สัปปุริสธรรม ๗ หนงั สอื สอนพระพุทธศาสนาแกเ่ ด็ก นายสง กรอุไร แตง่ ไดร้ บั พระราชทานรางวัล ชนั้ ที่ ๑ ในการประกวดประจำ�พทุ ธศักราช ๒๔๘๘
“…บณั ฑติ ไดส้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาในระดบั สงู ถอื ไดว้ า่ เปน็ ผมู้ พี น้ื ฐาน ความรคู้ วามคดิ ทก่ี วา้ งขวางหนกั แนน่ เพยี งพอ ทจ่ี ะพจิ ารณาแยกแยะ สว่ นดสี ว่ นเสยี ของเรอ่ื งตา่ ง ๆ สง่ิ ตา่ ง ๆ ได้ ความสามารถในการพจิ ารณา แยกแยะดังนี้ นบั วา่ มีความส�ำ คัญอย่างยิ่งต่อการปฏิบัตงิ านพฒั นา ซึง่ บณั ฑติ จะตอ้ งเปน็ ก�ำ ลงั สำ�คัญตอ่ ไปในอนาคต ทง้ั นี้ เพราะกจิ การงาน ต่าง ๆ อาจจะมีทั้งส่วนท่ีดี ที่มีประสิทธิภาพ และส่วนที่บกพร่อง ที่ เป็นอุปสรรคขัดขวางความสำ�เร็จของงานอยู่ หากบัณฑิตพิจารณา แยกแยะได้ กจ็ ะสามารถรกั ษาสว่ นทด่ี ใี ห้คงไว้ แลว้ ปรับปรงุ แกไ้ ขสว่ น ที่ยังบกพร่องให้ดีขึ้นสมบูรณ์ขึ้น โดยนำ�ความรู้ท่ีมีอยู่มาปรับใช้ให้
เหมาะสม ด้วยความตั้งใจดี และความจริงใจในการพัฒนา งานท่ีทำ�ก็ จะดำ�เนินก้าวหน้าไปโดยราบร่ืน และสำ�เร็จผล อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ส่วนรวมและประเทศชาติมีความเจริญมั่นคงอย่างยั่งยืน แทจ้ รงิ …” พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผ่ สู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษาจาก สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ประจำ�ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๖ -๒๕๕๗ ณ หอประชุมเฉลมิ พระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา วนั พฤหสั บดี ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๘
พระแทรกคำ� วพัดรคะฤปหรบะดธาี นพใรนะอพารระาอมุโหบลสวถง
คำ�น�ำ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชประสงค์ท่ีจะให้เด็กไทยสนใจศึกษาพระพุทธศาสนาให้ มากข้ึน จึงมีพระราชบัญชาให้คัดเลือกหนังสือที่ชนะการประกวด หนงั สอื สอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ นบั ตง้ั แตป่ พี ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๑ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๗ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชพิธีวิสาขบูชา มาจัดพิมพ์ใหม่ เพ่อื พระราชทานใหแ้ กโ่ รงเรียนและห้องสมุดต่าง ๆ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม- บรมราชกุมารี ไดค้ ดั เลอื กหนงั สอื เรอ่ื ง สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ ซงึ่ แตง่ โดย นายสง กรอุไร มาจัดพิมพ์ใหม่ ได้ปรับปรุงรูปแบบ ทำ�เชิงอรรถ การสะกดค�ำ และมภี าพประกอบเพอ่ื ใหน้ า่ สนใจและเหมาะแกเ่ ดก็ และเยาวชนมากยง่ิ ข้นึ ส่วนเน้อื หาสาระคงไวต้ ามต้นฉบับเดิม หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เดก็ เยาวชน และผู้สนใจท่ัวไป สมพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ส�ำ นักงานโครงการ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พุทธศกั ราช ๒๕๕๙
สารบัญ ๙ ๑๓ สัปปุริสธรรม ๑๖ บทที่ ๑ ให้เปน็ คนรู้จักเหตุ ๑๗ ค�ำ ถามบทที่ ๑ ๒๒ บทที่ ๒ ให้เป็นคนรู้จกั ผล ๒๓ คำ�ถามบทที่ ๒ ๒๘ บทที่ ๓ ให้เป็นคนรู้จกั ตน ๒๙ คำ�ถามบทที่ ๓ ๓๔ บทที่ ๔ ให้เป็นคนรู้จักประมาณ ๓๕ ค�ำ ถามบทที่ ๔ ๔๒ บทที่ ๕ ให้เปน็ คนรู้จกั เวลา ๔๓ คำ�ถามบทที่ ๕ ๔๘ บทที่ ๖ ให้เป็นผู้รู้จกั ชุมนุมชน ๔๙ ค�ำ ถามบทที่ ๖ ๕๔ บทที่ ๗ ให้รู้จกั เลือกคน ๕๕ คำ�ถามบทที่ ๗ สรปุ
สปั ปุริสธรรม เด็ก ๆ ต้องขยัน ไปโรงเรียนกันนะครบั เดก็ ชายชศู กั ด์ิ ชาญวทิ ย์ เปน็ เดก็ ฉลาด ชอบการเรยี นอยา่ ง หาตัวจับยาก ทุกวัน เมื่อต่ืนนอนเช้าแล้ว เป็นต้องรีบทำ�หน้าที่ ของตน คือสีฟัน๑ ล้างหน้า อาบนำ้� และทำ�ธุระอ่ืน ๆ ที่เป็นกิจ ประจ�ำ ตวั จนเรยี บรอ้ ยแลว้ กเ็ ตรยี มจดั เครอ่ื งเลา่ เรยี น คอยเวลาทจ่ี ะ ไปโรงเรียนเสมอมไิ ด้ขาด เมื่อไปโรงเรยี นกต็ ้งั ใจเรยี นจรงิ ๆ ทัง้ เป็น เด็กเชื่อฟังผู้ใหญ่สั่งสอน ถึงเวลาพักและเวลาเล่น ก็หยุดพักและ ๑ แปรงฟัน 9
