เดก็ ๆ คนใช้ คนอาศยั ในบา้ น เดก็ เพอ่ื นบา้ น มอี ะไรควรแบง่ กนั กนิ กจ็ งแบ่งให้ ยังมีการที่ควรให้นอกบ้านอีกมาก เช่นหาของไปถวายพระ เจ้าเคยเรียนเร่ืองพระสงฆ์มาบ้างแล้วว่า ผู้ที่ตั้งใจบวชอยู่เป็นพระ จรงิ ๆ นน้ั ทา่ นไมไ่ ดท้ �ำ ไรน่ าคา้ ขาย เหมอื นคฤหสั ถ์ ทา่ นบวชเลา่ เรยี น คำ�สอนของพระพุทธเจ้า แล้วเอาไปสอนชาวบ้านให้ประพฤติดี ทา่ นสอนโดยไมไ่ ดต้ ง้ั ราคาคา่ งวดอะไร ผลประโยชนท์ ท่ี า่ นได้ กเ็ พยี ง ทีค่ ฤหสั ถ์อุดหนนุ มากบ้าง น้อยบ้าง ถ้าคฤหัสถไ์ ม่อดุ หนนุ ท่านก็ คงบวชอยู่ไม่ได้ ต้องสึกมาทำ�มาหากินอย่างชาวบ้าน หรือบวชอยู่ ได้ก็ลำ�บาก หริ โิ อตตัปปะ การสอนของพระสงฆ์ เรยี กอกี อยา่ งวา่ เทวธรรม กช็ ว่ ยรฐั บาลไดไ้ มน่ ้อย ธรรมที่ทำํ�ใหค้ นเป็นเทวดา ชว่ ยสอนเด็ก ท่ีพอ่ แมย่ ากจน ไม่มเี งินสง่ ลูก เข้าโรงเรียนทต่ี อ้ งเสยี เงนิ เด็กที่เลา่ เรยี นกับพระ ถงึ จะไมไ่ ดว้ ิชชาความรู้ ทางทำ�มาหากินอยา่ งสงู ก็ตาม กย็ ังไดเ้ รยี นรคู้ วามดี ความชว่ั พอประพฤติตนเป็นพลเมอื งดีได้ 49
นอกจากน้ี พระสงฆย์ งั ท�ำ หนา้ ทเ่ี ทศนส์ อนผใู้ หญ่ ใหป้ ระพฤติ แตท่ างดี กเ็ ปน็ การชว่ ยเหลอื รฐั บาลปราบคนพาลเหมอื นกนั คฤหสั ถ์ ท่ีเขามีความคิด เขาจึงช่วยอุดหนุนพระ มากบ้าง น้อยบ้าง ตาม กำ�ลงั ท่เี ขาจะท�ำ ได้ การอดุ หนุนพระก็คอื ให้ น่นั เอง นอกจากให้พระ ยังมีที่เราควรให้อีกมาก เช่นสภากาชาด ทร่ี ฐั บาลตง้ั ขน้ึ เปน็ โรงพยาบาลชว่ ยรกั ษาคนไขท้ ย่ี ากจน โดยไมต่ อ้ ง เสยี เงนิ พอ่ กบั แมข่ องเจา้ กเ็ ขา้ เปน็ สมาชกิ บ�ำ รงุ ปี ๑ คนละ ๑๐ บาท เม่ือเร็ว ๆ น้ี พวกลูกเสือมาร้องประกาศเชิญชวนชาวบ้าน ให้เข้า เปน็ ประชาสมาชกิ เจา้ กไ็ ดบ้ �ำ รงุ คนละ ๑ บาท เจา้ จงจ�ำ ไว้ ถา้ มเี งนิ จงอุตสา่ ห์บ�ำ รงุ ใหเ้ สมอไป ทเี่ ราบ�ำ รุงอยา่ งนกี้ เ็ ปน็ การให้ทัง้ น้ัน การใหท้ พ่ี อ่ อธบิ ายมาขา้ งตน้ น้ี วา่ ฉะเพาะใหส้ ง่ิ ของ เงนิ ทอง ยงั มกี าร ให้ส�ำ คัญ อีกอย่าง ๑ เรียกว่า ใหอ้ ภยั ๓๗ เจ้ากเ็ คยไดย้ นิ บ่อย ๆ ผู้ดีเขาจะพูดจะทำ�อะไรที่เกี่ยวกับคนอื่น เขามักขออภัย เสียกอ่ น แต่ทีใ่ ชว้ ่า ขอโทษ ก็มีมาก ความหมายก็อยา่ งเดยี วกนั การใหอ้ ภัยกัน โอะ๊ ..! มีคณุ มาก ยกตวั อย่างง่าย ๆ เชน่ ลกู ทั้ง ๒ เจ้าเสถียรเดิรเผลอ ไปโดนเจา้ เจริญเข้า ๓๗ ยงั ไมจ่ ำ�เปน็ ต้องกล่าวถึงอภยั ทาน คือใหค้ วามไมม่ ีภัย ไมม่ ีเวรทวั่ ไป 50
