ียง. 9

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ จิตดวงแรกเกดิ ขน้ึ 03 วญิ ญาณดวงแรกปรากฏ -บาลี มหา. ว.ิ ๔/๑๘๗/๑๔๑. ... ภกิ ษทุ งั้ หลาย  จติ ดวงแรกใดเกดิ แลว้ ในครรภ์ แหง่ มารดา วญิ ญาณดวงแรกปรากฏแลว้ อาศยั จติ ดวงแรก วญิ ญาณดวงแรกน้นั น่ันแหละ เป็นความเกดิ ของสัตว์นั้น. ภิกษุท้ังหลาย  เราอนุญาตให้อุปสมบทกุลบุตร มอี ายุครบ ๒๐ ปี ท้ังอยใู่ นครรภ์. บทนี้ มบี าลอี ยา่ งนี้ ย ภิกฺขเว มาตุ กุจฺฉสิ มฺ ึ ปม จติ ฺต อุปฺปนนฺ  ปม วิ ฺ าณ ปาตภุ ตู  ตทปุ าทาย สาวสสฺ ชาติ อนชุ านามิ ภกิ ขฺ เว คพฺภวสี  อปุ สมปฺ าเทตุนฺติ. 10

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ความเกดิ แห่งจิตยอ่ มมี 04 เพราะความเกิดแหง่ นามรูป -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๔๖/๘๑๙. ภิกษุท้ังหลาย  เราจักแสดงความเกิดและความดับ แหง่ สตปิ ฏั ฐาน ๔  เธอท้งั หลายจงฟัง. ภิกษุท้ังหลาย  ก็ความเกิดแห่งกายเป็นอย่างไร ความเกิดแห่งกายย่อมมี  เพราะความเกิดแห่งอาหาร  ความดับแห่งกายย่อมมี  เพราะความดับแห่งอาหาร ความเกิดแห่งเวทนาย่อมมี เพราะความเกิดแห่ง ผสั สะ  ความดบั แหง่ เวทนายอ่ มมี เพราะความดบั แหง่ ผสั สะ ความเกิดแห่งจิตย่อมมี เพราะความเกิดแห่ง นามรปู ความดบั แหง่ จติ ยอ่ มมี เพราะความดบั แหง่ นามรปู   (นามรูปสมทุ ยา จติ ฺตสสฺ สมทุ โย นามรูปนโิ รธา จติ ตฺ สฺส อตถฺ งคฺ โม) ความเกิดแห่งธรรมย่อมมี เพราะความเกิดแห่ง มนสิการ  ความดับแห่งธรรมย่อมมี เพราะความดับแห่ง มนสิการ (มนสิการสมุทยา ธมฺมาน สมุทโย มนสิการนิโรธา ธมฺมาน อตถฺ งฺคโม). 11

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ ความเกิดขึ้นแหง่ วญิ ญาณยอ่ มมี 05 เพราะความเกดิ ข้นึ แห่งนามรปู -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๗๕/๑๑๗. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กว็ ญิ ญาณเปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  หมแู่ หง่ วิญญาณ ๖ เหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ  ชิวหาวิญญาณ  กายวิญญาณ  มโนวิญญาณ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย นเ้ี รยี กวา่ วญิ ญาณ  ความเกดิ ขน้ึ แหง่ วญิ ญาณ ย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป  ความดับแห่ง วิญญาณยอ่ มมี เพราะความดับแหง่ นามรูป  อริยมรรคอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘ นน้ี นั่ เอง เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แห่งวิญญาณ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชวี ะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และ สัมมาสมาธิ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สขุ โสมนสั ใดๆ อาศยั วญิ ญาณเกดิ ขนึ้ นเี้ ปน็ คณุ แหง่ วญิ ญาณ (อสั สาทะ)  วญิ ญาณไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา น้ีเป็นโทษแห่งวิญญาณ  (อาทนี วะ)  การก�ำ จดั ฉนั ทราคะ การละฉนั ทราคะในวญิ ญาณ1 น้ีเป็นอบุ ายเครือ่ งสลัดออกแหง่ วญิ ญาณ (นิสสรณะ). 1. ดเู พ่มิ เตมิ เก่ียวกบั ฉนั ทราคะ ได้ทีห่ น้า 221 และ 228.  -ผู้รวบรวม 12