เลน่ กับเพ่อื นนกั เรยี นอยา่ งสุภาพเรยี บร้อย เวลาเลกิ เรยี นกลบั บ้าน ถา้ ครใู ห้การบ้านมา เธอกท็ �ำ ทุกคร้ังไม่เคยขาด เม่ือไมเ่ ข้าใจ เธอก็ ถามคุณลุงของเธอเสียก่อน ไม่ทำ�อย่างขอไปที ให้พอเสร็จหน้าที่ อยา่ งเดียวเหมอื นเดก็ บางคน เดก็ ชายชศู กั ด์ิ เปน็ เดก็ มภี มู ลิ �ำ เนา คอื บา้ นเดมิ อยตู่ า่ งจงั หวดั พอ่ แมไ่ ดน้ �ำ มาฝากใหอ้ ยกู่ บั นายชติ ชาญวทิ ย์ ผเู้ ปน็ ลงุ ในกรงุ เทพฯ การที่เธอทำ�ตัวของเธออย่างนี้ เป็นเหตุให้คุณลุงของเธอรักใคร่ เหมือนลูกของท่านทีเดียว ฉะน้นั บางวัน เม่อื นายชิตว่าง ก็มักจะ เรยี กเด็กชายชูศักด์ิไปถามถึงเรื่องการเรียน บางครั้งก็สอนความรู้ อน่ื ๆ ให้เสมอมา เกง่ มากหลานรัก เทอมน้ีผมสอบไดเ้ กรด ๔ หมดทุกวชิ าครับ 10
วนั หนง่ึ เปน็ วนั โรงเรยี นหยดุ เขา้ พรรษา คณุ ลงุ ของเดก็ ชาย ชศู กั ดไ์ิ ดไ้ ปทำ�บญุ ทว่ี ดั และฟงั เทศน์ เดก็ ชายชศู กั ดก์ิ ไ็ ดไ้ ปกบั คณุ ลงุ ของเธอดว้ ย เมอ่ื ทำ�บญุ ฟังเทศนแ์ ล้วกลับบา้ น ในตอนค่�ำ เดก็ ชาย ชศู กั ดไ์ิ ด้เข้าไปหาคุณลงุ ของเธอแล้วพดู วา่ ง้ันลุงจะอธิบาย ใหฟ้ งั คุณลุงครับ ผมฟงั พระเทศน์ ไม่เข้าใจเลย คณุ ลงุ ขอรบั ๒ เมอ่ื กลางวนั ทไ่ี ปท�ำ บญุ พระทา่ นเทศน์ ผมฟงั ไมเ่ ข้าใจเลย ไดย้ ินแต่ทา่ นพดู ถงึ สัตบุรษุ สัตบรุ ุษบ่อย ๆ สัตบรุ ุษ คือใครกนั ขอรับ ผมอยากทราบ นายชิต ดีแล้ว หลานไม่เข้าใจแล้วถามลุง เพราะลุงคิดจะ ถามหลานอยู่เหมือนกัน เห็นหลานน่ังฟังพระเทศน์จนจบ หลาน ไม่เขา้ ใจ ลงุ จะชแี้ จงใหฟ้ งั ๒ ครับ 11
พระทา่ นเทศนว์ นั น้ี ทา่ นเทศนเ์ รอ่ื ง สปั ปรุ สิ ธรรม ธรรมของ สัตบุรุษ ๗ อย่าง ลุงพูดอย่างน้ี หลานคงยังไม่เข้าใจ ลุงจะพูดให้ ฟังง่าย ๆ ว่า พระท่านเทศน์เรอื่ ง วิธที �ำ ตวั เราใหเ้ ปน็ คนดี ๗ อย่าง ใครท�ำ ตามวธิ ี ๗ อยา่ งนน้ั ได้ คน ๆ นน้ั จะไดเ้ ปน็ คนดี คนดี พระทา่ น เรียกชือ่ วา่ “สัตบุรษุ ” หลานได้รู้แล้วว่า “สัตบุรุษ” คือใคร ทีนี้ลุงจะอธิบายวิธี ทำ�ตัวเราให้เป็นคนดี ๗ อย่าง ที่พระท่านสอนให้หลานฟังต่อไป แต่ลุงจะไม่พูดคราวเดียวท้ัง ๗ ข้อ จะพูดให้หลานฟังวันละข้อ หลานตั้งใจฟังให้ดีจะได้ทำ�ตัวของหลานให้เป็นคนดีอย่างท่ีพระ ท่านสอน แตล่ งุ จะบอกเสยี ก่อนวา่ คนดีนน้ั ใคร ๆ ก็อยากเป็น แต่ ท้ัง ๆ ท่อี ยากเป็น บางคนก็เปน็ ไม่ได้ เพราะอะไร เพราะท�ำ ไมถ่ กู วธิ ี เหมือนหลานทำ�เลข หลานอยากท�ำ ให้ถูก แต่ไมร่ จู้ ักวธิ ีทำ� ก็ทำ� ไมไ่ ด้ จะเปน็ คนดกี เ็ หมอื นท�ำ เลข ตอ้ งท�ำ ใหถ้ กู วธิ ี ท�ำ ไมถ่ กู วธิ กี เ็ ปน็ คนดไี มไ่ ด้ เพราะอยา่ งน้ี พระทา่ นจงึ สอนวธิ ที �ำ ตวั ใหเ้ ปน็ คนดี ใหค้ น ทีไ่ ปทำ�บุญเขา้ พรรษาฟัง 12
บท๑ท่ี ใหเ้ ป็นคน ร้จู กั เหตุ อยากกนิ ขนม กต็ อ้ งมเี งินซ้อื ข้อ ๑ พระท่านสอนว่า ให้เป็นคนรู้จักเหตุ เหตุคืออะไร หลานคงยงั ไมเ่ ขา้ ใจ เหตนุ น้ั ลงุ จะเปรยี บใหฟ้ งั เสยี กอ่ น เหตุ เปรยี บ เหมอื นสตางค์ หลานอยากกนิ ขนม หลานเอาสตางคไ์ ปซอ้ื หลานก็ ได้ขนมกินตามต้องการ ขนมเปน็ ผลท่มี าจากสตางค์ สตางค์เท่ากับ เหตุ ลุงเปรียบอย่างนี้ หลานพอจะเข้าใจได้แล้ว ทีนี้ลุงจะอธิบาย ค�ำ วา่ เหตทุ ่ีไมต่ ้องเปรียบให้ฟงั ต่อไป 13
เหตุ คำ�นี้ หมายเอา สิ่งที่ทำ�ให้เกิดผล เหตุกับผลเป็นสิ่ง คกู่ นั วนั นล้ี งุ พดู ฉะเพาะ๓ค�ำ วา่ เหตุ หลานจงจ�ำ ฉะเพาะความหมาย ของคำ�ว่า เหตุ อย่างเดยี วกอ่ น ค�ำ ว่าผลไว้ทหี ลัง ลงุ จะพดู ใหฟ้ งั อกี เหตุ นัน้ แบง่ เป็น ๒ อยา่ ง คือ ๑. เหตุทดี่ ี ๒. เหตทุ ่ชี ัว่ ทำ�ไม เหตุจึงมี ๒ อย่าง เพราะเหตุที่ดีมีผลเป็นความดี เหตทุ ช่ี ว่ั มผี ลเปน็ ความชว่ั ความดที �ำ ใหค้ นเปน็ คนดี ความชว่ั ท�ำ ให้ คนเปน็ คนช่วั หลานอยากเป็นคนดี กต็ อ้ งท�ำ แตเ่ หตุทด่ี ี ไม่ทำ�เหตุ ที่ชว่ั เชน่ เดียวกับหลานอยากมชี ่ือว่า เปน็ นกั เรยี นทีด่ ี หลานกต็ อ้ ง ต้ังใจเรียน ไม่เกียจคร้าน ถ้าหลานทำ�ได้อย่างน้ัน ก็ได้ชื่อว่า เป็น คนขยนั เปน็ นกั เรยี นท่ีดี เพราะได้ท�ำ เหตุที่ดี นกั เรียนท่ีดี ต้องมีความขยนั เรยี น แตถ่ า้ หลานไมต่ ง้ั ใจเรยี น หลานกจ็ ะไดช้ อ่ื วา่ เปน็ คนเกยี จครา้ น เพราะท�ำ เหตุทชี่ ่ัว คอื ไม่ตั้งใจเรยี น ๓ เฉพาะ 14