ไม่เป็นไรพี่ เจบ็ มย้ั ขอโทษนะ พไ่ี ม่ได้ต้ังใจ เจา้ เสถยี รรอ้ งขออภยั ถา้ เจา้ เจรญิ ไมใ่ ห้ อาจตอ่ ยกนั ถา้ เจา้ เจริญให้ ก็เลิกแล้วกันไป เพ่ือนฝูง ญาติพ่ีน้อง ชาวบ้านอื่น ๆ ก็ เหมือนกัน ถ้าใครทำ�ผิดพลั้งเล็ก ๆ น้อย ๆ ร้องขออภัย ถ้าไม่ถึง เสยี หาย เขาก็มกั ใหอ้ ภยั กัน การใหท้ ง้ั ๒ อยา่ งทพ่ี อ่ อธบิ ายมาน้ี มปี ระโยชนม์ าก ชกั จงู ใหค้ นรจู้ กั ชว่ ยเหลอื กนั ชกั จงู ใหค้ นรจู้ กั อดออมถนอมใจกนั เราชว่ ยกนั ถนอมใจกนั เรากเ็ ปน็ สขุ การให้ จงึ เปน็ ทรพั ยป์ ระเสรฐิ อยกู่ บั ตวั เรา เสมอ ใครจะแยง่ ชงิ ไปไม่ได้ 51
คำ� ถาม ประ จำ� บท ๑. ๒. ใหอ้ ย่างไรเรียกวา่ ให้อยา่ งไรเรียกว่า ให้ทาน ? ทำ�บญุ ? ๓. ๔. ให้อยา่ งไรเรยี กว่า ให้อยา่ งไรเรียกวา่ รับแขก ? แจกกนั กิน ? ๕. ๖. เราควรให้แก่ ใหข้ องกับให้อภัย คนพวกใดบา้ ง ? ตา่ งกนั อยา่ งไร ? 52
อขรยิอ้ ทร๗พั ย์ ปญั ญา ท�ำํ ข้อสอบ ไดไ้ มต่ ดิ ขดั ดจี รงิ นายสุนทร วันนี้พ่อจะอธิบายอริยทรัพย์ข้อ ๗ คือปัญญา ต่อไป คำ�ว่า ปัญญา ก็เป็นภาษาบาลี เจ้าเคยพูดติดปากอยู่แล้ว เชน่ เคยเลา่ ใหพ้ อ่ ฟงั วา่ เพอ่ื นนกั เรยี นคนนน้ั ปญั ญาทบึ เพอ่ื นนกั เรยี น คนนั้นปัญญาดี แต่เจ้าคงยังเข้าใจไม่ได้ดี ว่าปัญญาหมายความ อยา่ งไรแน่ ปัญญาแปลว่า ความรู้ชดั เจน หรอื รทู้ วั่ ๆ ไป ถ้าจะแปล ความหมายอยา่ งกวา้ ง ๆ ทโ่ี รงเรยี นเคยใชว้ า่ ความรรู้ อบตวั กน็ า่ จะ เขา้ กนั ได้ ปัญญามี ๒ อยา่ ง คอื 53
(๑) ปัญญาติดตัวมาตั้งแต่เกิด๓๘ (๒) ปัญญาเก็บประสมไดท้ ีหลัง๓๙ ปัญญาติดตัวมาตั้งแต่เกิดน้ัน พ่อเองก็ไม่เข้าใจชัดว่าติดมา อย่างไร ได้แต่สังเกตเด็ก ๆ บางคนก็ว่องไว รู้อะไรต่ออะไรได้เร็ว บางคนกท็ บึ รอู้ ะไรต่ออะไรช้า ปัญญาข้อ ๑ นี้เจา้ ทงั้ ๒ ไม่ควรคิด เพราะไม่ใช่หน้าที่เจ้าจะทำ�ได้ในเวลาน้ี พ่อจะอธิบายแต่ปัญญาข้อ ๒ คือ ปญั ญาที่เกบ็ ประสมได้ ขยันอา่ น ทำํ�ให้เกิดปัญญา ปัญญาที่เก็บประสมไดน้ ัน้ คือได้จากเรียนในโรงเรียน และ ได้จากเรียนสังเกต เวลาพ่อพาไปเที่ยวดูอะไรต่าง ๆ บ้าง เจ้าไป เทย่ี วดเู องบา้ ง ดงั ทพ่ี อ่ อธบิ ายมาแลว้ ในขอ้ ๕ คอื การเรยี น ถา้ เจา้ เกบ็ ประสมไวเ้ สมอ ๆ เจา้ กจ็ ะเปน็ คนมปี ญั ญา เปน็ คนฉลาด ถงึ เมอ่ื แรกเกิดปัญญาไมด่ ี ก็อาจดีได้ ด้วยคอยเกบ็ ประสม ๓๘ สะชาตกิ ะปัญญา ๓๙ ภาวนามัยปัญญา ปญั ญาซง่ึ ท�ำ ใหม้ ขี ึ้นเป็นสมบตั ใิ นตวั 54