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด เหล่าหน่ึง รู้ชัดแล้วซึ่งวิญญาณอย่างน้ี  รู้ชัดแล้วซึ่งความ เกิดข้ึนแห่งวิญญาณอย่างนี้  รู้ชัดแล้วซึ่งความดับแห่ง วิญญาณอย่างน้ี  รู้ชัดแล้วซ่ึงข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่ง วิญญาณอย่างนี้ แล้วปฏิบัติเพื่อความเบ่ือหน่าย เพ่ือความ คลายกำ�หนัด เพ่ือความดับแห่งวิญญาณ  สมณะหรือ พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใดปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหล่าน้นั ช่อื วา่ ย่อมหยัง่ ลงในธรรมวนิ ยั น.้ี ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด เหล่าหน่ึง รู้ชัดแล้วซ่ึงวิญญาณอย่างน้ี  รู้ชัดแล้วซ่ึงความ เกิดข้ึนแห่งวิญญาณอย่างน้ี  รู้ชัดแล้วซึ่งความดับแห่ง วิญญาณอย่างน้ี  รู้ชัดแล้วซ่ึงข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่ง วญิ ญาณอยา่ งนี้ แลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะเบอื่ หนา่ ย เพราะ คลายกำ�หนัด เพราะความดับ เพราะไม่ถือม่ันในวิญญาณ สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นช่ือว่าหลุดพ้นดีแล้ว  สมณะ หรอื พราหมณเ์ หลา่ ใดหลดุ พน้ ดแี ลว้   สมณะหรอื พราหมณ์ เหล่านั้นเป็นเกพลี สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเป็นเกพลี  วฏั ฏะยอ่ มไม่มีแก่สมณะหรือพราหมณ์เหลา่ นัน้ . 13

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ เพราะวญิ ญาณเปน็ ปจั จยั 06 จึงมีนามรูป -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๗๔/๖๐. … อานนท์  ก็คำ�น้ีว่า เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จงึ มนี ามรูปดังน้ี เป็นคำ�ทีเ่ รากล่าวแล้ว. อานนท์  เธอต้องทราบความข้อน้ี โดยปริยาย ดังต่อไปน้ี เหมือนที่เรากล่าวไว้แล้วว่า  เพราะวิญญาณ เปน็ ปจั จยั จึงมีนามรปู . อานนท์  ถ้าหากว่าวิญญาณไม่ก้าวลงในท้องแห่ง มารดา นามรูปจะกอ่ ตวั ขน้ึ มาในทอ้ งแห่งมารดาได้ไหม. ไม่ได้เลย พระเจ้าข้า. อานนท์  ถ้าหากว่าวิญญาณก้าวลงในท้องแห่ง มารดาแล้ว สลายลงเสีย  นามรูปจะบังเกิดข้ึนเพื่อความ เปน็ อย่างน้ไี ด้ไหม. ไม่ได้เลย พระเจา้ ขา้ . อานนท์  ถ้าหากว่าวิญญาณของเด็กอ่อนที่เป็น ชายหรือเป็นหญิงก็ตาม ขาดความสืบต่อ นามรูปจะถึงซ่ึง ความเจริญ ความงอกงาม ความไพบลู ย์ได้ไหม. ไมไ่ ด้เลย พระเจ้าขา้ . 14

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ อานนท์  เพราะเหตุนั้นในเร่ืองนี้ น่ันแหละคือเหตุ น่ันแหละคือนิทาน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปัจจัย ของนามรูป น้นั คือวญิ ญาณ. อานนท์  ก็คำ�น้ีว่า เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมี วญิ ญาณ ดังนี้ เป็นค�ำ ท่ีเรากลา่ วแล้ว. อานนท์  เธอต้องทราบความข้อน้ี  โดยปริยาย ดังต่อไปน้ี เหมือนท่ีเรากล่าวไว้แล้วว่า เพราะนามรูป เป็นปจั จยั จึงมวี ิญญาณ. อานนท์  ถ้าหากว่าวิญญาณ ไม่ได้มีท่ีตั้งอาศัยใน นามรปู แลว้ ความเกดิ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ ทกุ ข์ คอื ชาติ ชรา มรณะ ต่อไป จะปรากฏได้ไหม. ไมไ่ ดเ้ ลย พระเจา้ ข้า. อานนท์  เพราะเหตุน้ันในเร่ืองนี้ นั่นแหละคือเหตุ นั่นแหละคือนิทาน น่ันแหละคือสมุทัย น่ันแหละคือปัจจัย ของวิญญาณ นัน้ คือนามรปู . อานนท์  ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ สัตว์โลกจึงเกิดบ้าง จึงแก่บ้าง จึงตายบ้าง จึงจุติบ้าง จึงอุบัติบ้าง  ทางแห่ง การเรยี ก (อธวิ จน) กม็ เี พยี งเทา่ น ี้ ทางแหง่ การพดู จา (นริ ตุ ตฺ )ิ 15