พระทา่ นสอนว่า ใหร้ ้จู กั เหตุ กเ็ ทา่ กับบอกว่า ให้เรียนรู้วา่ เหตอุ ยา่ งไหนเปน็ อยา่ งไร คอื เหตอุ ยา่ งไหนดี อยา่ งไหนไมด่ ี หลาน จะร้ไู ด้ว่า เหตุอยา่ งไหนดีหรอื ชั่ว หลานต้องรทู้ ่ผี ลของมัน คือ ทํำ�ไมบ้านเรา เหตุทจี่ ะให้ผลเปน็ ความสุข ถงึ รม่ รน่ื ? ไม่ทำ�ให้เดอื ดเนื้อร้อนใจ เมอื่ เราท�ำ ลงไปแล้ว เหตอุ ยา่ งน้ัน นบั เปน็ เหตดุ ี เหตอุ ย่างไหนทำ�แล้ว จะใหผ้ ลเป็นความทุกข์ เดือดรอ้ น เสยี หาย เหตอุ ย่างนัน้ เปน็ เหตุชัว่ ก่อนท่เี ราจะทำ�อะไรลงไป เราตอ้ งนึกเสยี กอ่ นวา่ ถา้ เราทำ� ลงไปแลว้ จะมผี ลเปน็ สขุ หรอื ทกุ ข์ การท�ำ ของเราจะไมผ่ ดิ เลย ถา้ เรา รู้จักเหตุ ดังท่ีพระท่านสอนอย่างท่ลี ุงพูดให้ฟังน้ี เราก็จะเป็นคนดี เพราะกอ่ นท�ำ เรารู้ตวั กอ่ นแล้วว่าจะดีหรือไมด่ ี วิธีที่ให้รู้จักเหตุ จึงเป็นวิธีที่ทำ�คนให้เป็นคนดีข้อแรก ท่ีลุง ฟงั พระทา่ นเทศนส์ อนในวันน้ัน แต่พระทา่ นไม่ไดพ้ ูดอย่างลงุ ท่าน ใช้คำ�พดู เรียกชื่อวิธที ่ี ๑ น้ี ตามภาษาบาลีของท่านว่า ธัมมัญญตุ า แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักเหตุ คำ�ว่า ธัมมัญญุตาน้ีหลานจงหัดจำ�ไว้ เวลาหลานฟังพระเทศนจ์ ะได้เข้าใจ ไมต่ ้องถามลงุ อกี 15
คำ� ถาม ประ จ�ำ บท ๑. เหตุ คืออะไร ? ๒. ๓. มีก่อี ย่าง รอู้ ย่างไร คืออะไรบ้าง ? เรียกว่า รูจ้ ักเหตุ ? ๔. ๕. รู้จักเหตุ การรจู้ ักเหตุ ท�ำ ให้เป็นคนดี เรียกตามคำ�พระ ได้อยา่ งไร ? ว่าอย่างไร ? 16
บท๒ท่ี ให้เป็นคน รู้จักผล วนั น้ลี งุ จะมาอธิบาย คำํ�ว่าผลให้ฟังนะ ครับคณุ ลุง วนั กอ่ น ลงุ พดู ถงึ ค�ำ วา่ ผลแลว้ หลานคงยงั จ�ำ ได้ คอื ลงุ พดู วา่ เหตุ คอื สง่ิ ทจ่ี ะทำ�ให้เกิดผล แตล่ ุงยังไม่ไดอ้ ธิบาย ค�ำ ว่า ผล ใหฟ้ ัง ผลนน้ั เปน็ สง่ิ ทม่ี ขี น้ึ เพราะเหตเุ ปน็ ผกู้ อ่ เชน่ ทล่ี งุ พดู แลว้ วา่ หลานเอา สตางคไ์ ปซอื้ ขนมกนิ หลานได้กินขนมเพราะสตางค์เป็นเหตุ เหตุมี 17
ท้ังดีและช่ัว ตามท่ีลุงอธิบายให้ฟังแล้ว ผลเป็นสิ่งท่ีมาจากเหตุ เม่ือเหตุดี ผลก็ดี เม่ือเหตุชั่ว ผลก็ช่ัว คำ�ว่า ผลนี้ หลานต้องจำ� ให้ได้วา่ มาจากเหตุ ผลจงึ แบ่งเปน็ ๒ อย่างเหมือนกับเหตุ คือ ๑. ผลท่ดี ี ๒. ผลที่ชวั่ ผลทดี่ ี ดี ช่วั เปน็ ความสุข ความไมเ่ ดือดเน้ือรอ้ นใจ ผลท่ีช่วั เป็นความทุกข์ เดือดร้อนและเสยี หาย ผลท้ังสองนี้ เป็นสิ่งที่คนเราจะต้องได้รับเสมอ เมื่อทำ�เหตุ ท่ีตรงกัน คือ ทำ�เหตุดี ก็ได้รับผลดี ทำ�เหตุช่ัว ก็ได้รับผลที่ชั่ว อยา่ งทพ่ี ูดกนั วา่ ปลูกพืชอยา่ งไหน กไ็ ดร้ บั ผลของพชื น้ัน การทำ�ดีทำ�ชั่ว เหมือนปลูกต้นไม้ เราปลูกต้นอะไร ต้นไม้ มันก็ให้ผลตามชะนิด๔ของมัน เราเห็นทุเรียน เราก็รู้ว่ามาจาก ต้นทุเรียน เราเห็นมะละกอ เราก็รู้ว่ามาจากต้นมะละกอ ความดี ความช่วั ก็เหมอื นกัน ๔ ชนดิ 18
ปลกู พรกิ ไว้ ต�ำํ น�ํำ้ พรกิ ดีกวา่ หลานคงสงสยั วา่ การรจู้ กั เหตุ กเ็ หมอื นรจู้ กั ผล เพราะเหตดุ ี ผลตอ้ งดี เหตชุ ว่ั ผลตอ้ งชว่ั ลงุ ควรพดู คราวเดยี วกนั ทล่ี งุ แยกกนั พดู เพราะบางคราว เราไดพ้ บผลกอ่ นเหตุก็มเี หมือนกัน เช่น อยู ..! ปวดทอ้ ง อยู่ ๆ เรากเ็ กดิ ปวดท้องข้ึนมาอย่างน้ี จงั เลย เท่ากับเราพบผลกอ่ นเหตุ คือเรารเู้ มอื่ เกดิ ปวดท้องแลว้ ความจรงิ ท่ีเราปวดท้องนน้ั เราตอ้ งกินอะไรท่ีไม่สะอาดเข้าไป เราไม่อยากปวดท้อง เรากต็ อ้ งไม่กินของเช่นน้นั 19
แต่จะทำ�อย่างไร เม่ือเราไม่รู้ก่อนเช่นนั้น อย่างน้ี เราต้อง ระวงั ตวั กอ่ นกนิ เราตอ้ งดใู หร้ แู้ นว่ า่ อาหารอยา่ งไหนท�ำ ใหป้ วดทอ้ งได้ การปวดท้องเป็นผลมาจากกิน ถ้าเรารู้อย่างนี้เราก็จะได้เพ่ิมการ ระวังตัวให้มากขึน้ เอ..! กนิ อะไรดนี ะ ท่จี ะไมป่ วดท้อง การรผู้ ล เปน็ การชว่ ยใหเ้ ราแกไ้ ขตวั เรา เมอ่ื ผดิ พลาดไปแลว้ ครงั้ หนึง่ ไมใ่ หผ้ ดิ เปน็ คร้งั ทส่ี องอีก ในสว่ นดี เมือ่ เราได้พบผลแล้ว เรารู้ว่า ผลนน้ั มาจากเหตุอยา่ งไหน เราก็จะไดท้ �ำ เหตุอยา่ งน้นั ให้ มากขึ้น ซง่ึ จะเป็นการช่วยใหเ้ รารักษาความดไี ว้ไมใ่ หล้ ดลง 20