ปญั ญาขอ้ ๒ นแ้ี หละ พอ่ ตอ้ งการสอนเจา้ นกั แตว่ า่ เจา้ จะ คอยเกบ็ ประสมอยเู่ ฉย ๆ ก็ไมไ่ ด้ ตอ้ งอาศยั ทางอื่นอกี ทางเกิดปญั ญามี ๓ อย่างคือ (๑) เกิดแตค่ ดิ ๔๐ (๒) เกดิ แต่เรยี น๔๑ (๓) เกิดแตเ่ กบ็ ประสม๔๒ ปัญญาข้อ ๑ ข้อ ๒ พ่อก็ได้อธิบายมาแล้ว ในการเรียน ถ้าเจา้ ไม่เรยี น คอยเก็บเฉย ๆ ก็ได้ชา้ ทง้ิ ของควรทิง้ เกบ็ ของควรเก็บ ถ้าเจา้ ไม่คิด คอยเกบ็ เฉย ๆ กไ็ ม่รวู้ า่ อะไรผิด อะไรถกู เกบ็ ไดก้ ็ไมด่ ี เท่ากับเจ้าพบ ของอะไรกเ็ ก็บไมเ่ ลอื ก กอ้ นดนิ กอ้ นทราย กระเบอ้ื งถว้ ย กระลา๔๓แตก กเ็ กบ็ เรอ่ื ยไป เอามารกบา้ นเปลา่ ๆ ถา้ เจา้ เรยี น ครจู ะสอนใหเ้ กบ็ แตท่ ด่ี ี ถา้ เจา้ คดิ เจา้ กจ็ ะเทียบได้ว่าดหี รือไม่ดี ดกี ็เกบ็ ประสมไว้ ไม่ดกี ็ท้ิงเสีย ๔๐ จนิ ตามยั ปัญญา ๔๑ สุตมยั ปญั ญา ๔๒ ภาวนามยั ปญั ญา ๔๓ กะลา 55
ทีนี้เจ้าจงฟัง ปัญญาท่ีสำ�คัญ ซ่ึงพระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ ปัญญาส�ำ คัญมี ๒ อย่าง คอื (๑) ปัญญา รู้ไดร้ ู้เสีย๔๔ (๒) ปัญญา รคู้ วามจริง๔๕ ปญั ญา ๒ อยา่ งนแ้ี หละส�ำ คญั นกั ปญั ญาอน่ื ๆ อาจเรยี นให้ เกิดได้งา่ ย แตป่ ัญญารไู้ ดร้ เู้ สยี เรยี นยาก หาเงินมาเปน็ ทาง ได้ เอา ไปเลน่ การพะนนั ๔๖เปน็ ทาง เสยี ถา้ เราพบ ได้ พบ เสยี เองกร็ งู้ า่ ย แตไ่ มค่ วรนง่ั รอคอยใหพ้ บ เพราะทางเสยี ถา้ พบเขา้ แลว้ ล�ำ บาก พอ่ จะ ชส้ี งิ่ ทเี่ จา้ เคย ได้ เคย เสยี ในโรงเรยี นมาแลว้ คราว ๑ เจา้ จดการบา้ น มาจากโรงเรยี น หลายอยา่ ง ดึกแล้ว มกี ารวาดรูป ง่วงจงั เลย ติดมาด้วย เจ้าชอบสนุก ในการวาดรูป แต่เจ้าไมน่ ึกเสียกอ่ น วา่ การวาดรูปตอ้ งประดษิ ฐประดอย๔๗มาก วาดแลว้ ไมร่ แู้ ลว้ เตมิ โนน่ นดิ นห่ี นอ่ ย แตง่ เลก็ แตง่ นอ้ ย เจา้ นง่ั วาดจนหมดเวลา หาวนอน ไม่ได้ทำ�การบ้านอย่างอ่ืน รุ่งเช้าก็ทำ� ไมท่ ันแลว้ ถกู ครทู �ำ โทษ ๔๔ อุทยพั พะยะปญั ญา ๔๕ ปญั ญารอู้ ริยสัจ ๔๖ พนนั ๔๗ ประดิดประดอย 56
สงสัยโดนทำํ�โทษแน่ ท่ีเจา้ วาดรูป ท�ํำ การบ้านไมเ่ สรจ็ เป็นการดแี ท้ ๆ แตก่ ลบั เสีย เพราะเจา้ ไมร่ ู้เวลา คอื ไม่รไู้ ดร้ ู้เสีย รู้แต่วา่ จะท�ำ เรือ่ ยไปตามชอบใจ เจ้าต้องรู้ว่า ถ้าเวลาจำ�กัดต้องทำ�การบ้านที่ใช้เวลาน้อย ๆ เสยี กอ่ น เมอ่ื เสรจ็ แลว้ จงึ คอ่ ยวาดรปู กค็ งไดไ้ ปใหค้ รพู รอ้ ม ไมต่ อ้ ง ถกู ท�ำ โทษ อยา่ งนจ้ี งึ จะเปน็ ทางได้ จงจ�ำ ไวใ้ หด้ ี ของดี ๆ ถา้ เจา้ ไมร่ จู้ กั ท�ำ กเ็ สยี ต่อไปเจ้าโตขึ้น จะมีทางได้ทางเสยี มากกวา่ น้หี ลายเท่า ต้องเตรียมเงิน ทางได้ทางเสีย ไวใ้ ห้ลกู ไปเรียน เวลาโตแลว้ ยากกวา่ น้ี ดูตัวอย่างง่าย ๆ เช่นพ่อหาเงนิ มาได้ เสียเงินใหเ้ จา้ เรยี นหนังสอื นเ่ี ปน็ ทางได้ 57