พุทธวจน - หมวดธรรม กม็ เี พยี งเทา่ น ี้ ทางแหง่ การบญั ญตั  ิ (ปญฺ ตตฺ )ิ  กม็ เี พยี งเทา่ น ้ี เรอ่ื งทจ่ี ะตอ้ งรดู้ ว้ ยปญั ญา (ปญฺ าวจร) กม็ เี พยี งเทา่ น ี้ ความ เวยี นวา่ ยในวัฏฏะกม็ เี พยี งเท่านี้  นามรูปพรอ้ มทง้ั วิญญาณ ตง้ั อยู่ เพอ่ื การบัญญตั ซิ ึ่งความเปน็ อย่างน้ี. (ดูเพิ่มเติมเก่ียวกับรายละเอียดของนามรูป  และที่ต้ังของ วิญญาณไดท้ ่หี น้า 36 และ 49.  -ผรู้ วบรวม) 16

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ เพราะนามรูปเปน็ ปัจจยั 07 จงึ มีวิญญาณ -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๒๖/๒๕๐. ภิกษุทั้งหลาย  คร้ังก่อนแต่การตรัสรู้ เมื่อเรายัง ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ยู่ เรานนั้ ไดม้ คี วามคดิ อยา่ งนว้ี า่ สัตว์โลกน้ีถึงความลำ�บากหนอ ย่อมเกิด ย่อมแก่ ย่อมตาย ย่อมจุติ และย่อมอุบัติ ก็เมื่อสัตว์โลกไม่รู้จักอุบายเครื่อง ออกไปพน้ จากทกุ ขค์ อื ชราและมรณะแลว้   การออกจากทกุ ข์ คือชราและมรณะนี้ จะปรากฏข้ึนได้อยา่ งไร. ภิกษุทั้งหลาย  เรานั้นได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เม่ือ อะไรหนอมีอยู่ ชราและมรณะจึงมี เพราะอะไรเป็นปัจจัย จงึ มชี ราและมรณะ เพราะการท�ำ ในใจโดยแยบคายของเรานนั้ จึงได้รู้แจ้งด้วยปัญญาว่า เมื่อชาติน่ันแหละมีอยู่ ชราและ มรณะจึงม ี เพราะมชี าติเป็นปัจจัย จงึ มีชราและมรณะ. ภิกษุท้ังหลาย  เราน้ันได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เมื่อ อะไรหนอมีอยู่ ชาติจึงมี  เพราะอะไรเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเราน้ัน จึงได้รู้แจ้งด้วย ปัญญาวา่ เมอ่ื ภพน่ันแหละมอี ยู่ ชาตจิ งึ มี  เพราะมภี พเป็น ปัจจัย จึงมชี าติ. 17

พุทธวจน - หมวดธรรม … เมื่ออุปาทานน่ันแหละมีอยู่ ภพจึงมี  เพราะมี อุปาทานเปน็ ปัจจัย จึงมภี พ. … เมอื่ ตณั หานน่ั แหละมอี ยู่ อปุ าทานจงึ ม ี เพราะมี ตัณหาเปน็ ปจั จยั จงึ มีอปุ าทาน. … เม่ือเวทนานั่นแหละมีอยู่ ตัณหาจึงมี  เพราะมี เวทนาเปน็ ปัจจยั จงึ มีตณั หา. … เม่ือผัสสะน่ันแหละมีอยู่ เวทนาจึงมี  เพราะมี ผสั สะเป็นปัจจยั จึงมเี วทนา. … เมอื่ สฬายตนะนนั่ แหละมอี ยู่ ผสั สะจงึ ม ี เพราะมี สฬายตนะเป็นปัจจยั จงึ มผี สั สะ. … เมอ่ื นามรปู นน่ั แหละมอี ยู่ สฬายตนะจงึ ม ี เพราะมี นามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ. ภิกษุท้ังหลาย  เราน้ันได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เม่ืออะไรหนอมีอยู่ นามรูปจึงมี  เพราะอะไรเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเราน้ัน จึงได้รู้แจ้งด้วยปัญญาว่า เม่ือวิญญาณนั่นแหละมีอยู่ นามรปู จงึ ม ี เพราะมวี ิญญาณเปน็ ปจั จยั จึงมีนามรูป. ภิกษุท้ังหลาย  เราน้ันได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เมื่ออะไรหนอมีอยู่ วิญญาณจึงมี  เพราะอะไรเป็นปัจจัย 18