พระทา่ นเทศนส์ อนวา่ ใหร้ จู้ กั ผล กค็ อื ทา่ นชท้ี างใหเ้ ราเรยี นรู้ ผลทเ่ี ราไดร้ บั นน้ั วา่ มาจากอะไร คอื มาจากเหตอุ ยา่ งไหน ซง่ึ จะชว่ ย ให้เราหลบหลีกพ้นจากความชั่ว พลาดลงไปก็จะแก้ตัวได้ เม่ือเรา รวู้ ่าไปมาอยา่ งไร ในส่วนความดกี ็จะไดท้ ำ�ให้มาก ๆ ขึ้น วิธีให้รู้จักผล เป็นวิธีทำ�ให้เป็นคนดีข้อที่ ๒ พระท่านเรียก ช่ือวิธีท่ีสองนี้ว่า อัตถัญญุตา ตามคำ�ภาษาบาลีของท่าน หลานจง จำ�ไวอ้ กี คำ�หน่ึง แปลวา่ ความเปน็ ผรู้ ู้จักผล 21
ค�ำ ถาม ประ จ�ำ บท ๑. ผล คอื อะไร ? ๒. ๓. มีกี่อยา่ ง รู้อย่างไร คืออะไรบ้าง ? เรยี กว่ารู้จักผล ? ๔. ๕. รูจ้ กั ผล การรู้จักผล ท�ำ ใหเ้ ปน็ คนดี เรยี กตามบาลี ได้อย่างไร ? วา่ อย่างไร ? 22
บท๓ที่ ให้เปน็ คน รู้จักตน ตนคืออะไร หลานรู้ไหม ? คือร่างกาย ของเราครบั วนั น้ี ลงุ จะพดู ถงึ วธิ ใี หร้ จู้ กั ตนใหห้ ลานฟงั ตอ่ ไป หลานรไู้ หม วา่ ตน คอื อะไร หลานคงไมเ่ ข้าใจคำ�นี้ ลุงจะพูดเสียใหมว่ า่ ตวั เรา อย่างนี้ หลานรู้จัก เพราะทุกคนต้องรู้จักตัวของตัว ถ้าลุงจะถาม หลานว่า ตวั เราคืออะไร หลานตอ้ งตอบวา่ ตัวเราก็คือร่างกายของ เรา คำ�ตอบของหลานไม่ผิด แต่ยังไม่ตรงกับความหมายท้ังหมด ตวั เราหมายเอารา่ งกายดว้ ย แตต่ อ้ งรวมถงึ ความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ย 23
กินข้าว ีมความหมายรพดู อยา่ งนฟ้ี งั ยาก เขา้ ใจยาก ลงุ จะเปรยี บใหฟ้ งั ลงุ จะเปรยี บตวั เรารวมทง้ั กาย-ใจ ฉันน้ัน เหมือนคำ�ว่า กินข้าว เรากินข้าว ไม่ได้กินข้าวอย่างเดียว เราต้อง มีกับอีกหลายอย่าง กินรวมกับข้าว แต่เราเรียกว่ากินข้าวคำ�เดียว ตัวเราก็เหมือนกัน ต้องรวมทั้งความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ เข้าด้วยจึง จะเป็นตวั เราทคี่ รบชุด เหมอื นกินขา้ ว วมถงึ กบั ขา้ วดว้ ย ฉนั ใด ตน (ตัวเรา) ก็มีความหมาย หลานคงเขา้ ใจค�ำ วา่ ตนแลว้ ลงุ จะพดู ตอ่ ไปถงึ เรอ่ื งการรจู้ กั ตวั เรา หรอื ทพ่ี ดู วา่ รจู้ กั ตน หลานคงอยากถามลงุ วา่ การรจู้ กั ตวั นน้ั รู้จักกันทุกคน ทำ�ไมจะต้องสอนกันอีก จริง ทุกคนรู้จักตัวของตัว แตค่ นเราร้จู ักตวั กนั ไม่ถกู คือรแู้ ตเ่ พียงว่า นต่ี วั เรา นน่ั ตัวเขา และ ทกุ คนกร็ กั ตวั ของตวั เสมอ ไมอ่ ยากใหใ้ ครมาท�ำ รา้ ยทบุ ตเี รา ไมอ่ ยาก ใหต้ ัวเราเจบ็ ไข้ คนโดยมากร้จู กั ตัวของตวั อย่างนี้ แต่พระท่านสอนให้รู้จักตัวของเราดีกว่าน้ี คือสอนให้รู้ว่า 24
ตวั เราเปน็ อะไร ลงุ พดู อยา่ งนห้ี ลานคงไมเ่ ขา้ ใจอกี ลงุ จะอธบิ ายใหฟ้ งั พระท่านสอนให้เราดูตัวของเรา ให้รู้อย่างน้ี คือถ้าเราเป็นเด็กก็ให้ รตู้ วั วา่ เราเปน็ เดก็ เปน็ ผใู้ หญ่ กใ็ หร้ ตู้ วั วา่ เปน็ ผใู้ หญ่ ตวั เรามคี วามดี ความชั่วอย่างไร ก็ต้องดูให้รู้ คือ เรามีความประพฤติเป็นอย่างไร เราทำ�ตัวของเราสมกับที่เป็นเด็ก เป็นผู้ใหญ่หรือไม่ ตัวเรามีฐานะ คือ ยาก มี ดี จน แค่ไหน มีความรู้หรือไม่มี การรู้จักตัวของเรา อยา่ งนเ้ี ป็นวธิ ีทีด่ ี เพราะทำ�ให้เรารสู้ กึ ตวั และท�ำ ตัวใหส้ มกบั ตวั เรา สมกบั หนา้ ที่ของเรา เช่น หลานเปน็ เด็ก เมอื่ รูต้ วั วา่ เปน็ เด็ก หลาน ก็ต้องรู้ว่า หน้าท่ีของเด็ก ๆ อย่างหลานมีอะไรบ้าง ลุงจะช้ีหน้าท่ี ของหลานใหฟ้ ัง เดก็ ดี คอื เด็กรูห้ น้าที่ หลานเปน็ เดก็ ของตนครบั มีหน้าที่ต้องตง้ั ใจเลา่ เรียน ต้องเป็นคนวา่ นอนสอนงา่ ย เชือ่ ฟังครู ผู้หลักผูใ้ หญ่ ต้องเคารพย�ำ เกรงครู และผ้ใู หญ่ เช่น พอ่ แม่ พี่ ป้า น้า อา และลงุ เมื่อหลานรูห้ นา้ ท่ีแล้ว หลานก็ตอ้ งทำ�ตวั ให้สมกับหนา้ ท่ี 25