ต้ังใจเรียนนะลูก ขอบคณุ ครับ เพราะเจ้าจะได้วิชชาเลี้ยงตน ดีกว่าเก็บเอาเงินไว้ให้เจ้า แต่ไม่ให้เจ้าเล่าเรียน ถ้าพ่อตามใจเจ้ามากเกินไป ให้สตางค์เจ้าไป โรงเรียนเกินความจำ�เป็น ก็เป็น ทางเสีย ของพ่อ คือเสียเงินมาก เจ้าก็จะพลอยเสียไปอีก ๑ คือมีสตางค์ติดมือมากเข้าก็จะเที่ยว เถลไถลไป ไมเ่ ป็นอนั เล่าเรียน พอ่ เห็นการเสยี อย่างน้ี จึงใหส้ ตางค์ เจา้ แตพ่ อคา่ เลา่ เรยี น กบั คา่ กนิ กลางวนั พอสมควร เจา้ จงจ�ำ ไวค้ ดิ ไว้ วา่ ท�ำ อะไรลงไป มที างได้ทางเสียทง้ั นนั้ นีเ่ ป็นปัญญาขอ้ ๑ ปัญญาข้อ ๒ คือรู้ความจริงนั้น ยิ่งยากกว่าน้ี พ่อเองก็รู้ ไม่ตลอด รู้แต่เงา ๆ ร้เู งา ๆ กย็ ังดี พ่อจะอธบิ ายเงา ๆ ใหเ้ จ้าฟัง สักข้อ ๑ เจ้าจะได้หม่ันคิด เจ้าไปเรียนหนังสือ ก็อยากสอบไล่ได้ ถ้าสอบตก เจา้ กเ็ สียใจ๔๘ ๔๘ ยมั ปิจฉงั นะละภะตทิ กุ ข์ ปรารถนาอนั ใดไมไ่ ด้สมปรารถนาเป็นทกุ ข์ 58
ไมเ่ ปน็ ไรนา่ เพือ่ นแกต้ ัวใหม่ เจา้ ร้หู รอื ไม่ ว่าท�ำ ไมจึงเสียใจ ก็เพราะเจา้ อยากได้ ความเสยี ใจนี้ อาจท�ำ ให้ ไม่สบาย ใหข้ ้เี กยี จเรียน เจา้ อยา่ เสยี ใจ จงคดิ เสยี วา่ เรานง่ั ทกุ ขน์ ง่ั เสยี ใจไป กไ็ มเ่ หน็ ได้อะไร เราเสียใจ เขาก็ไม่ให้เรา ตั้งใจเรียนดีกว่า คงสอบได้สัก คราว ๑ นกั เรยี นอน่ื ทส่ี อบตกกม็ ถี มไปไมใ่ ชแ่ ตเ่ ราคนเดยี ว ถา้ เจา้ คดิ ไดอ้ ยา่ งน้ี เจา้ กจ็ ะหายความเสยี ใจ นแ่ี หละทา่ นเรยี กวา่ รคู้ วามจรงิ เจา้ จงจ�ำ ไว้ ไปพบทกุ ขย์ ากอะไรเขา้ จะไดน้ กึ ถา้ เจา้ นกึ ไดเ้ สมอ ๆ ไป เจ้าก็จะอดทนต่อทุกข์ จะต้ังหน้าทำ�ความดีโดยไม่ย่อท้อ ถ้าเจ้า มีปญั ญา (๑) รทู้ างได้ รูท้ างเสยี (๒) ร้คู วามจริง เช่นนี้ ก็ช่ือว่าเจ้ามีทรัพย์ประเสริฐ ใครจะแย่งชิงปัญญา ของเจ้าไปไมไ่ ด้ อริยทรัพย์ทั้ง ๗ ข้อท่ีพ่ออธิบายมาน้ี เป็นของประเสริฐ กว่าทรพั ยธ์ รรมดา ถ้าเจ้าเรียนศึกษาทำ�ตามแล้ว เจ้ากจ็ ะเป็นคนดี ถึงยังเป็นเด็กอยู่ก็จะมีแต่คนชม จะไม่ถูกพ่อแม่ครูบาอาจารย์ 59
ทำ�โทษ โตขนึ้ จะท�ำ มาหากินก็ไม่ลำ�บาก จะหาเงนิ หาทอง เขา้ ของ มาเล้ียงตัวเจ้าได้โดยสะดวก นักปราชญ์ยกย่องว่า ผู้ที่มีอริยทรัพย์ ๗ ประการไม่ยากจน เกิดมาไม่เสียชาติ ข้อที่เจ้าควรจะศึกษาใน อริยทรัพย์ช้ันสูง ๆ ขึ้นไปยังมีอีกมาก แต่เจ้ายังมีอายุน้อย พ่อจึง ขอจบไว้เท่าน้ที ี คุณพ่อสอนเร่อื งอรยิ ทรัพย์ จบแล้วครบั คณุ แม่ พ่อเขาสอนอรยิ ทรัพย์ ถึงขอ้ ไหนแล้วลกู 60