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ จึงมีวิญญาณ  เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเรานั้น จึงได้รู้แจ้งด้วยปัญญาว่า เมื่อนามรูปน่ันแหละมีอยู่ วิญญาณจึงม ี เพราะมีนามรปู เปน็ ปจั จัย จึงมวี ิญญาณ. ภิกษุท้ังหลาย  ความรู้แจ้งน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า วญิ ญาณนี้ ยอ่ มเวยี นกลบั มา ไมไ่ ปพน้ จากนามรปู ไดเ้ ลย ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นี้ สตั วโ์ ลกจงึ เกดิ บา้ ง จงึ แกบ่ า้ ง จงึ ตายบา้ ง จึงจุติบา้ ง จึงอุบตั บิ ้าง กลา่ วคอื เพราะมนี ามรปู เป็นปจั จยั จึงมีวิญญาณ  เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะมนี ามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ  เพราะมสี ฬายตนะ เปน็ ปัจจยั จงึ มีผสั สะ  เพราะมีผสั สะเปน็ ปจั จัย จึงมเี วทนา  เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา  เพราะมีตัณหาเป็น ปัจจัย จึงมีอุปาทาน  เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ  เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ  เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะท้ังหลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ย่อมมีด้วยอาการอยา่ งน้.ี ภิกษทุ ้งั หลาย  จักษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง ได้เกิดข้ึนแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายท่ีเราไม่เคยได้ฟัง มากอ่ นวา่ ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม (สมทุ โย)  ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม  (สมทุ โย) ดังน้ี. 19

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย  เราน้ันได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เม่ือ อะไรหนอไม่มีอยู่ ชราและมรณะจึงไม่มี  เพราะอะไรดับ ชราและมรณะจึงดับ  เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคาย ของเราน้นั จงึ ไดร้ ู้แจง้ ดว้ ยปัญญาวา่ เมือ่ ชาตนิ น่ั แหละไมม่ ี ชราและมรณะจึงไม่มี  เพราะความดับแห่งชาติ จึงมี ความดับแหง่ ชราและมรณะ. ภิกษุทั้งหลาย  เรานั้นได้มีความคิดอย่างน้ีว่า เม่ือ อะไรหนอไม่มีอยู่ ชาติจึงไม่มี  เพราะอะไรดับ ชาติจึงดับ  เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเราน้ัน จึงได้รู้แจ้งด้วย ปัญญาว่า เมื่อภพนั่นแหละไม่มี ชาติจึงไม่มี  เพราะมี ความดับแห่งภพ จึงมีความดับแหง่ ชาต.ิ … เม่อื อุปาทานนัน่ แหละไมม่ ี ภพจงึ ไม่ม ี เพราะมี ความดบั แห่งอปุ าทาน จึงมคี วามดบั แห่งภพ. … เมอื่ ตณั หานนั่ แหละไมม่ ี อปุ าทานจงึ ไมม่  ี เพราะมี ความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับอปุ าทาน. … เมอื่ เวทนานน่ั แหละไมม่ ี ตณั หาจงึ ไมม่  ี เพราะมี ความดับแหง่ เวทนา จึงมีความดับแหง่ ตณั หา. … เมอื่ ผสั สะน่ันแหละไมม่ ี เวทนาจงึ ไมม่ ี  เพราะมี ความดบั แหง่ ผสั สะ จึงมีความดับแหง่ เวทนา. 20

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ … เม่ือสฬายตนะน่ันแหละไม่มี  ผัสสะจึงไม่มี  เพราะมีความดับแหง่ สฬายตนะ จึงมคี วามดบั แห่งผัสสะ. … เม่ือนามรูปน่ันแหละไม่มี สฬายตนะจึงไม่มี  เพราะมีความดบั แห่งนามรูป จึงมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ. ภิกษุทั้งหลาย  เราน้ันได้มีความคิดอย่างนี้ว่า เม่ือ อะไรหนอไมม่ ี นามรปู จงึ ไมม่  ี เพราะอะไรดบั นามรปู จงึ ดบั   เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเราน้ัน จึงได้รู้แจ้งด้วย ปัญญาว่า เมื่อวิญญาณน่ันแหละไม่มี นามรูปจึงไม่มี เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จงึ มคี วามดบั แหง่ นามรปู . ภิกษุทั้งหลาย  เราน้นั ได้มีความคิดอย่างน้วี ่า เม่อื อะไรหนอไมม่ ี วญิ ญาณจงึ ไมม่  ี เพราะอะไรดบั วญิ ญาณจงึ ดบั   เพราะการทำ�ในใจโดยแยบคายของเราน้ัน จึงได้รู้แจ้งด้วย ปัญญาว่า เมื่อนามรูปนั่นแหละไม่มี วิญญาณจึงไม่มี เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ.  ภิกษุท้ังหลาย  ความรู้แจ้งน้ีได้เกิดข้ึนแก่เราว่า หนทางเพ่อื การตรัสร้นู ้ี เราได้บรรลุแล้ว ได้แก่ส่งิ เหล่าน้คี ือ เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ  เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป  เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ  21