ผู้ใหญ่อย่างลุง ก็มีหน้าท่ีเหมือนกัน เช่น ลุงต้องรักหลาน ลุงก็รัก ลุงต้องเล้ียงดูหลาน เพราะหลานเป็นเด็กและเป็นหลาน ของลุง ตามทล่ี งุ ชแ้ี จงน้ี หลานคงเขา้ ใจไดว้ า่ ท�ำ ไมการรจู้ กั ตวั ของเรา จึงเป็นวิธีท่ีดี และการรู้จักตัวของเราอย่างที่พระท่านสอนนี้ มีคุณ แก่เราอย่างไร ลุงจะช้ีคุณให้เห็น คนท่ีทำ�หน้าที่ของตัวสมตัวนั้น ถ้าเป็นเด็กก็น่ารัก น่าเอ็นดู ใครเห็นใครชอบ อย่างหลานของลุง มหี นา้ ทต่ี อ้ งเลา่ เรยี น หลานตง้ั ใจเรยี นดี ครกู ร็ กั หลาน ลงุ กร็ กั หลาน เกง่ มากหลานของลงุ ปีนผี้ มสอบได้ ท่ี ๑ ครบั คุณลุง เมื่อครูรัก ครูก็เต็มใจสอนให้หลานมีความรู้มาก ๆ ลุงรัก ลงุ กช็ ว่ ยหลานใหเ้ รยี นไดต้ ามสบาย หลานตอ้ งการอะไร ลงุ กเ็ ตม็ ใจ ซอ้ื ให้ อยากไดส้ มดุ ดนิ สอ เครอ่ื งเลา่ เรยี นอน่ื ๆ ลงุ ไมเ่ สยี ดายสตางค์ 26
ซ้ือให้ แต่ถา้ หลานไมต่ ้ังใจเรยี น ลงุ กไ็ มอ่ ยากซอื้ ให้ เพราะให้ก็ไม่มี ประโยชนอ์ ะไร อยา่ งนห้ี ลานเหน็ หรอื ยงั วา่ การรจู้ กั ตวั ของเรา มคี ณุ อยา่ งไร คนดตี อ้ งรจู้ กั ตวั ของตวั พระทา่ นจงึ เทศนส์ อนใหค้ นเรารจู้ กั ตวั ของเรา วิธีให้รู้จักตัวนี้ เรียกช่ือตามคำ�บาลีที่หลานควรจำ�ไว้อีก ขอ้ หนึ่งวา่ อัตตัญญุตา แปลวา่ ความเปน็ ผู้ร้จู ักตน อตั ตญั ญตุ า แปลวา่ ความเป็นผู้รจู้ ักตน 27
ค�ำ ถาม ประ จ�ำ บท ๑. อะไรเรยี กวา่ ตน ? ๒. ๓. การรู้จกั ตน ตัวเรามีหน้าท่ี ตอ้ งรอู้ ย่างไร ? อยา่ งไรบา้ ง ? ๔. ๕. การรู้จักตน การร้จู ักตน ทำ�ให้เป็นคนดี พระท่านเรียก ได้อยา่ งไร ? อยา่ งไร ? 28
บท๔ท่ี ใหเ้ ปน็ คน รจู้ ักประมาณ วนั นลี้ ุงจะมาพูดเรอ่ื งการสอน ให้เปน็ คนร้จู กั ประมาณ ลุงได้พูดถึงวิธีทำ�ตัวให้เป็นคนดีให้หลานฟังมา ๓ ข้อแล้ว วันนี้ลุงจะพดู ถงึ ขอ้ ท่ี ๔ ใหฟ้ ังตอ่ ไป วิธีท่ี ๔ สอนให้เป็นคนรู้จักประมาณ คำ�ว่า ประมาณ หลานเคยอา่ นหนังสอื พิมพ์และหนังสืออื่น ๆ คงเคยพบมาบ้างแล้ว เช่น คำ�ว่า เมื่อเวลาประมาณ ๑๑ นาฬิกา หรือมีคนประมาณ ๑๐ คน ซึ่งหมายถึงเวลาหรือคนที่ไม่รู้แน่ เป็นแต่คาดคะเนเอาว่า ไม่มากหรือน้อยกว่าท่ีกำ�หนดนั้นมากนัก คำ�ว่าประมาณท่ีลุงจะ 29
พูดกับหลานนี้ ก็มีความหมายคล้าย ๆ กัน แต่เป็นกำ�หนดที่แน่ พอเหมาะพอดี ไมม่ ากไม่นอ้ ยน่ันเอง ลงุ ตอ้ งพดู กบั หลานด้วยตัวอยา่ ง จะได้เขา้ ใจงา่ ย เชน่ การกนิ ข้าว อม่ิ จังเลย ที่เราเรยี กว่า ลกุ ไมไ่ หวแล้ว กนิ ข้าวอ่มิ นั้น เราตอ้ งกินแตพ่ อรูส้ กึ อม่ิ ไมใ่ ช่กินจนแน่นทอ้ ง เดินไมไ่ หว การกินแตพ่ อสบาย ไมม่ ากไมน่ อ้ ย เรยี กวา่ กินอยา่ ง รูจ้ ักประมาณ น่ีพูดถึงการกิน ถา้ พูดถึงการทำ�งาน เราเป็นเด็ก เราตักนำ�้ ใช้ปบี ๒ ใบหาบอย่างที่ผูใ้ หญห่ าบ เปน็ การเกินก�ำ ลงั เดก็ เรียกวา่ ไม่รู้จักประมาณ ต้องใช้กะป๋อง๕ที่เล็กกว่า คือเม่ือหาบไปก็เดินไป ได้อย่างสบาย ไม่ฝืนกำ�ลังตัว อย่างนี้เรียกว่า รู้จักประมาณ ตาม ตวั อย่างทลี่ งุ พดู ให้ฟังนี้ ถ้าจะจำ�ให้ง่าย กต็ อ้ งหมายความวา่ พอดี ไมม่ ากไม่น้อย ๕ กระปอ๋ ง 30
หลานตอ้ งต้งั ใจฟังให้ดี ค�ำ ว่า ประมาณ คือ พอดี นน้ั ต้อง เป็นการพอดีท่ีไม่ใช่แกล้งทำ� ต้องเป็นการพอดีจริง ๆ การพอดีนี้ ไมว่ า่ จะทำ�อะไร เราต้องทำ�ใหพ้ อดีเสมอ จะกนิ จะอยูจ่ ะนงั่ จะนอน จะเลา่ เรยี นเขยี นอา่ น ตอ้ งรจู้ กั พอดจี งึ จะมคี ณุ นอ้ ยไปกไ็ มด่ ี มากไป กไ็ มด่ ี ใหโ้ ทษแก่ตวั เรา กินมากเกินไปทำ�ให้ท้องเสีย กินน้อยเกินไปก็อ่อนเพลีย เลน่ มากเกนิ ไปเสยี ก�ำ ลงั เสยี การเรยี น นอนมากเกนิ ไปกท็ �ำ ใหข้ เ้ี กยี จ นอนน้อยเกินไปก็ทำ�ให้ง่วง ใจคอหงุดหงิดไม่สบาย ทำ�อะไรต้อง รูจ้ ักพอดี หวิ ข้าวๆ เมื่อไหรข่ า้ วจะมา จะทนไมไ่ หวแล้วนะ หลานเหน็ แลว้ ว่า ค�ำ ว่า ประมาณ คอื ความพอดนี ้นั มีคณุ อยา่ งไร ลงุ จะพดู ตอ่ ไปตามทพ่ี ระทา่ นสอนวา่ ใหเ้ ปน็ คนรจู้ กั ประมาณ นั้น ให้รู้จักประมาณอะไร ทุกอย่างพระท่านสอนให้รู้จักประมาณ ท้ังน้ัน สำ�หรับเด็ก ๆ อย่างหลาน ต้องรู้จักประมาณในการเรียน ในการเลน่ ในการกนิ ในการนง่ั ในการนอน เพราะถา้ ไมร่ จู้ กั ประมาณ คือทำ�มากหรือน้อยเกินไปก็ให้โทษ ฉะเพาะการเรียน การเล่น 31
ทเ่ี ด็ก ๆ อย่างหลานตอ้ งท�ำ น้นั ถ้าไมร่ จู้ ักประมาณแล้วเป็นสิ่งไม่ดี เชน่ เรยี นมากจนเกนิ ไป ไมเ่ ลน่ เสยี เลย กท็ �ำ ใหเ้ บอ่ื เรยี นไดง้ า่ ย เมอ่ื เบื่อก็เกิดข้ีเกียจตามมา ถ้าเรียนน้อยก็ทำ�ให้เสียเวลาเรียนมาก ไม่ทันเพ่ือน เล่นมากนอกจากเสียการเรียนแล้ว ยังทำ�ให้เสียกำ�ลัง การออกก�ำ ลงั ตอ้ งทำ�แต่พอดจี ึงมีคณุ ท�ำ ใหร้ า่ งกายแข็งแรง การรจู้ กั ประมาณ ส�ำ หรบั ผใู้ หญน่ น้ั กต็ อ้ งรแู้ ละท�ำ เหมอื นกนั หลานต้องเป็นผู้ใหญ่ควรรู้ไว้ ผู้ใหญ่มีหน้าท่ีต้องหาเงินมาเลี้ยงตัว และคนอ่นื ๆ ในบา้ น มีหนา้ ที่ต้องใชจ้ า่ ยเงนิ ทหี่ ามาได้ จำ�เป็นตอ้ ง รู้จักประมาณ ถ้าไม่รู้จักประมาณ คือหาได้น้อยก็ไม่พอเลี้ยงกัน หรอื หาไดม้ ากแตไ่ ม่รู้จักจ่าย จา่ ยมากจนเกนิ ไปก็เดือดร้อน เพราะ ถ้าหาได้เท่าไร กินกันจนหมด ถึงคราวมีธุระจำ�เป็นอย่างอื่น เช่น เจบ็ ไข้ กไ็ ม่มีเงนิ จะรกั ษา เป็นผใู้ หญ่ สารพัดคา่ ใช้จ่ายเลย พ่ีคา่ บา้ น ยังไม่ไดจ้ า่ ยนะ ต้องรู้จกั ประมาณ ยิง่ กวา่ เด็ก ๆ เพราะเวลาเดือดร้อน ไมเ่ ดือดร้อนคนเดยี ว ทำ�ใหค้ นในบา้ น เดอื ดร้อนกนั หมด น่ีลุงพูดแตท่ ีจ่ �ำ เป็นตอ้ งรู้ 32
การรู้จักประมาณน้ัน ทุก ๆ อย่างต้องรู้จักประมาณ คือ ตอ้ งพอดกี ัน ร้อนอยู่กลางแดดแผดเผา เราปลูกต้นไม้ ยงั ไมเ่ ตมิ น้�ํำ ใหเ้ ราอีก เฉาดกี วา่ เราต้องรดน้�ำ พรวนดนิ แต่ถ้ารดน�ำ้ และพรวนดนิ โดยไมร่ ูจ้ ักประมาณ รดมากไป ต้นไมส้ �ำ ลักน้ำ�ตาย นอ้ ยเกนิ ไปกเ็ ฉา ถงึ ไม่ตายกไ็ ดผ้ ลไมด่ ี พอ่ แมข่ องหลานท�ำ นา ถา้ ไมร่ จู้ กั ประมาณในเรอ่ื งน�ำ้ ปลอ่ ย ให้นำ้�ท่วมต้นข้าวในนา ก็ไม่ได้ข้าวกิน ถ้าไม่ดูแลปล่อยให้น้ำ�น้อย ไมพ่ อเล้ยี งต้นข้าว ๆ กเ็ หยี่ วแห้ง อะไร ๆ ต้องมีความพอดชี ่วยจงึ จะได้ผลงาม พระท่านสอนให้เราเป็นคนรู้จักประมาณก็เพราะการรู้จัก ประมาณเป็นความดีตามที่ลุงชี้แจงให้ฟังแล้วน้ี หลานจงจำ�ให้ดี ทำ�อะไรจงรจู้ กั ประมาณตามคำ�พระทา่ นสอน วธิ ีที่ ๔ น้ี พระท่าน เรียกช่ือตามภาษาบาลีว่า มัตตัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จัก ประมาณ หลานควรจ�ำ ไว้อกี ค�ำ หนงึ่ 33
ค�ำ ถาม ประ จ�ำ บท ๑. ประมาณ หมายเอาอะไร ? ๒. ๓. รจู้ กั ประมาณ ไม่รจู้ ักประมาณ มีคณุ อย่างไร ? มโี ทษอย่างไร ? ๔. ๕. การรู้จักประมาณ พระท่านเรียกชอ่ื ท�ำ ให้เป็นคนดี การรู้จักประมาณ ไดอ้ ย่างไร ? ว่าอย่างไร ? 34
บท๕ท่ี ให้เปน็ คน รจู้ กั เวลา เรามารจู้ กั เวลา กนั ดีกว่า วันน้ลี ุงจะพูดเร่อื งเวลา ซ่งึ เป็นเร่อื งของคำ�สอนตามท่พี ระ ท่านเทศนใ์ นวนั ก่อนให้หลานฟงั ต่อไป เวลานน้ั หลานดนู าฬกิ าเปน็ และครเู คยสอนหลานมาแลว้ ลุงจะพูดอยา่ งทีค่ รูเคยสอนมาอกี หลานเคยรู้มาแล้วว่า เวลานั้น เรานับกันเป็นนาฑี๖ เป็น ชว่ั โมง เปน็ วนั เปน็ อาทติ ย์ เปน็ เดอื น เปน็ ปี ๖๐ นาฑี เปน็ ๑ ชว่ั โมง ๖ นาที 35
๒๔ ชว่ั โมง เปน็ ๑ วนั กลางวนั ๑๒ ชว่ั โมง กลางคนื ๑๒ ชว่ั โมง ๗ วัน เป็น ๑ อาทติ ย์ หรอื สปั ดาห์ ๔ สัปดาห์ หรอื ๔ อาทิตย์ เปน็ ๑ เดือน ๑๒ เดือน เปน็ ๑ ปี หลานคงไม่รู้สึกแปลกอะไรท่ีลุงพูดถึงเร่ืองเวลาอย่างน้ี แตถ่ า้ ลงุ จะถามหลานสกั ค�ำ วา่ เวลามนั เดนิ อยา่ งไร หลานตอ้ งตอบวา่ มนั เดนิ ไปขา้ งหนา้ เสมอ อยา่ งทเ่ี หน็ นาฬกิ าเดนิ จรงิ อยา่ งนน้ั เพราะ เวลามนั เดนิ ไปขา้ งหนา้ ไมเ่ ดนิ กลบั หลงั เวลาจงึ เปน็ ของส�ำ คญั มาก เพราะเม่ือผ่านพ้นไปแล้ว จะเรียกร้องให้กลับคืนอย่างท่ีเราหมุน เข็มนาฬิกากลับไม่ได้ เวลาไม่ใช่นาฬิกา นาฬิกาเป็นแต่เคร่อื งบอก เวลา เราหมนุ เข็มนาฬิกากลบั ได้ แตเ่ วลาจริง ๆ เราทำ�ไม่ได้ กลับมาก่อน เจ้าเวลา เช่นพ้นเช้าวันน้แี ล้ว เราจะทำ�ให้เป็นเวลาเช้าวันน้อี ีกไม่ได้ จะมเี ชา้ เหมอื นกันก็ต้องเปน็ วนั ใหม่ คอื วันรุ่งข้นึ ไมใ่ ช่วนั เกา่ 36
เวลาตามทล่ี งุ พดู มาน้ี เปน็ เวลาทเ่ี รานบั ดว้ ยนาฬกิ า ยงั มเี วลา อีกอย่างหน่งึ พระท่านนับตามความแก่อ่อนของอายุ การนับเวลา อยา่ งพระทา่ นนบั เปน็ วยั คอื มวัชยั ฌกลิมาวงยั มอี ายเุ ปน็ เดก็ เหมอื นหลาน ปฐมวัย ปัจฉิมวัย เรยี กวา่ วยั ตน้ วยั เดก็ วยั สดุ ทา้ ย พอมอี ายพุ น้ ๒๐ ปไี ปแลว้ จนอายเุ ทา่ ลงุ เรยี กวา่ วยั กลาง พอมอี ายมุ ากขน้ึ อกี ที เรยี กวา่ คนแก่ คนเฒา่ พระทา่ นเรยี กวา่ วยั สดุ ทา้ ย การนบั เวลา จะนบั อยา่ งไหนกต็ าม ความส�ำ คญั อยทู่ ต่ี อ้ งการ ให้คนรู้จักหน้าท่ีของตน ที่ต้องทำ�ตามเวลา เช่นหลานเป็นเด็กอยู่ ในวัยต้น เป็นวัยที่มีหน้าท่ีต้องศึกษาเล่าเรียน ลุงอยู่ในวัยกลาง มีหน้าท่ีต้องทำ�งานหาทรัพย์ หาเงินทองไว้เล้ียงตัว และคนที่ลุง ต้องเลี้ยง ทั้งหลานและลุง ต้องมีหน้าที่ทำ�ตามวัย จะทำ�หน้าท่ีให้ ผดิ เวลาไมไ่ ด้ เชน่ เวลานห้ี ลานตอ้ งเลา่ เรยี น แตห่ ลานไมเ่ รยี น จะรอ ไว้เรียนเมื่อโตเท่าลุงแล้วไม่ได้ เวลาวัยแรกของหลานก็เสียไปเปล่า พอโตเท่าลุงแล้ว หลานก็ต้องมีหน้าท่ีทำ�งานหาเงินทองอย่างลุง 37
หลานก็หมดหน้าท่ีเรียนเสียแล้ว ตกลงเรียนไม่ได้ ขืนเรียนเม่ือโต ต้องไม่สำ�เร็จ ลุงก็เหมือนกัน ถ้าไม่ทำ�งานเวลานี้ รอไว้ต่อแก่เฒ่า แลว้ กท็ �ำ ไมไ่ หว หลานเหน็ แลว้ ซวิ า่ เวลาเปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ส�ำ หรบั ตวั เราอยา่ งไร บ้าง เรื่องเวลานี้หลานตอ้ งนกึ ไวเ้ สมอว่า น่ีมนั กโี่ มงแล้ว เราต้องเปน็ คน ทํำ�ไมเพ่ิงมา ตรงตอ่ เวลา ขอโทษครบั ไมว่ ่าจะทำ�อะไร อยา่ ทำ�ให้ผิดเวลา ไดเ้ ปน็ อันขาด การทำ�ผดิ เวลา มแี ตโ่ ทษแก่ตัวเรา ไม่มีคณุ อะไร สกั อยา่ งเดยี ว ตวั อย่างง่าย ๆ เชน่ หลานไปโรงเรียนสาย ผิดเวลาเปน็ การ ผิดวินัยของนักเรียน ต้องถูกครูตำ�หนิหรือลงโทษตามระเบียบของ โรงเรียน แต่ที่สำ�คัญคือ ต้องขาดเรียนวิชาที่ครูสอนในขณะท่ีเรา ยงั ไมไ่ ด้ไป เปน็ การทำ�ให้เราเรยี นไมท่ ันเพอ่ื น ลุงเคยพูดเร่ืองทำ�นา มาครั้งหน่ึงแล้ว การทำ�นาท่ีพ่อแม่ของหลานทำ�น้ัน เวลาเป็นของ สำ�คัญมาก เราจะมีขา้ วกินหรือไม่มเี พราะเวลาน้เี อง 38
ถ้าชาวนาทำ�นาผดิ เวลา คอื ท�ำ ในฤดแู ล้ง การทำ�นาก็ไมไ่ ดผ้ ล ชาวนาต้องทำ�นา เม่อื ย่างเข้าฤดูฝน จึงจะไดข้ ้าว เพราะต้นขา้ วตอ้ งการ น�ำ้ หล่อเลยี้ งล�ำ ตน้ จงึ จะออกรวง ให้ชาวนาเกบ็ เก่ยี วได้ เวลา ทกุ คนตอ้ งถอื เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั เวลาเปน็ สง่ิ สํำ�คัญนะครบั เวลาไหนเหมาะกบั งานอะไร เราต้องทำ�งานอย่างน้ัน ในเวลาน้ัน ทกุ คนต้องตรงต่อเวลา คนท่ีไมต่ รงต่อเวลา เป็นคนทไี่ มม่ คี วามจรงิ ไม่มใี ครเขาชอบ หลานก็คงไม่ชอบ 39
สมมต๗ว่า เมอ่ื ไหร่ มเี พอ่ื นของหลานคนหนึ่ง จะมานะ เขาไมเ่ คยมากรงุ เทพฯ เลย เขามจี ดหมายนัดใหห้ ลาน ไปรบั ที่สถานีรถไฟ ในวนั นน้ั วนั นี้ แตแ่ ล้วเขาไม่มา ตามก�ำ หนดท่นี ัดไว้ หลานไปรอเสยี เวลาเปลา่ หลานคงรสู้ กึ ไมพ่ อใจ คร้ันวนั หลัง เพื่อนของหลานมาจรงิ ๆ แต่หลานไมไ่ ด้ไปรับ เพราะคดิ วา่ เขาคงจะไมม่ าแลว้ เพอ่ื นคนนน้ั จะเปน็ อยา่ งไร เขาตอ้ ง ลำ�บากมากในการที่จะเที่ยวสืบหาหลาน หรือบ้านของเรา เพราะ คนมาก ๆ อย่างในกรุงเทพฯ หากันยาก พลาดพล้ังลงไปอาจถูก คนพาลหลอกลวงเอาก็ได้ หลานเห็นแล้วว่า โทษของการไม่ตรงต่อเวลาน้ันมีไม่น้อย เพราะอย่างนี้ ลุงจึงสู้เสียเวลาพูดเรื่องเวลาให้หลานฟังมากกว่า วันก่อน ๆ พระท่านสอนให้คนรู้จักเวลา เพราะเวลาเป็นส่ิงสำ�คัญ ทำ�ให้คนเป็นคนดี และไม่ดีได้ เราอยากเป็นคนดีต้องเป็นคนตรง ต่อเวลา เวลาไหนสมควรทำ�อย่างไหน อย่าปล่อยให้เวลาผ่านไป โดยไม่ไดท้ ำ�หนา้ ทีข่ องเราเป็นอันขาด ๗ สมมติ 40
วิธีท่ีให้เป็นคนรู้จักเวลานี้ เป็นวิธีที่จะทำ�คนให้เป็นคนดี อีกข้อหน่ึง ตามที่พระท่านเทศน์ในวันเข้าพรรษา ข้อนี้หลานต้อง ตั้งใจจำ�คำ�เรียกช่ือตามภาษาบาลีไว้ด้วย พระท่านเรียกว่า กาลัญ- ญุตา แปลว่า ความเปน็ ผู้รู้จกั เวลา เปน็ วิธีที่ ๕ 41
คำ� ถาม ประ จำ� บท ๑. ๒. เวลา คืออะไร ? มกี อ่ี ย่าง นับอยา่ งไรบ้าง ? ๓. ๔. เวลาเป็นของส�ำ คัญ ท�ำ อย่างไร เรยี กว่า อยา่ งไร ? รู้จกั เวลา ? ๕. ๖. ตรงต่อเวลา พระทา่ นเรียก มคี ณุ อย่างไร ? การรจู้ กั เวลา ว่าอย่างไร ? 42
บท๖ที่ ใหเ้ ป็นผู้ ร้จู กั ชมุ นุมชน ลงุ พดู เรอ่ื งอน่ื ๆ มาหลายวนั แลว้ วนั น้ี ลงุ จะพดู เรอ่ื งคนให้ ฟงั บา้ ง เพราะเราตอ้ งอยใู่ นหมคู่ นมาก ๆ เราตอ้ งรเู้ รอ่ื งคน หลานคง เหน็ ใครตอ่ ใครมาหาลงุ เสมอ และลงุ กเ็ คยไปหาใครตอ่ ใครหลายคน เหมอื นกนั ท�ำ ไมจึงเป็นอยา่ งน้ี ลงุ มอี ะไรตอ่ อะไร ทีเ่ รียกวา่ สมบัติ ของลุงอยู่ในบ้าน ลำ�พังลุงอยู่คนเดียว ลุงจะมีของเหล่าน้ีไม่ได้ เพราะลุงทำ�เองไม่เป็น ลุงต้องซื้อเขามา ถึงว่าลุงทำ�เป็นก็ต้องทำ� 43
ไมไ่ ด้ทัง้ หมด เพราะลุงไม่มีเวลาทำ� ถงึ คนอ่นื ๆ ก็เหมือนกันกับลุง ตา่ งคนตา่ งตอ้ งท�ำ ตามหนา้ ทต่ี ามความรขู้ องตน คนหนง่ึ ท�ำ อยา่ งหนง่ึ อีกคนหนึ่งทำ�อย่างหน่ึง แล้วเราก็แลกเปล่ียนของน้ัน ๆ กัน ด้วย การซ้ือการขายเป็นการพงึ่ พาอาศยั กัน การพง่ึ พาอาศยั กัน คนเราตอ้ ง เป็นสิ่งจ�ำ เป็นของคนเรา พง่ึ พากนั นะ หลานตอ้ งพึง่ พอ่ พ่ึงแมต่ ้องพ่งึ ลงุ ลงุ กต็ อ้ งพง่ึ คนอื่น ๆ คนอื่น ๆ กต็ ้องพึง่ ลงุ ไมม่ ีใครเลยที่ไม่ต้องพ่งึ กัน คนเราต้องตดิ ตอ่ กนั อย่างน้ี เป็นของธรรมดา คนเราตอ้ งพง่ึ กนั อยา่ งน้ี จงึ ตอ้ งอยกู่ นั เปน็ พวกเปน็ หมู่ หมเู่ ลก็ ก็เรียกชื่อตามหมู่เล็ก หมู่ใหญ่ก็เรียกช่ือตามหมู่ใหญ่ เช่นท่ีเรา เรยี กกนั วา่ บา้ น หมบู่ า้ น ต�ำ บล อ�ำ เภอ จงั หวดั และประเทศ และ หลายประเทศรวมกันเป็นโลก คนทั้งโลกต้องเกี่ยวข้องติดต่อกัน เพราะเหตุหลายอยา่ ง เชน่ ตอ้ งท�ำ การซอ้ื การขายตอ่ กนั บ้าง การ ชว่ ยเหลือกนั ในคราวจำ�เปน็ อนื่ ๆ บา้ ง 44
หมูค่ ณะทีจ่ ะอยกู่ นั คนทกุ ๆ หมู่ เป็นสขุ เพราะมี... ท่อี ย่กู ันมาก ๆ เขามีระเบยี บ ระเบียบวนิ ัย คือวินัยส�ำ หรบั หมู่ ไมไ่ ดอ้ ยูก่ ันอยา่ ง ตัวใครตวั มนั เพราะหมทู่ ไ่ี มม่ ี ระเบยี บวนิ ัยนัน้ จะอย่กู นั ไม่เปน็ สุข ทุกหมเู่ ขาจงึ ตอ้ งมีระเบียบ แต่ระเบียบวินัยสำ�หรับหมู่ อาจแตกต่างกันไปบ้างตาม ความนิยม ตามถิ่น แต่จะแตกต่างกันอย่างไรก็ตาม ทุกหมู่ต้อง มีระเบียบวินัยของเขาเสมอ เราเปน็ คนหนง่ึ ทต่ี อ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั หมคู่ นเหลา่ นน้ั ตามความ จ�ำ เปน็ ตามคราวตามโอกาส ไมว่ นั ใดกว็ นั หนง่ึ ยง่ิ มธี รุ ะมาก กย็ ง่ิ ตอ้ ง เกี่ยวขอ้ งกนั มากขน้ึ เป็นหนา้ ทข่ี องเราที่จะตอ้ งเรยี นใหร้ วู้ ่า ผ้ทู ่เี รา จะติดต่อนั้นเขามีระเบียบและกฎเกณฑ์อะไรบ้าง เม่ือเราเข้าไปใน หมู่ของเขา กจ็ ะได้ทำ�ตวั ให้สนิทสนมกับเขาได้ เม่ือเราเข้าหมู่เขาได้ สนิท เขากจ็ ะยกย่องนับถอื เราในฐานเป็นพวกเดยี วกนั หมดความ รังเกียจ เราจะพึ่งพาอะไรเขาก็ยินดี ช่วยเหลืออย่างกันเอง แต่ถ้า 45
เราทำ�ตัวผิดไปจากหมู่ของเขา นอกจากเขาไม่ต้องการให้เราเป็น พวกแล้ว ยังท�ำ ให้ตัวเราเองวางหน้าไม่ถกู อยา่ งทเี่ รยี กกันว่า เปน่ิ เขา้ หมไู่ มต่ ดิ เรอ่ื ง กริ ยิ า วาจา ทา่ ทาง เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั เพราะเปน็ สง่ิ ทเ่ี หน็ ไดง้ า่ ย หม่ไู หนเขานิยมพูดอย่างไร ทำ�อยา่ งไร เราต้องเรียนให้รู้ เขาถือกันนกั ทํำ�ไมมาเรียนสาย คนที่พดู จา ไม่ออ่ นหวาน อาจารย์อย่ามา หยาบคาย ยงุ่ กบั ผมเลยน่า เขารังเกียจทสี่ ุด ถ้าเราเผลอตวั ไปพูดเขา้ สกั คำ� เขาจะตั้งรังเกียจเราทันที หลานต้องระวังและหดั พดู ให้ดี ๆ ไว้ พูดกบั เพอ่ื นกต็ ้องพูด กันฉันเพื่อน ให้สุภาพอ่อนโยน พูดกับผู้ใหญ่ก็ต้องพูดอย่างเคารพ ไม่ใช่พูดอย่างเพื่อน หลานทำ�ตัวให้ได้อย่างท่ีลุงแนะนี้แล้ว หลาน จะเขา้ ไหนกเ็ ขา้ ได้ คนดนี น้ั เปน็ คนทเ่ี ขา้ ไหนเขา้ ได้ เพราะคนดี เขารจู้ กั ชมุ นมุ ชน กริ ยิ าทา่ ทาง ทจ่ี ะตอ้ งใชส้ �ำ หรบั ชมุ นมุ ชนตา่ ง ๆ เมอ่ื เขา้ ไปในชมุ นมุ ใด 46
ก็มีท่าทางองอาจ ไม่หวาดกลัว ไม่สะทกสะท้าน ประหม่า หรือ เก้อเขิน เพราะรู้ตัวว่า เราทำ�ตัวได้เหมือนเขา ต้องไม่ผิดพลาดให้ เขาตเิ ตยี นได้ การรู้จักชุมนุมชน พระท่านเทศน์สอนไว้ว่า ให้ทุกคนท่ี อยากเปน็ คนดี ต้งั ใจเรียนให้รู้ ทา่ นเรียกตามค�ำ บาลวี ่า ปริสญั ญุตา แปลว่า ความเปน็ ผรู้ ู้จักชมุ นมุ ชน เปน็ ขอ้ ที่ ๖ หลานต้องจำ�ไวใ้ หด้ ี อยากเป็นคนดี ต้องต้ังใจเรียนให้รู้ 47
คำ� ถาม ประ จ�ำ บท ๑. ชมุ นมุ ชน คืออะไร ? ๒. ๓. ท�ำ ไมจงึ ต้อง การรจู้ ักชุมนมุ ชนน้นั เก่ยี วข้องกับคนอ่นื ? ตอ้ งรอู้ ย่างไร ? ๔. ๕. รจู้ กั ชมุ นมุ ชน การรจู้ ักชุมนุมชน มีประโยชน์ พระท่านเรียก อย่างไร ? อย่างไร ? 48
Search