ค�ำ ถาม ประ จำ� บท ๑. ปัญญา แปลความกวา้ ง ๆ ว่า กะไร ? ๒. ๓. ปญั ญาตดิ มาแตเ่ กิดกับ ปัญญาท่ีรไู้ ด้ รเู้ สยี ปัญญาทเ่ี ก็บประสมได้ เปน็ อยา่ งไร ? ผิดกนั อยา่ งไร ? ๔. ปัญญารู้ความจริง เปน็ อย่างไร ? 61
หัวขอ้ อริยท๗รัพย์ ในที่สุดพ่อจะเขียนข้ออริยทรัพย์ทั้ง ๗ ข้อไว้ให้เจ้าท่อง ดงั ต่อไปนี้ เจ้าจงทอ่ งจำ�ให้ได้ทงั้ ค�ำ ภาษาบาลีและค�ำ ไทย ข้อ ๑ ศรทั ธา ความเชอ่ื ข้อ ๒ ศีล การรกั ษากายและคำ�พูด ให้ถกู ข้อบังคับ (ซ่ึงใช้ อยฉู่ ะเพาะเร่ืองน)้ี ข้อ ๓ หิริ ความอายตอ่ ความช่วั ขอ้ ๔ โอตตัปปะ ความกลวั ต่อความช่ัว ขอ้ ๕ สตุ ะ การฟัง (หรือ พาหสุ ัจจ๔๙ ความฟังมาก) ข้อ ๖ จาคะ การสละ (คือให)้ ขอ้ ๗ ปัญญา ความรชู้ ดั เจน รทู้ วั่ ๆ ไป ๔๙ พาหุสจั จะ 62
ภาคผนวก อริยทรัพย์ หนังสอื สอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ อำ�มาตย์โท พระพินจิ วรรณการ (แสง สาลิตุล) เปรียญ แต่งทูลเกล้า ฯ ถวาย กับ พระราชนิพนธ์คำ�น�ำ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พพ์ ระราชทาน เนอ่ื งในงานพระราชพิธวี ิศาขบชู า พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๓
ค�ำ นำ� หนังสือน้ี เดิมเตรียมจะแจกในงานวิศาขบูชาเหมือนในปี ท่ีแล้วมา แต่เกิดมีการติดขัดขึ้นบางอย่าง จึ่งต้องล่าช้ามา เหตุท่ี ตดิ ขดั นน้ั คอื ในชน้ั ตน้ ผทู้ ส่ี ง่ หนงั สอื เขา้ ประกวด มคี วามเขา้ ใจผดิ กันขึ้น ความเข้าใจผิดน้ี ข้าพเจ้ารู้สึกว่าข้าพเจ้าเป็นต้นเหตุอยู่บ้าง คือในคำ�นำ�หนังสือเล่มก่อนเรื่อง “สาสนคุณ” ที่ได้รับรางวัลนั้น ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ว่า “หนังสือเล่มน้ันเป็นตัวอย่างของหนังสือท่ี ตอ้ งการ” ด้วยเหตุน้เี อง ผทู้ ่สี ่งประกวดในปีนี้จึ่งแต่งเรือ่ งสง่ ขน้ึ มา เปน็ แบบเดยี วกบั หนงั สอื “สาสนคณุ ” นน้ั ทง้ั หมด กรรมการผตู้ ดั สนิ เห็นว่าเป็นหนังสือท่ีซ้ำ�กันไป ไม่ควรได้รางวัล จ่ึงเป็นอันประกาศ ให้ประกวดกันใหม่ ยกธรรมข้อหนึ่งข้ึนให้บรรยาย การท่ีข้าพเจ้า กล่าวว่าหนังสือ “สาสนคุณ” เป็นตัวอย่างน้ัน มิได้หมายความว่า ต้องการแตฉ่ ะเพาะหนงั สือเรอื่ งน้ัน ขา้ พเจ้าหมายถงึ วธิ แี ต่งท่เี ขา้ ใจ งา่ ยอยา่ งน้ัน สว่ นเน้ือเรอ่ื งนัน้ ยอ่ มควรยักยา้ ยไปตา่ ง ๆ จงึ่ จะเปน็ ประโยชน์ ผู้ท่ีจะแต่งไม่ควรลืมความมุ่งหมายที่ข้าพเจ้าได้ชี้แจง ไวแ้ ลว้ วา่ มคี วามประสงคใ์ หบ้ ดิ ามารดาของเดก็ มหี นงั สอื ตำ�ราทาง พระพุทธศาสนาอย่างง่าย ๆ สำ�หรับสอนบุตรหลาน เพราะฉะนน้ั ยง่ิ มหี ลายอยา่ งหลายเรอ่ื ง กย็ ง่ิ เปน็ ประโยชนม์ าก จะมแี ตเ่ รอ่ื งเดยี ว เป็นแต่เปล่ยี นวิธีแต่งนิดหน่อย ย่อมไม่ได้ประโยชน์เพียงพอ การที่ ราชบัณฑิตยสภาตกลงจะยกธรรมขึ้นหมวดหน่ึงหรือข้อหนึ่งข้ึน
ให้แต่งบรรยายแข่งขันกัน อย่างน้ีคงจะสำ�เร็จประโยชน์ดีเหมือน ความประสงคข์ องขา้ พเจ้า การประกวดคราวนี้ เม่ือให้แต่งเรื่อง “อริยทรัพย์” นี้ มีผู้เข้าประกวดน้อยเพราะเป็นเวลาท่ีกระช้ันเสียแล้ว ข้าพเจ้า หวงั วา่ ในคราวหน้าจะมผี ู้เขา้ ประกวดเปน็ จำ�นวนมาก ข้าพเจ้าได้ทราบว่า หนังสือส่วนมากท่ีส่งเข้าประกวดนั้น มักจะบกพร่องในเรื่องภาษาที่ใช้นั้นมักจะยากเกินไป ไม่ตรงความ ม่งุ หมายที่จะให้เด็กอายุ ๑๐ ขวบเขา้ ใจ ขา้ พเจ้าต้องกล่าวอีกทวี ่า หนงั สอื เลม่ นก้ี เ็ ปน็ “ตวั อยา่ ง” อกี วา่ ทเ่ี รยี กวา่ “ใหเ้ ดก็ ๑๐ ขวบ เข้าใจ” นั้น คืออย่างไร แต่ไม่แปลว่าจะต้องใช้สำ�นวนหรือวิธีแต่ง อย่างน้ีเสมอไป ควรยกั เยอื้ งไปต่าง ๆ แตใ่ หเ้ ขา้ ใจง่ายเปน็ สำ�คญั เม่ือพูดถึงเรื่องเข้าใจยากหรือง่ายข้ึนแล้ว ย่อมมีปัญหา อันหนึ่งซึ่งผู้แต่งหนังสือสอนเด็กคงจะต้องถามตนเอง คือจะควร ใชศ้ พั ทภ์ าษาบาลบี า้ งหรอื ไมเ่ พยี งไร ในขอ้ นข้ี า้ พเจา้ เหน็ วา่ จ�ำ ตอ้ งใช้ เพราะจะตอ้ งสอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั ศพั ทเ์ หลา่ นน้ั ดว้ ย จะแปลออกเปน็ ไทย ทั้งหมด อาจเป็นการบกพร่องในทางสอนอย่างหนึ่งก็ได้ เพราะ การใชศ้ พั ทเ์ ปน็ ของสะดวก ไมว่ า่ วชิ ชาใด ๆ กต็ อ้ งมศี พั ทพ์ เิ ศษส�ำ หรบั วิชชาน้ัน เพราะให้ความสะดวกที่มักจะส้ันและถ้าเข้าใจซึมซาบ แล้ว ก็ใช้แทนคำ�อธิบายยาว ๆ ได้ ถ้าไม่ใช้ จะต้องพูดอ้อมค้อม รำ่�ไป การสอนพระพุทธศาสนา ก็จำ�เป็นที่จะต้องสอนให้เด็กรู้จัก ศัพท์ที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเสียให้ซึมซาบด้วย จึ่งควรใช้ แต่จะ ตอ้ งอธบิ ายใหช้ ดั เจนแจม่ แจง้ ในหนงั สอื เลม่ น้ี มตี วั อยา่ งวธิ อี ธบิ าย