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ  เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา  เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา  เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน  เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ  เพราะมี ความดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาต ิ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาตนิ น่ั แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะ ทงั้ หลาย จงึ ดบั สนิ้   ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ นี้ ยอ่ มมี ไดด้ ้วยอาการอยา่ งนี.้ ภกิ ษทุ ั้งหลาย  จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสวา่ ง ได้เกิดข้ึนแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยได้ฟัง มาก่อนวา่ ความดับ (นโิ รธ)  ความดับ (นิโรธ) ดงั นี้. ภิกษุทั้งหลาย  เปรียบเหมือนบุรุษเมื่อเท่ียวไปใน ปา่ ทบึ ไดพ้ บรอยทางซง่ึ เปน็ หนทางเกา่ ทมี่ นษุ ยใ์ นกาลกอ่ น เคยใชเ้ ดนิ ทางแลว้ เขาจงึ เดนิ ตามทางนนั้ ไป เมอ่ื เดนิ ไปตาม ทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครอันเป็นราชธานีโบราณซ่ึงมนุษย์ ท้ังหลายในกาลก่อนเคยอยู่อาศัยมา เป็นที่สมบูรณ์ด้วย สวน ป่าไม้ สระโบกขรณี ซากกำ�แพงล้อม ล้วนน่าร่ืนรมย์  ภิกษุทั้งหลาย  ลำ�ดับน้ัน บุรุษคนน้ันจึงเข้าไปกราบทูลแก่ 22

เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จติ มโน วิญญาณ พระราชา หรือแก่มหาอำ�มาตย์ของพระราชาว่า ขอเดชะ ขอพระองค์จงทรงทราบเถดิ ข้าพระพุทธเจา้ เม่ือเท่ียวไปใน ปา่ ทบึ ไดพ้ บรอยทางซงึ่ เปน็ หนทางเกา่ ทม่ี นษุ ยใ์ นกาลกอ่ น เคยใชเ้ ดนิ ทางแลว้ เขาจงึ เดนิ ตามทางนนั้ ไป เมอ่ื เดนิ ไปตาม ทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครอันเป็นราชธานีโบราณซ่ึงมนุษย์ ท้ังหลายในกาลก่อนเคยอยู่อาศัยมา เป็นที่สมบูรณ์ด้วย สวน ป่าไม้ สระโบกขรณี ซากกำ�แพงล้อม ล้วนน่าร่ืนรมย์  ขอพระองค์โปรดทรงปรบั ปรงุ ทนี่ ้ันให้เป็นพระนครเถดิ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ล�ำ ดบั นน้ั พระราชาหรอื มหาอ�ำ มาตย์ ของพระราชา จงึ ปรบั ปรงุ สถานทนี่ นั้ ขน้ึ เปน็ นคร สมยั ตอ่ มา นครนั้นได้กลายเป็นนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง มีประชาชน เป็นอันมาก เกล่ือนกล่นด้วยมนุษย์ และเป็นนครที่ถึงแล้ว ซง่ึ ความเจรญิ ไพบลู ย์ นฉี้ นั ใด  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ขอ้ นกี้ ฉ็ นั นนั้ เราไดพ้ บรอยทางซง่ึ เปน็ หนทางเกา่ ทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำ�เนินแล้ว  ภิกษุทั้งหลาย  กร็ อยทางซงึ่ เปน็ หนทางเกา่ ทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย ในกาลก่อนเคยทรงดำ�เนินแล้วน้ันเป็นอย่างไร คือหนทาง อันประกอบด้วยองค์ ๘ อันประเสริฐนี้น่ันเอง กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ 23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม สมั มาอาชวี ะ สมั มาวายามะ สัมมาสติ สมั มาสมาธิ นแี้ หละ รอยทางซ่ึงเป็นหนทางเก่าที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ในกาลก่อนเคยทรงดำ�เนินแล้ว  เราน้ันก็ได้ดำ�เนินแล้วไป ตามหนทางนน้ั . เมื่อดำ�เนินไปตามหนทางนั้นอยู่ เราได้รู้ชัดซึ่งชรา และมรณะ เหตุเกิดข้ึนแห่งชราและมรณะ ความดับแห่ง ชราและมรณะ และได้รู้ชัดซ่ึงข้อปฏิบัติอันให้ถึงความดับ แห่งชราและมรณะ.  เมื่อดำ�เนินไปตามหนทางนั้นอยู่ เราได้รู้ชัดซ่ึงชาติ เหตเุ กดิ ขนึ้ แหง่ ชาติ ความดบั แหง่ ชาติ และไดร้ ชู้ ดั ขอ้ ปฏบิ ตั ิ อันใหถ้ งึ ความดับแห่งชาติ. … เราได้รชู้ ัดซง่ึ ภพ … ... เราได้รู้ชัดซ่ึงอปุ าทาน … ... เราได้ร้ชู ดั ซึ่งตัณหา … ... เราได้รชู้ ัดซึ่งเวทนา … ... เราได้รู้ชดั ซึง่ ผสั สะ … ... เราไดร้ ูช้ ัดซ่งึ สฬายตนะ … ... เราได้รูช้ ดั ซ่ึงนามรปู … ... เราไดร้ ชู้ ดั ซ่งึ วญิ ญาณ … 24

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ เมื่อดำ�เนินไปตามหนทางน้ันอยู่ เราได้รู้ชัดซ่ึง สงั ขารทง้ั หลาย เหตเุ กดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขาร ความดบั แหง่ สงั ขาร และได้รูช้ ัดซงึ่ ข้อปฏบิ ัติอนั ใหถ้ ึงความดบั แห่งสงั ขาร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ครนั้ ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่ หนทางนนั้ แลว้ เราจงึ ไดบ้ อกแก่พวกภกิ ษุ ภิกษุณี อบุ าสก อบุ าสิกาทั้งหลาย. ภิกษุท้ังหลาย  พรหมจรรย์ของเราจึงได้ตั้งมั่นและ รุ่งเรือง  แผ่ไพศาล  เป็นท่ีรู้ของชนอันมาก  เป็นปึกแผ่น แนน่ หนา จนกระทงั่ เทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย กป็ ระกาศได้ เป็นอยา่ งดี ดังน้.ี 25

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ เพราะสงั ขารเปน็ ปัจจยั 08 จงึ มวี ญิ ญาณ -บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๑๙๗/๙๒. ...ก็อริยญายธรรม  อันอริยสาวกน้ันเห็นแจ้ง แทงตลอดด้วยปญั ญาเปน็ อยา่ งไร. คหบด ี อรยิ สาวกในธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มพจิ ารณาเหน็ อยา่ งนว้ี า่ เมอ่ื สง่ิ นมี้ ี สง่ิ นย้ี อ่ มมี เพราะความเกดิ ขนึ้ แหง่ สงิ่ น้ี ส่ิงน้ีจึงเกิดขึ้น เม่ือสิ่งน้ีไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี เพราะความดับ แหง่ สิง่ นี้ สิง่ น้จี งึ ดบั ไป ไดแ้ ก่สิ่งเหลา่ น้ี คอื เพราะมีอวิชชาเปน็ ปัจจัย จึงมีสังขารทัง้ หลาย เพราะมสี งั ขารเป็นปัจจยั จึงมวี ิญญาณ เพราะมวี ญิ ญาณเป็นปจั จัย จึงมนี ามรูป เพราะมีนามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ เพราะมสี ฬายตนะเป็นปัจจัย จงึ มีผัสสะ เพราะมผี ัสสะเป็นปจั จัย จึงมเี วทนา เพราะมีเวทนาเปน็ ปัจจยั จงึ มตี ณั หา เพราะมีตณั หาเปน็ ปัจจัย จงึ มอี ุปาทาน เพราะมอี ปุ าทานเปน็ ปจั จยั จึงมภี พ เพราะมีภพเปน็ ปัจจยั จงึ มชี าติ 26

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะท้ังหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน ความ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ งั้ สนิ้ นี้ ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน.้ี เพราะความจางคลายดบั ไปโดยไมเ่ หลอื แหง่ อวชิ ชานน้ั นน่ั เทยี ว จงึ มคี วามดบั แหง่ สงั ขาร เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จงึ มคี วามดบั แหง่ นามรปู เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มคี วามดบั แหง่ ผสั สะ เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จงึ มคี วามดบั แหง่ ตณั หา เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาติ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาตนิ น่ั แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลายจงึ ดบั สน้ิ ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ข์ ทง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งน้ี ดงั น.้ี นแ้ี ลอรยิ ญายธรรม อนั อรยิ สาวกนน้ั เหน็ แจง้ แทงตลอด ดว้ ยปญั ญา. 27