ศัพท์อยู่แล้ว ซึ่งข้าพเจ้าเห็นว่าชัดเจนดี ถ้าดำ�เนินคล้ายอย่างนี้ ก็ไม่น่าจะมีข้อขัดข้องในการท่ีจะใช้ศัพท์ภาษาบาลีในหนังสือที่ จะแตง่ กนั ตอ่ ไป ข้าพเจ้าขอขอบใจ และอนุโมทนาในกุศลเจตนาของผู้ที่ แตง่ หนงั สอื เลม่ นี้ ข้าพเจ้าหวังว่า ผู้ท่ีได้รับหนังสือเล่มนี้ จะบริบูรณ์ด้วย “อรยิ ทรัพย์” อันเป็นทางท่ีจะน�ำ ความสุขมาสูต่ นเปน็ อยา่ งดี และ อาจน�ำ “โภคทรพั ย”์ มาใหด้ ว้ ยกไ็ ด้ ขอจงมคี วามสขุ สมบรู ณท์ ว่ั กนั เทอญ วนั ที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๓
(สำ�เนา) ที่ ๓-๗๐ ราชบัณฑิตยสภา วันท่ี ๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๓ ขอเดชะ ฝ่าละอองธุลพี ระบาทปกเกลา้ ปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานกราบบังคมทูลรายงาน ในการประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก สำ�หรับที่จะ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ใหพ้ มิ พ์พระราชทานในวันวิศาขบชู า พ.ศ. ๒๔๗๓ น้ี ทราบฝา่ ละอองธุลพี ระบาท ทางด�ำ เนริ การเลอื กหนงั สอื แตง่ ส�ำ หรบั ปนี ้ี ไดจ้ ดั เหมอื นเมอ่ื ปกี ลายน้ี อนกุ รรมการกไ็ ดต้ ง้ั ซ�ำ้ ตวั ส�ำ รบั เกา่ คอื พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พทิ ยาลงกรณ หมอ่ มเจ้าพร้อม ลดาวลั ย์ และเจา้ พระยา- ธรรมศักดิมนตรี ให้มีหน้าที่ตรวจเลือก มีผู้แต่งหนังสือส่งเข้ามา แขง่ ขนั กนั ๑๓ ส�ำ นวน แตอ่ นกุ รรมการตรวจเหน็ วา่ ใชไ้ มไ่ ดเ้ พราะ รปู ความซำ�้ กับหนงั สอื ซ่ึงพมิ พ์แลว้ เมื่อปกี ลายน้ี ตา่ งกันแต่ถ้อยคำ� อนุกรรมการเห็นว่าจะต้องตั้งกะทู้หมวดธรรมให้แต่งมา จึ่งจะได้ ความแปลกออกไป เวลายงั มีพอทีจ่ ะแตง่ มาแขง่ ขนั กันอีกได้ จง่ึ ได้ ประกาศออกไปใหม่ ใหแ้ ตง่ หมวดธรรมทเ่ี รยี กวา่ อรยิ ทรพั ยส์ ง่ เขา้ มา แขง่ ขนั กนั ในครง้ั หลงั นม้ี ผี แู้ ตง่ สง่ เขา้ มา ๓๐ ส�ำ นวน แตอ่ นกุ รรมการ
ตรวจเห็นว่าใช้ได้แต่สำ�นวนเดียว จึ่งได้ส่งขึ้นเสนอกรรมการราช- บณั ฑติ ยสภาแตฉ่ ะบับเดยี วเท่าน้นั กรรมการราชบณั ฑติ ยสภาไดป้ ระชมุ กนั เมอ่ื วนั ท่ี๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ มีกรรมการมาประชมุ คอื ๑. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระนรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ อปุ นายกแผนก ศลิ ปากรแทนนายก ๒. พระยาโบราณราชธานนิ ทร์ อุปนายกแผนกโบราณคดี ๓. กรมพระจันทบรุ นี ฤนาถ ๔. สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ กรรมการนอกกวา่ นน้ั ไมอ่ ยใู่ นพระนคร กรรมการทม่ี าประชมุ ปรกึ ษาเหน็ พรอ้ มกันว่า บรรดาหนังสอื ซ่งึ แต่งสง่ มาแข่งขันเลอื กได้ แตส่ �ำ นวนเดยี ว กค็ วรน�ำ ขน้ึ ทลู เกลา้ ฯ ถวายแตส่ �ำ นวนเดยี ว เมอ่ื ได้ ตัดสินเด็ดขาดฉะนั้นแล้วจึ่งได้สั่งให้รองอำ�มาตย์โท สิน เฉลิมเผ่า ผู้ร้ังตำ�แหน่งสภาเลขานุการขยายช่ือผู้แต่งสำ�นวนที่เลือกได้นั้น รองอ�ำ มาตยโ์ ทสนิ เฉลมิ เผา่ แถลงวา่ พระพนิ จิ วรรณการศาสตราจารย์ ภาษาไทยและภาษาบาลใี นราชบณั ฑติ ยสภาเปน็ ผแู้ ตง่ ไดใ้ หห้ นงั สอื แถลงความจ�ำ นงไว้ แล้วได้นำ�ขนึ้ เสนอในทปี่ ระชุมกรรมการ ในคำ�แถลงของพระพินิจวรรณการมีใจความว่า เกรงจะ ขาดแคลนผู้แต่งหนังสือส่งเข้าแข่งขันเพราะเวลามีน้อย ตนเองจึ่ง ได้แต่งส่งด้วยสำ�นวนหนึ่ง เพราะเห็นว่าตนมิได้ข้องอยู่ในบทห้าม เปน็ การชว่ ยอดุ หนนุ ใหม้ หี นงั สอื แขง่ ขนั มากส�ำ นวนขน้ึ แตจ่ ะมเี สยี ง ตเิ ตยี น วา่ ราชบณั ฑติ ยสภาเองแตง่ ชงิ รางวลั เอง อนั เปน็ ทางเสยี อยกู่ ไ็ ด้
เพราะฉะนั้นถ้าหากว่าบังเอิญหนังสือสำ�นวนของพระพินิจวรรณ- การเขา้ เกณฑไ์ ดร้ บั พระราชทานรางวลั กข็ อพระราชทานทลู เกลา้ ฯ ถวายเปน็ สว่ นชว่ ยในพระราชกศุ ลไมร่ บั พระราชทานรางวลั กรรมการ ปรึกษาเห็นพร้อมกันว่าความจำ�นงของพระพินิจวรรณการเช่นนี้ ควรนำ�ความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทราบฝ่าละอองธุลี- พระบาทดว้ ย ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานทูลเกล้า ฯ ถวายสำ�เนา หนังสือแต่ง กับทั้งคำ�แถลงของพระพินิจวรรณการมาพร้อมกับ รายงานน้ี จะควรประการใด แล้วแต่จะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ขา้ พระพทุ ธเจา้ นริศ ผู้แทนนายกราชบัณฑติ ยสภา ขอเดชะ
อริยทรัพย์ หนงั สือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก ISBN : 978-616-7975-03-0 แต่งโดย อำ�มาตย์โท พระพนิ จิ วรรณการ (แสง สาลติ ุล) เปรยี ญ พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๔๗๓ พิมพ์ครั้งท่ี ๒ (ปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ�นวน ๓,๐๐๐ เล่ม จดั พมิ พโ์ ดย สำ�นกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๓ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๑๑ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๓๙๒๓ ออกแบบปก/รูปเล่ม/และภาพประกอบโดย ไพยนต์ กาสี เสาวณยี ์ เที่ยงตรง และ อนันต์ กิตตกิ นกกลุ พมิ พ์ที่ หจก. แอลซพี ี ฐิติพรการพิมพ์ ๑๐๕/๖๖-๖๗ ถนนประชาอุทศิ ซอย ๔๕ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรงุ เทพฯ ๑๐๑๔๐
Search