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ นามรปู ปัจจยั แหง่ การบญั ญัติ 09 วิญญาณขนั ธ์ -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๐๒/๑๒๓. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ขันธ์ทั้งหลายมีช่ือเรียกว่าขันธ์ได้ด้วย เหตุเทา่ ไร. ภิกษุ  รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง   ท้ังท่ีเป็นอดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม  หยาบหรือละเอียดก็ตาม  เลวหรือประณีตก็ตาม  อยู่ใน ที่ไกลหรือในท่ใี กล้กต็ าม นเี้ รยี กวา่ รูปขันธ.์ ภิกษุ  เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ท้ังที่เป็นอดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม  เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม หยาบหรือละเอียดก็ตาม  เลวหรือประณีตก็ตาม  อยู่ใน ทไี่ กลหรือในท่ีใกลก้ ็ตาม นเ้ี รียกว่าเวทนาขนั ธ.์ ภิกษุ  สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ท้ังท่ีเป็นอดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม  เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม หยาบหรือละเอียดก็ตาม  เลวหรือประณีตก็ตาม  อยู่ใน ที่ไกลหรือในท่ีใกล้กต็ าม นเ้ี รยี กวา่ สัญญาขนั ธ.์ ภิกษุ  สังขารอย่างใดอย่างหน่ึง ท้ังท่ีเป็นอดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม  เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม  หยาบหรือละเอียดก็ตาม  เลวหรือประณีตก็ตาม  อยู่ใน ท่ไี กลหรอื ในทใี่ กล้ก็ตาม นเ้ี รยี กวา่ สังขารขนั ธ.์ 28

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ ภิกษุ  วิญญาณอย่างใดอย่างหน่ึง ท้ังท่ีเป็นอดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ นั กต็ าม  เปน็ ภายในหรอื ภายนอกกต็ าม หยาบหรือละเอียดก็ตาม  เลวหรือประณีตก็ตาม  อยู่ใน ที่ไกลหรือในทใี่ กล้กต็ าม นเ้ี รยี กวา่ วญิ ญาณขันธ.์ ภกิ ษ ุ ขนั ธท์ งั้ หลาย ยอ่ มมชี อ่ื เรยี กวา่ ขนั ธ์ ดว้ ยเหตุ เพียงเทา่ น้.ี ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการ บญั ญตั ริ ปู ขนั ธ ์ อะไรหนอเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แหง่ การบญั ญตั เิ วทนาขนั ธ์ อะไรหนอเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แหง่ การบญั ญตั สิ ญั ญาขนั ธ ์ อะไรหนอเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แหง่ การบญั ญตั สิ งั ขารขนั ธ ์ อะไรหนอเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แหง่ การบัญญัตวิ ิญญาณขันธ์. ภิกษุ  มหาภูตรูป ๔ เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการ บญั ญตั ริ ปู ขนั ธ ์ ผสั สะ1เปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แหง่ การบญั ญตั ิ เวทนาขันธ์  ผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการบัญญัติ สัญญาขันธ์  ผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการบัญญัติ สังขารขันธ์  นามรูปเป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการบัญญัติ วิญญาณขนั ธ.์ 1. ดูเพ่มิ เติมเก่ยี วกับผัสสะได้ท่หี น้า 178 และ 187  และดูรายละเอียดเพ่มิ เติม ของขนั ธท์ ง้ั ๕ ไดท้ ห่ี นา้ 255.  -ผรู้ วบรวม 29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ วญิ ญาณ ตั้งอย่ไู ด้ในทใี่ ด การกา้ วลงแหง่ นามรปู กม็ อี ยใู่ นทน่ี น้ั 10(อปุ มาดว้ ยแสงกบั ฉาก) -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๒๒/๒๔๕. ภิกษุท้ังหลาย  อาหาร ๔ อย่างเหล่านี้ เป็นไปเพื่อ ความดำ�รงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพ่ืออนุเคราะห์แก่ เหล่าสัตว์ผู้แสวงหาท่ีเกิด  อาหาร ๔ อย่างน้ันมีอะไรบ้าง คอื กวฬกี าราหาร (อาหารคอื ค�ำ ขา้ ว) ทห่ี ยาบบา้ ง ละเอยี ดบา้ ง  อาหารท่ีสองคือผัสสะ  อาหารท่ีสามคือมโนสัญเจตนา  อาหารที่สี่คือวิญญาณ  ภิกษุท้ังหลาย  เหล่านี้แลอาหาร ๔ อย่าง เป็นไปเพ่ือความดำ�รงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพ่อื อนเุ คราะห์แก่เหล่าสตั วผ์ ้แู สวงหาทเ่ี กิด. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหาร คือคำ�ข้าวแล้ว วิญญาณก็ต้ังอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ใน อาหารคอื ค�ำ ขา้ วนน้ั วญิ ญาณตงั้ อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในทใี่ ด การก้าวลงแห่งนามรูป (นามรปู สฺส อวกกฺ นฺติ) กม็ ีใน ทน่ี นั้ การกา้ วลงแหง่ นามรปู มใี นทใี่ ด ความเจรญิ แหง่ สงั ขาร ทง้ั หลายกม็ ใี นทน่ี น้ั ความเจรญิ แหง่ สงั ขารทงั้ หลายมใี นทใ่ี ด การเกดิ ในภพใหมต่ อ่ ไปกม็ ใี นทนี่ นั้ การเกดิ ในภพใหมต่ อ่ ไป 30

เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ มใี นทใี่ ด ชาติ ชราและมรณะตอ่ ไปกม็ ใี นทน่ี นั้ ชาติ ชราและ มรณะต่อไปมีในที่ใด เราเรียกท่ีนั้นว่า เป็นที่มีความโศก มีธุลี และมีความคบั แคน้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหารคอื ผสั สะแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในอาหาร คือผัสสะน้ัน วิญญาณต้ังอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ในทใ่ี ด การกา้ วลงแหง่ นามรปู กม็ ใี นทน่ี น้ั  … เราเรยี กทน่ี น้ั วา่ เปน็ ท่ีมี ความโศก มธี ลุ ี และมีความคับแคน้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหารคอื มโนสญั เจตนาแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในอาหารคือมโนสัญเจตนาน้ัน วิญญาณต้ังอยู่ได้ เจริญ งอกงามอยู่ได้ในท่ีใด การก้าวลงแห่งนามรูปก็มีในที่นั้น … เราเรยี กทนี่ น้ั วา่ เปน็ ทมี่ คี วามโศก มธี ลุ ี และมคี วามคบั แคน้ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหาร คือวิญญาณแล้ว วิญญาณก็ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือวิญญาณน้ัน วิญญาณตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงาม อยู่ไดใ้ นทีใ่ ด การกา้ วลงแห่งนามรูปกม็ ใี นท่ีน้นั การก้าวลง แห่งนามรูปมีในท่ีใด ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลายก็มีใน ที่นั้น ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลายมีในที่ใด การเกิดใน 31

พุทธวจน - หมวดธรรม ภพใหมต่ อ่ ไปกม็ ใี นทนี่ น้ั การเกดิ ในภพใหมต่ อ่ ไปมใี นทใ่ี ด ชาติ ชราและมรณะต่อไปก็มีในท่ีนั้น ชาติ ชราและมรณะ ตอ่ ไปมใี นทใ่ี ด เราเรยี กทนี่ นั้ วา่ เปน็ ทม่ี คี วามโศก มธี ลุ ี และ มีความคับแคน้ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย  เปรยี บเหมอื นเมอ่ื มนี �้ำ ยอ้ ม คอื ครงั่ ขมน้ิ สเี ขยี ว หรอื สบี านเยน็ ชา่ งยอ้ มหรอื ชา่ งเขยี นกส็ ามารถ เขียนรูปสตรีหรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง หรอื ทผี่ นื ผา้ ซง่ึ เกล้ียงเกลาได้ครบทกุ ส่วน แมฉ้ นั ใด ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ขอ้ นก้ี ฉ็ นั นน้ั ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหารคอื ค�ำ ขา้ วแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในอาหารคอื ค�ำ ขา้ วนน้ั วญิ ญาณตง้ั อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในทใี่ ด การกา้ วลงแหง่ นามรปู กม็ ใี นทนี่ นั้ … เราเรยี กทนี่ นั้ วา่ เป็นที่มีความโศก มีธุลี และมีความคับแคน้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหารคอื ผสั สะแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยไู่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ ด้ ในอาหาร คือผัสสะนัน้ … ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหารคอื มโนสัญเจตนาแล้ว วิญญาณก็ตงั้ อยู่ได้ เจริญงอกงามอย่ไู ด้ ในอาหารคือมโนสญั เจตนานนั้ … 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook