Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อริยทรัพย์ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

อริยทรัพย์ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

Description: อริยทรัพย์ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

Search

Read the Text Version

อรยิ ทรัพย์ หนงั สอื สอนพระพทุ ธศาสนาแก่เดก็ อ�ำ มาตยโ์ ท พระพินจิ วรรณการ (แสง สาลติ ุล) เปรยี ญ แต่งทลู เกล้า ฯ ถวาย

“…บัณฑิตท้ังหลายได้ศึกษาเล่าเรียนมาต้ังแต่ระดับต้นจนถึง ระดบั สงู เชอ่ื วา่ คงจะไดผ้ า่ นการเรยี นรมู้ าหลาย ๆ ลกั ษณะ ลกั ษณะแรก คอื การเรยี นรจู้ ากผอู้ น่ื ดว้ ยการฟงั การอา่ น และ การสังเกตจดจำ� อย่างท่แี ต่ละคนได้รับความร้จู ากครูอาจารย์และจาก การอา่ นต�ำ รบั ตาราตา่ ง ๆ ลักษณะท่ีสอง คือการขบคิดพิจารณาส่ิงต่าง ๆ ให้เห็นเหตุ เหน็ ผล เหน็ ล�ำ ดบั ความตอ่ เนอ่ื งเชอ่ื มโยงของเหตแุ ละผลนน้ั ๆ โดยตลอด จนเกดิ เปน็ ความรคู้ วามเขา้ ใจทช่ี ดั เจนแจม่ แจง้ ลกั ษณะทส่ี าม คอื การฝกึ หดั ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองใหป้ ระจกั ษผ์ ลขน้ึ จนเกิดเป็นความสามารถจัดเจนท่ีจะปฏิบัติการต่าง ๆ ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและส�ำ เร็จผลสมบูรณ์

การเรียนร้ทู ้งั สามลักษณะน้ี เป็นส่งิ ท่คี นเราทุกคนจำ�เป็นต้อง กระท�ำ อยา่ งสม�ำ่ เสมอและตลอดชวี ติ เพราะเปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คล มีท้ังความรู้ท่ีหนักแน่น ความเข้าใจท่ีแท้จริง และความสามารถ ชำ�นิชำ�นาญในการปฏิบัติ ซ่งึ จะอำ�นวยประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ แกก่ ารด�ำ เนนิ ชวี ติ และการประกอบกจิ การงาน…” พระราโชวาท สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแกผ่ สู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลยั บรู พา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๖ ณ มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงั หวดั ชลบรุ ี วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๕๘

พระพทุ ธบุษยรตั นจักรพรรดพิ ิมลมณมี ยั

ค�ำ น�ำ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระ- ราชประสงค์ท่ีจะให้เด็กไทยสนใจศึกษาพระพุทธศาสนาให้มากขึ้น จึงมีพระราชบัญชาให้คัดเลือกหนังสือที่ชนะการประกวดหนังสือ สอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พิมพ์พระราชทาน ในงานพระราชพิธีวิสาขบูชา นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๑ มาจัดพมิ พใ์ หม่ เพ่ือพระราชทานให้แก่โรงเรยี นและห้องสมดุ ตา่ ง ๆ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม- บรมราชกมุ ารี ได้คดั เลอื กหนังสอื เร่อื ง อรยิ ทรัพย์ ซึง่ อำ�มาตยโ์ ท พระพนิ ิจวรรณการ (แสง สาลิตลุ ) เปรียญ แต่งทูลเกลา้ ฯ ถวาย เม่ือพุทธศักราช ๒๔๗๓ มาจัดพิมพ์ใหม่ ได้ปรับปรุงรูปแบบ ท�ำ เชงิ อรรถการสะกดค�ำ และมภี าพประกอบ เพ่ือให้น่าสนใจและ เหมาะแกเ่ ดก็ และเยาวชนมากยง่ิ ขน้ึ สว่ นเนอ้ื หาสาระตามตน้ ฉบบั เดมิ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เดก็ เยาวชน และผสู้ นใจทว่ั ไป สมพระราชประสงคข์ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราช- สดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส�ำ นกั งานโครงการ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พุทธศักราช ๒๕๕๘



สารบัญ ๙ ๑๑ คำ�แถลงของผู้แต่ง ๑๗ บทนำ� ๒๕ อริยทรพั ย์ข้อ ๑ ความเชื่อ อริยทรัพย์ข้อ ๒ ศีล ๓๓ อริยทรพั ย์ข้อ ๓ ความอาย ๓๙ }อริยทรัพย์ข้อ ๔ ความกลัว ๔๕ ๕๓ อริยทรพั ย์ข้อ ๕ การฟัง ๖๒ อริยทรัพย์ข้อ ๖ การให้ อริยทรพั ย์ข้อ ๗ ปัญญา หัวข้ออริยทรพั ย์ ๗



คำ�แถลงของผแู้ ตง่ หนังสือเรื่องนี้มิได้ต้ังชื่อใหม่ คงใช้ชื่อว่าเรื่องอริยทรัพย์ ตามที่ประกาศกำ�หนดไว้ เพราะคำ�ว่า อริยทรัพย์ มีอยู่ในอธิบาย น้ัน ๆ แล้ว จักเป็นประโยชน์ให้เด็กจำ�คำ�ภาษาบาลีที่ใช้กันอยู่ โดยมากได้บา้ ง คำ�แปลในเรอื่ งอริยทรพั ย์ ที่ควรเป็นภาษาแนน่ อน แต่ฟังยาก หรอื เป็นภาษาบาลีทเี ดยี ว แตใ่ ชก้ นั ในภาษาไทยบ่อย ๆ ก็ได้เขียนหมายไว้ตามเชิงกระดาษบ้าง แต่มิได้มุ่งหมายให้เด็กอ่าน โดยความเขา้ ใจ มุ่งเพยี งใหเ้ ด็กเหน็ ชิน ๆ ไปพลางเทา่ นนั้ 9



ข่าวการประกวดหนงั สอื เดก็ หรอื อรยิ ทรพั ย์ พอ่ รู้แล้วล่ะ บทน�ำ เดก็ ชายเสถยี รอายุ ๑๓ ปี หยบิ หนังสอื พิมพ์ฉะบับ๑ลงวนั ท่ี ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๒ เดิร๒ตรงไปหานายสุนทรผู้เป็นบิดาซ่ึง นอนอ่านหนังสืออยู่บนเก้าอ้ีนอน ก้มศีรษะลงคำ�นับแล้วพูดว่า คุณพ่อขอรับ๓ วันนี้หนังสือพิมพ์ลงแจ้งความของราชบัณฑิตยสภา เรอ่ื งใหแ้ ตง่ หนงั สอื ประกวดวศิ าขะ๔ พ.ศ. ๒๔๗๓ สง่ เขา้ ประกวดใหม่ ให้ส่งถึงราชบัณฑิตยสภาก่อนวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๓ ก�ำ หนดใหแ้ ตง่ เร่ืองอริยทรัพย์ นายสุนทร พ่ออ่านแล้ว พ่อคิดว่าจะแต่งส่งเข้าประกวด เหมอื นกนั เรอ่ื งอรยิ ทรพั ยพ์ อ่ เคยไดเ้ รยี นมาแลว้ แตห่ นกั ใจอยา่ งเดยี ว ทตี่ อ้ งแต่งใหเ้ ดก็ อายุ ๑๐ ขวบอ่านเอาความได้ พ่อจะสอบถามเจ้า ก่อน เจา้ อายถุ งึ ๑๓ ขวบแล้ว เขา้ ใจค�ำ วา่ อริยทรพั ย์ หรือไม่ ๑ ฉบบั ๒ เดิน ๓ ครบั ๔ วสิ าขะ 11

เสถียร เข้าใจแต่คำ�ว่า ทรพั ย์ คำ�ว่า อรยิ ไมเ่ ขา้ ใจ สุนทร เห็นหรือไม่ว่าแต่งยาก เจ้าอายุถึง ๑๓ ขวบแล้ว พอเอ่ยช่ือเร่ืองก็ไม่เข้าใจ แต่พ่อจะลองพยายามให้ง่าย เพ่ือเด็ก อายุ ๑๐ ขวบจะเข้าใจได้บา้ ง ไปเรยี กพอ่ เจริญน้องชายของเจ้ามา น่ีด้วย เจรญิ ลกู อ่านที่พ่อชด้ี ซู ลิ กู พอเด็กเจรญิ เข้ามาน่ังเรียบรอ้ ยแลว้ นายสนุ ทรจึงชี้ หนังสอื พมิ พ์ ตรงค�ำ อริย บอกใหเ้ ด็กเจริญอ่าน เจรญิ ออ–ริ–ยอ สุนทร ไมถ่ กู ไม่ใช่ ออ–ริ–ยอ เขาอา่ นวา่ อะริยะ เจริญ ท�ำ ไมไม่มจี ดุ ๆ ขา้ งหลงั ตัว อ ตัว ย สุนทร ภาษาบาลี ตัวหนงั สอื เปล่า ๆ อ่านอยา่ งมีสระ อะ ทง้ั นน้ั เวลานเ้ี จา้ ยงั เรยี นหนงั สอื ไทย อยา่ เพอ่ ๕ถามถงึ ภาษาบาลเี ลย เจ้าโตขึ้น บางทีพ่อจะให้เรียนภาษาบาลี เวลานี้พบทีละคำ�สองคำ� ก็จงจำ�ไว้ คำ�ไทยมีภาษาบาลีปนมาก ถ้าเจ้าหมั่นจำ� ก็จะอ่าน หนงั สอื ไทยดขี น้ึ จงตง้ั ใจฟงั พอ่ จะอธบิ ายเรอ่ื ง อรยิ ทรพั ย์ ใหเ้ จา้ ฟงั อริย เจา้ กอ็ ่านไม่ถูก คงแปลไม่ได้ ทรัพย์ เจา้ รูห้ รือไม่วา่ อะไร ๕ พง่ึ 12

เจริญ เงนิ ขอรับ สุนทร ถูกแล้ว ทรัพย์ คือเงิน แต่ยังถูกไม่หมด เงินก็เป็น ทรัพย์อย่าง ๑ อยา่ งเจ้าวา่ เสถียรจงตอบบา้ ง ทรพั ย์ คอื อะไร เสถยี ร ทรพั ย์ คือของใช้ ของกนิ ทงั้ หมด สุนทร ทดี่ นิ เปน็ ทรพั ย์หรือไม่ เสถียร ท่ีดินก็เป็นทรัพยเ์ หมอื นกนั สุนทร เจริญจงจำ�พ่ีเสถียรไว้ พี่เสถียรเขารู้จักทรัพย์อย่าง รวม ๆ แล้ว ของกิน ของใช้ต่าง ๆ ที่บ้าน ที่สวน ไร่นา เรียกว่า ทรัพย์ทั้งน้ัน พ่อจะเรียกช่ือตามท่ีชาวบ้านชาวเมืองเขาเรียกกัน ทรัพย์เรียกกัน ๒ อย่าง คอื ทรัพย์มวี ิญญาณ๖ อย่าง ๑ ทรัพย์ไม่มี วิญญาณ๗ อยา่ ง ๑ ผมเปน็ ทรัพยม์ ีวิญญาณนะ ค�ำ ว่า วญิ ญาณ พอ่ ก็กลวั เจ้า จะไมเ่ ข้าใจอีก จะแปลความหมาย ให้งา่ ย ๆ แถมลงไว้ ทรพั ย์มีวญิ ญาณ คอื ทรพั ย์ท่ีมีชวี ิตจติ ต์๘ใจ เช่น วัว ควาย ช้าง มา้ นก ไก่ เปน็ ตน้ ทรพั ย์ท่ไี มม่ ีวิญญาณ คอื ทรัพยท์ ีไ่ มม่ ชี ีวิต ๖ วิญญาณะกะทรัพย์ ๗ อะวญิ ญาณะกะทรัพย์ ๘ จิต 13

จิตต์ใจ เช่น เงิน ทอง ผ้านุ่ง ผ้าห่ม บ้านเรือน สวนนา เป็นต้น เขาเรียกกัน ๒ อย่างนี้มานมนาน แล้วมาเปลี่ยนใช้กันข้ึนใหม่ เรยี กวา่ ทรพั ยเ์ คลอ่ื นทไ่ี ด๙้ อยา่ ง ๑ ทรพั ยเ์ คลอ่ื นทไ่ี มไ่ ด๑้ ๐ อยา่ ง ๑ ถา้ เจา้ เขา้ ใจยงั ไมด่ กี จ็ งคดิ เอางา่ ย ๆ ตผู้ า้ นงุ่ ผา้ หม่ ของเรา เรายา้ ยบา้ น เราก็ยกไปได้ เงิน ทอง เราก็เก็บใส่กระเป๋าไปได้ เจ้าจงจำ�ไว้ว่า ของทเ่ี ราขนจากที่นีไ่ ปทโี่ น่นได้ เรียกวา่ ทรัพยเ์ คล่อื นทีไ่ ด้ทงั้ น้ัน๑๑ ที่บ้านท่ีนาของเรา เราย้ายไปอยู่ท่ีอื่น เราก็ร้ือ ก็ยกมันไปไม่ได้ ถ้าเราอยากใช้มัน อาศัยมัน เราต้องไปหามัน เพราะฉะน้ัน ท่ีนา ท่ีบ้าน เป็นทรพั ยเ์ คล่อื นท่ไี ม่ได้ ทรพั ยท์ ง้ั ๒ อยา่ ง เมตตาด้วยครับ ท่ีพ่ออธิบายมานี้ ขาดแคลนทรพั ยเ์ หลือเกิน คนอยากไดก้ นั นกั ถา้ ใครมมี าก ก็วา่ สบาย ถา้ ใครมนี อ้ ย กว็ า่ ล�ำ บาก ๙ สงั หาริมะทรัพย์ ๑๐ อะสงั หารมิ ะทรัพย์ ๑๑ เวน้ แตท่ รพั ยเ์ คลอ่ื นทไ่ี ด้ ซง่ึ กฎหมายบญั ญตั ใิ หเ้ ปน็ ทรพั ยเ์ คลอ่ื นทไ่ี มไ่ ด้ ดว้ ยรอ้ื ถอน เขา้ กเ็ สียหายมาก 14

คนที่เกิดมามีชีวิตอยู่ มีทรัพย์ด้วยกันทุกคน แปลกกันแต่ มีมาก มนี ้อย เทา่ นัน้ เจา้ ทง้ั ๒ คนยงั เด็กอยู่ ก็มีทรพั ยแ์ ล้ว เชน่ ผา้ นงุ่ ผา้ หม่ ทพ่ี อ่ ให้ เจา้ ตอ้ งขยนั เรยี นวชิ ชา๑๒ไว้ จะไดห้ าทรพั ยใ์ ชเ้ มอ่ื โต แต่เจ้าต้องจำ�ไว้ว่าทรัพย์ที่พ่ออธิบายมานี้ เป็นแต่ทรัพย์ธรรมดา ไม่วิเศษมากมายอะไรนัก ได้มาแล้วก็ใช้ไป หมดไปแล้วก็ต้องหา มาใหม่ หามาได้แลว้ รักษาไมด่ ีขะโมย๑๓กล็ กั ไม่รู้จกั วิธีใช้กห็ มดเรว็ ท�ำ ใหล้ �ำ บากยากแคน้ ตา่ ง ๆ เจา้ จะตอ้ งหาทรพั ยท์ ด่ี กี วา่ นไ้ี ว้ ทรพั ย์ ที่ดีกว่าน้ีเรียกว่า อริยทรัพย์ ท่ีประกาศให้แต่งประกวด อย่าง หนังสือพิมพ์ลงนั้นเอง อริย เป็นภาษาบาลี แปลว่า ประเสริฐ รวมกบั ค�ำ ว่า ทรัพย์ กแ็ ปลวา่ ทรัพยป์ ระเสรฐิ เจา้ จงอา่ นให้จำ�ได้ ให้คล่องปาก ต่อไปพ่อพูดว่าอริยทรัพย์ ก็ให้นึกแปลได้ทันทีว่า ทรัพย์ประเสรฐิ อริยทรพั ย์น้ี ไมใ่ ช่สง่ิ ของ ไมใ่ ชเ่ งินทอง ไร่ นา เปน็ ความดี อย่าง ๑ แต่พ่อจะไม่อธิบายในวันน้ี ด้วยกลัวลูกจะเลอะ จะจับ ความดี ไม่ได้ ไว้วันอื่นจึงค่อยฟังต่อไป วันนี้จะเตือนให้เจ้านึกไว้ อยา่ งเดียวว่า ความดเี ป็นทรพั ยป์ ระเสริฐ ทอ่ งให้คลอ่ งปาก จะได้ คอยกระซิบตัวเองอยู่เสมอ ให้หมั่นหาอริยทรัพย์ เรียกว่า อบรม นิสสัย๑๔ เช่นครั้งแรก ลูกไปตีเด็กที่เล็กกว่าคน ๑ พ่อก็เฆ่ียนเจ้า และสอนเจ้าว่า ต่อไป ถ้าตีเขาอีก พ่อจะเฆ่ยี น ถ้าเจ้านึกอย่เู สมอ เจา้ อาจไมไ่ ปตเี ขาอกี ดว้ ยกลวั ถกู เฆย่ี น วนั น้ี พอ่ สอนเจา้ เทา่ นก้ี อ่ น วันอ่ืนจะไดอ้ ธิบายอรยิ ทรพั ย์ตอ่ ไป ๑๒ วิชา ๑๓ ขโมย ๑๔ นสิ ยั 15

คำ� ถาม ประ จำ� บท ๑. สิง่ อะไร เรียกวา่ ทรัพย์ ? ๒. ๓. ทรัพย์ อริยทรพั ย์ เรียกกนั กอ่ี ยา่ ง ? แปลว่าอะไร ? ๔. ๕. อริยทรพั ย์ ท�ำ ไมจึงใหน้ ึกถึง คอื อะไร ? อริยทรัพยเ์ สมอ ? 16

อขรยิ ้อทร๑พั ย์ ความเช่ือ อรหงั สัมมา... นายสุนทร ลูกทั้ง ๒ คอยฟัง เมื่อวันก่อนพ่ออธิบายคำ�ว่า ทรพั ย์ อยา่ งสน้ั ๆ และแปลค�ำ วา่ อรยิ ทรพั ยใ์ หเ้ จา้ ฟงั แลว้ ไปหยดุ ไว้ แค่นั้น ส่งั แต่ให้เจา้ ทัง้ ๒ คนนึกและบน่ ให้บ่อย ๆ ว่า ความดเี ป็น ทรัพย์ประเสริฐ เพียงเท่านี้ วันนี้พ่อจะอธิบายความดีท่ีเป็นทรัพย์ ประเสริฐต่อไป อริยทรัพย์ในหนังสือพุทธศาสนา๑๕ มี ๗ ด้วยกัน แตพ่ อ่ จะอธบิ ายในวนั นท้ี ง้ั ๗ ขอ้ เจา้ กจ็ ะร�ำ คาญ ดว้ ยตอ้ งจ�ำ ขอ้ ๑ ข้อ ๒ เป็นต้นไป จะจำ�ยาก พ่อจะอธิบายแต่คราวละข้อ เจ้าจง ตั้งใจฟังดงั ตอ่ ไปนี้ ๑๕ คัมภีรอ์ ังคุตตะระนิกาย สัตตะกะนบิ าต ปฐมปัณณาสะกะ ปฐมวรรค 17

อริยทรัพย์ข้อ ๑ คือ ความเช่ือ คำ�ภาษาบาลีว่า สัทธา เราเรยี นตามโรงเรยี นเขยี นวา่ ศรทั ธา เลยี นภาษาสงั สกฤต๑๖ เจา้ จง จำ�ไว้ด้วย ความเชื่อเป็นทรัพย์ประเสริฐอย่างไร น่ีและคอยฟังให้ดี เพราะความเช่ือท่ีเป็นทรัพย์ประเสริฐเก่ียวกับความรู้ ต้องรู้ว่า อะไรผิดอะไรถูกเสียก่อนจึงเช่ือ ถ้าเช่ือเร่ือยไปท้ังหมดก็ไม่เป็น ทรัพยป์ ระเสรฐิ เชน่ ใครเขาบอกเจา้ วา่ จงเอามีดไปฟันเด็กคนนน้ั เขาจะให้เงิน ถ้าเจ้าเช่ือเขาไปฟันเข้าจริง ๆ เชื่ออย่างน้ีไม่เป็น ทรัพย์ประเสริฐ เพราะเจ้าจะต้องถูกทำ�โทษ ทีนี้อีกคน ๑ บอก เจา้ ว่า เดก็ ตกน�ำ้ จะจมตาย ให้เจ้าโดดลงไปชว่ ย ถา้ เจา้ ว่ายนำ�้ ไม่เปน็ เจ้าเชื่อเขา โดดลงไปชว่ ย ชว่ ยด้วยคนตกน้ำ�ํ ก็ไมใ่ ช่ ทรพั ย์ประเสริฐ เพราะเจา้ ก็จะ จมน�ำ้ ตายอีกคน ๑ ตอ่ เจ้าร้วู า่ เจา้ วา่ ยนำ�้ เปน็ เจา้ จึงควรโดดลงไปชว่ ย จงจำ�ไว้ว่า เช่ือส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ จึงเป็นทรัพย์ประเสริฐ แตเ่ จา้ ยงั เปน็ เดก็ เลก็ อยู่ เจา้ จะเลอื กวา่ อยา่ งใดเปน็ ประโยชนน์ น้ั ยาก พ่อจะบอกหลกั ความเชื่อทเี่ ปน็ ประโยชน์ไวใ้ ห้สัก ๒ อย่าง คือ ๑๖ สันสกฤต 18

(๑) เชอื่ ความรูข้ องพระพทุ ธเจา้ ๑๗ (๒) เชื่อวา่ เราท�ำ อะไรลงไป ตอ้ งเปน็ ของเรา๑๘ ตอนนี้เจ้าคงจะฟังยากขึ้นกระมัง เพราะเจ้ายังรู้ไม่ได้ดี วา่ พระพทุ ธเจา้ อยทู่ ไ่ี หน เปน็ คนชะนดิ ๑๙ไร พอ่ จะชพ้ี ระพทุ ธเจา้ ให้ เพจรา้ ะไดพอ้ ุทา่ ธนเเจร้าอ่ื กง็คราือวขคอนงรทู้คา่ วนาอมยดบู่ ีคา้ วงแามลว้ช่ัวพชอ่ัดจเจะนไมเ่แลลา่ ะซ�ำ้ ทพำ�รแะตพ่คทุ วธาเมจดา้ ี ทา่ นตายเสยี กวา่ ๒,๐๐๐ ปแี ลว้ ยงั เหลอื แตค่ วามรขู้ องทา่ นทเ่ี รยี กวา่ พทุ ธศาสนา พวกศิษยจ์ ดจ�ำ ลอกคดั กันต่อ ๆ มา แต่หนงั สือทีเ่ ป็น ความรู้ของพระพุทธเจ้านั้น เจ้าอ่านลำ�ภัง๒๐ตนเอง ก็รู้ไม่ใคร่ได้ ว่าบทไหนข้อไหนคำ�ไหน ท่ีเจ้าควรจะเชื่อ เจ้าจำ�ได้แล้วไม่ใช่หรือ วา่ พระพุทธเจ้าก็คือคนรู้ความดีความชั่วชัดเจน พระพุทธเจา้ ทรงรู้ดีรู้ช่วั อย่างถูกตอ้ ง เจา้ จงหา คนรู้ ซ่งึ นบั เปน็ ศิษย์ เราจงึ เช่ือในคำํ�สอนของพระองค์ ของท่านสอนตัวเจา้ ๑๗ ตะถาคะตะโพธิสทั ธา คนรูด้ ีรชู้ ว่ั มอี ยทู่ ่วั ไป ๑๘ กัมมัสสะกะตาสทั ธา แตร่ ้มู ากบา้ งน้อยบ้าง ๑๙ ชนิด ๒๐ ล�ำ พัง เชน่ ในบา้ นนี้ พ่อก็เปน็ ศษิ ย์ ของพระพทุ ธเจา้ ถงึ พอ่ รู้ไมม่ าก กร็ พู้ อสอนเจ้าไดอ้ ยา่ งต�ำ่ ๆ อันเปน็ ความรู้เบื้องต้น 19

ถ้าเจ้าเช่ือความรู้ของพ่อ ก็เท่ากับเจ้าเชื่อความรู้ของ พระพุทธเจา้ บางส่วน เจา้ โตขนึ้ อาจรู้ไดม้ ากกวา่ นี้ ทางดีท่ีสุดของเจ้าในเวลาน้ี ก็คือ ว่าง่ายสอนง่าย เชื่อฟัง ผู้ใหญ่ท่ีมีความรู้ ผู้ใหญ่ท่ีมีความรู้ เวลาน้ีเราก็ไม่ต้องเลือกหาเอง รัฐบาลท่านหาไว้ให้ คือตั้งโรงเรียนไว้ทั่ว ๆ ไป ครูท่ีสอน รัฐบาล ก็เลือกหาท่ีมีความรู้สอนเป็นช้ัน ๆ วางข้อบังคับให้สอนแบบที่ดี ค�ำ สอนทด่ี ใี นโรงเรยี น เชน่ สอนใหข้ ยนั เรยี นวชิ ชา ใหป้ ระพฤตกิ ริ ยิ า เรยี บรอ้ ย เปน็ ตน้ โดยมากตรงกบั ค�ำ สอนของพระพทุ ธเจา้ เจา้ เชอ่ื ฟงั ครูสอน ก็เท่ากับเชื่อความรู้ของพระพุทธเจ้าบางส่วน น่ีเป็นหลัก ความเช่ือข้อ ๑ ความเชื่อข้อ ๑ นี้สอนให้เรารู้สึกว่า เราเป็นเด็ก เรารู้น้อย เราต้องอาศัยผู้ใหญ่ แต่ต้องเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีความรู้ และ เป็นคนดี ทนี ้ี พอ่ จะอธิบายความเช่ือขอ้ ๒ ตอ่ ไป คอื เช่อื วา่ เราท�ำ อะไรลงไป ต้องเปน็ ของเรา เราทํำ�อยา่ งไร ตรงนี้เจา้ ต้องสังเกตใหด้ ี กไ็ ด้ผลอย่างนนั้ แหละลกู เพราะสิ่งท่ีเราท�ำ มตี น้ มีปลาย ต้น ภาษาบาลวี า่ เหตุ ปลาย ว่า ผล เจา้ เคยพูดตดิ ปากอยู่บา้ งแลว้ พอ่ จะอธบิ าย เหตุ ผล ต้น ปลาย ท่ตี ดิ ต่อกันใหเ้ จา้ ฟัง 20

เหมอื นเราปลูกต้นขนนุ นี้ มนั โตข้นึ ก็จะใหผ้ ลเปน็ ขนุน พ่อไมไ่ ดท้ �ำ นาท�ำ ไมจงึ มเี ขา้ ๒๑ใหล้ กู กนิ ? เพราะซ้ือเขา พ่อท�ำ เงนิ ไมไ่ ด้เอง ท�ำ ไมจงึ มเี งนิ ซอ้ื เขา ? เพราะทำ�ราชการได้เงินเดือน ทำ�ไมจึงท�ำ ราชการได้ ? เพราะเรียนวิชชาทที่ างราชการท่านใช้ เจ้าจงจำ�ไว้ วิชชานี้แหละเป็นต้นเหตุ ให้ได้ผลคือมีเข้ากิน แต่มันกลายไปหลายต่อ วิชชากลายไปเป็นทำ�ราชการ ทำ�ราชการ กลายไปเปน็ ไดเ้ งนิ เดอื น ไดเ้ งนิ เดอื นกลายไปเปน็ ซอ้ื เขา้ กนิ เจา้ เหน็ หรอื ยงั วา่ เราท�ำ อะไรลงไป ตอ้ งไดแ้ กเ่ รา นว่ี า่ ทเ่ี จา้ เหน็ ๆ วชิ ชายงั เปน็ ตน้ เหตุ ใหไ้ ปท�ำ อะไรตอ่ อะไรไดอ้ กี มาก ท�ำ นา คา้ ขาย ไดท้ ง้ั นน้ั นีเ่ ป็นทางข้างดี ทางขา้ งช่วั กเ็ หมอื นกัน ๒๑ ขา้ ว 21

คนท่ไี ม่หาความรู้ไวก้ ็มโี อกาส ไปทํ�ำ ช่ัวไดง้ ่าย จำํ�ไว้นะลูก ท�ำ ไมจึงมคี นตดิ คุก ? เพราะ (บางคน) เป็นขะโมย ท�ำ ไมจึงเป็นขะโมย ? เพราะไม่มเี งิน ท�ำ ไมจึงไม่มีเงิน ? เพราะไม่มวี ชิ ชา (หรือมีวชิ ชาแตป่ ระพฤติช่ัว) เจา้ จงจ�ำ ไวอ้ กี ไมม่ วี ชิ ชานแ้ี หละ (อาจ) เปน็ ตน้ เหตใุ หต้ ดิ คกุ แต่ก็กลายไปหลายต่อเหมือนกัน คือไม่มีวิชชากลายเป็นไม่มีเงิน ไม่มีเงินกลายไปเป็นขะโมย เป็นขะโมยกลายไปเป็นติดคุก ถ้าเจ้า สืบหาเหตุผลอย่างน้ีเสมอไป เจ้าคงคิดเห็นได้ว่า เราทำ�อะไรลงไป ตอ้ งเปน็ ของเรา หลกั ความเชอ่ื ขอ้ ๒ น้ี สอนใหเ้ รารสู้ กึ วา่ สง่ิ ทง้ั หลาย 22

มเี หตผุ ลตน้ ปลาย ถา้ เจา้ คดิ อยเู่ สมอ ๆ เจา้ กจ็ ะขยนั เรยี นวชิ ชา ทจี่ ะ มีผลงาม ๆ จะไม่ทำ�สิ่งทมี่ ผี ลเลว ๆ ความเช่ือที่พ่ออธิบายมาท้ังหมดนี้ เป็นทรัพย์ประเสริฐ ใครจะแยง่ ชงิ ของเราไปไม่ได้ อยกู่ ับเราเสมอ เราใชท้ ุกวนั กไ็ มห่ มด ขอเตอื นเจา้ ในท่ีสุดว่า (๑) เจา้ ต้องเชอ่ื ฟังค�ำ สอนท่านผรู้ ู้ (๒) เจ้าต้องเช่อื วา่ ท�ำ อะไรลงไปต้องเปน็ ของตน วันนีแ้ ค่นีก้ อ่ นกแ็ ล้วกนั ลกู 23

คำ� ถาม ประ จ�ำ บท ๑. ความเช่อื ภาษาบาลีวา่ กะไร๒๒ ? ๒. ๓. เชอ่ื อยา่ งไร หลักความเชือ่ มตี ัวอย่างอะไรบา้ ง ? จึงเปน็ ทรัพยป์ ระเสรฐิ ? ๔. ศรัทธาประเสรฐิ กวา่ ทรัพยธ์ รรมดา อย่างไร ? ๒๒ ปัจจบุ นั ใช้ กระไร 24

อขรยิ ้อทร๒พั ย์ ศีล วันนพ้ี อ่ จะคุย เร่อื งศลี ใหฟ้ ัง นายสุนทร วันนี้พ่อมีเวลาว่าง จะอธิบายอริยทรัพย์ข้อ ๒ ใหเ้ จ้าฟังตอ่ ไป เม่อื วันก่อนพ่อไดอ้ ธบิ าย ความเชอ่ื ให้ฟงั แลว้ เจา้ อย่าลืม ความเชอ่ื นส้ี �ำ คญั นกั เจา้ จะท�ำ ความดกี เ็ พราะเชอ่ื เจา้ จะไมท่ �ำ ความชว่ั ก็เพราะเช่ือ อริยทรัพย์ข้อ ๒ คือศีลนี่แหละ จะช้ีความดีความช่ัว อันตรงกันขา้ ม คอื รกั ษาศีลเปน็ ความดี ไมร่ ักษาศีลเป็นความชวั่ เจา้ คงจ�ำ ค�ำ วา่ ศลี ไดด้ แี ลว้ เพราะในบา้ นเราพดู กนั บอ่ ย ๆ เชน่ พระมาสวดมนตร๒์ ๓ มาเทศน์ กอ่ นหนา้ สวด กอ่ นหนา้ เทศน์ มกั มี ผู้ใหญ่บอกว่า อาราธนาศีล รับศีล พระให้ศีล ท่ีโรงเรียนครูสอน เบญจศลี แตเ่ จา้ คงรคู้ วามหมายของศลี ยงั ไมต่ ลอด เพราะในโรงเรยี น ๒๓ สวดมนต์ 25

สอนแตเ่ บญจศลี เปน็ พน้ื พอ่ จะอธบิ ายศลี ทว่ั ๆ ไปใหฟ้ งั กอ่ น เจา้ จะ ได้รจู้ กั คนรักษาศลี ท่ีถอื พทุ ธศาสนารว่ มกนั เป็นชนั้ ๆ ศีล แปลอย่างกว้าง ๆ ก็คือรักษากายและคำ�พูด ให้ถูก ขอ้ บงั คบั ๒๔ พ่อจะแยกศีลเป็นช้ัน ๆ ตามเพศของคนท่ีเจ้าเห็นอยู่ เสมอ คอื ศลี ชัน้ ตำ�่ แม่พวกเจา้ เขารกั ษาศีลแปด ของคฤหสั ถ์ ทุกวนั พระ ศลี ชน้ั กลาง ของสามเณร ศลี ชั้นสงู ของพระสงฆ์ แต่เจ้าอย่าเข้าใจผิด ว่าศีลช้ันต่ำ�เลวกว่าชั้นอื่น ข้อรักษาดี เทา่ ๆ กนั ผดิ กนั แตศ่ ลี ชน้ั ต�ำ่ มนี อ้ ยขอ้ ศลี อกี ๒ ชน้ั มมี ากขอ้ เทา่ นน้ั ศลี พระสงฆม์ กี วา่ ๑๐๐ ขอ้ ศลี สามเณรกม็ ากคลา้ ยพระสงฆ์ แตท่ า่ น ยกขน้ึ กลา่ วเพยี ง ๑๐ ขอ้ ศลี คฤหสั ถม์ ี ๕ ขอ้ ถา้ คฤหสั ถอ์ ยากรกั ษา ให้คล้ายพระคล้ายเณร ก็รักษาข้ึนไปถึง ๘ ข้อ เกือบเท่าชั้นกลาง ทพ่ี อ่ แยกศลี เปน็ ชน้ั ๆ น้ี กเ็ พอ่ื จะใหเ้ จา้ รวู้ า่ ผถู้ อื พทุ ธศาสนา ถา้ ใคร รักษาศีลช้ันตำ่�ก็เคารพผู้รักษาศีลชั้นสูง เจ้านายที่ท่านรักษาศีล ชนั้ ต�ำ่ ทา่ นกเ็ คารพพระสงฆ์สามเณร ซงึ่ รกั ษาศีลช้ันสงู กวา่ เณรก็ ๒๔ ฉะเพาะเร่ืองศลี 26

เคารพพระอีกชั้น ๑ เจ้าก็ต้องเคารพพระเณรเหมือนกัน แต่ศีล ชน้ั ต�ำ่ นน้ั จ�ำ เปน็ แท้ ๆ ทต่ี อ้ งรกั ษา ถา้ ไมร่ กั ษากเ็ กดิ โทษ พอ่ กต็ อ้ ง รักษา เจ้าท้งั ๒ กต็ อ้ งรกั ษา ศลี อยา่ งพระอยา่ งเณรเราไมส่ มคั ร์๒๕ รกั ษา เรากไ็ มม่ โี ทษ พอ่ จะสอนเบญจศลี ทเ่ี จา้ เรยี นในโรงเรยี นซ�ำ้ อกี เพื่อจะไดแ้ ม่นยำ�ขนึ้ ศีลข้อ ๑ ห้ามไม่ให้ฆ่าสัตว์เดียรฉาน๒๖หรือมนุษย์ ถ้าเรา แกล้งฆ่ามนุษย์ ศาลจะตัดสินประหารชีวิต ให้เราตายไปตามกัน สว่ นสตั วเ์ ดยี รฉาน ถา้ เราไปฆา่ ววั ควาย เปด็ ไก่ เปน็ ตน้ กเ็ หมอื น ประจานตัวเรา ว่าใจบาปอยาบช้า๒๗ ซ่ึงเจ้าก็ไม่ชอบให้ใครว่าเจ้า ไมใ่ ชห่ รือ ถ้าเจา้ ฆ่าสตั วบ์ ่อย ๆ เข้า ก็ทำ�ให้ใจบาปอยาบช้าจริง ๆ ทีหลังมนุษย์ ถ้าเจ้าโกรธ เจ้าก็อาจฆ่าได้ ถ้าเจ้าชอบให้เขาว่าเจ้า เปน็ คนใจบุญ เจา้ ก็อย่าฆ่า เจา้ ตอ้ งรกั ษาศีล บาปกรรมจริง ตๆี ส้เู ขาลกู พอ่ นอกจากไมฆ่ ่า ยังมขี ้อท่ไี มด่ อี กี คือทรมานสตั วใ์ หล้ ำ�บาก เช่นจับตัวแมลงอะไร ต่ออะไรมาเดด็ ปกี เด็ดหาง กัดปลากัด ชนไก่ เป็นต้น ซงึ่ ท�ำ ใหใ้ จร้ายทั้งนน้ั ๒๕ สมัคร ๒๖ เดยี รัจฉาน ๒๗ หยาบชา้ 27

เราลองนึกดูว่า ถ้าเขาตีแขนตีขาเราหัก เราจะเป็นอย่างไร เขาบงั คบั ใหเ้ ราตอ่ ยกนั หนา้ ตาบวม จะสนกุ หรอื ไม่ จงจ�ำ ไวว้ า่ ศลี ขอ้ น้ี (๑) ห้ามไม่ให้ฆา่ และไมเ่ บยี ดเบียนด้วย (๒) ใหม้ คี วามรัก ความสงสาร ใหช้ ว่ ยเหลือกัน อย่าบอกใครนะ อย่าขโมยของคนอ่ืน เราอาย มันไม่ดี ศลี ขอ้ ๒ หา้ มไมใ่ หล้ กั ของคนอน่ื ถา้ เราไปลกั เขา เขาจบั ได้ ก็ติดคุก ท่ีสุดลักของพ่อแม่เอง ก็อาจถูกเฆี่ยน และเคยตัว โตขึ้น จะกลายเปน็ ขะโมย เจา้ จงหมน่ั เรยี นวชิ ชาไว้ จะไดเ้ ปน็ ทนุ หากนิ ใน ทางทีช่ อบ จงจำ�ไวว้ ่า ศีลขอ้ น้ี (๑) หา้ มไม่ใหล้ กั (๒) ใหห้ ากินในทางทีด่ ี 28

ศลี ขอ้ ๓ หา้ มไมใ่ หท้ �ำ ชรู้ ะวาง๒๘ผวั เมยี เขา คอื แยง่ ความรกั ของผัวเมียเขา เจ้ายังเด็ก ยังไม่มีเมีย (มีผัว) ยังไม่รู้ว่าผัวเมียเขา รกั กนั อยา่ งไร กจ็ งดนู อ้ งเลก็ ๆ ของเจา้ ๒ คน พอพอ่ เรยี กหนคู นโต เขา้ มาหา หรือพอ่ เรยี กเด็กอ่นื มาอ้มุ นอ้ งเลก็ ของเจา้ กค็ ลานเข้ามา บ้าง บางทีก็ร้องให้๒๙ บางทีก็กัดเอาหนูคนโต และกัดเด็กท่ีพ่ออุ้ม บางทีกต็ ี นี่ของพนี่ ะ เจ้าดูเถดิ เดก็ ยังหวง ความรกั ถงึ เพยี งน้ี เอามาใหห้ นู เจ้า ๒ คนกเ็ หมอื นกนั โตรูค้ วามมากแลว้ พอ่ เคยเหน็ ถ้าพ่อ ไปเล่นหัวกับคนไหนมาก อกี คนหนึ่งก็น้อยใจ ถงึ ทำ�กิริยาให้พอ่ รู้ น่ีก็คือแย่งความรักกัน ผัวเมียย่ิงกว่านั้น ถ้าใครไปแย่ง ความรกั อาจฆ่ากันกไ็ ด้ เจา้ จงจำ�ไว้วา่ ศลี ข้อ ๓ นี้ (๑) หา้ มไมใ่ หท้ �ำ ชู้ เปน็ การแยง่ ความรกั ในระวางผวั เมยี เขา (๒) ใหเ้ ปน็ ผวั เปน็ เมยี กนั อยา่ งเปดิ เผย รกั ษาประเวณผี วั เมยี อยา่ งงามหนา้ ๒๘ ระหวา่ ง ๒๙ รอ้ งไห้ 29

ท่บี ้านโทรมาบอก แล้วทํำ�ไมไมแ่ จง้ ครูประจ�ํำ ช้ัน ให้กลับดว่ นครบั ครู แอบหนอี อกมาท�ํำ ไม ศีลข้อ ๔ ห้ามไม่ให้โกหก เจ้าได้เรียนมาแล้ว โกหกก็คือ พูดไม่จริง เช่นเจ้าไปโรงเรียนแต่ไม่เข้าโรงเรียนไถลไปเท่ียวเล่นเสีย แล้วโกหกพ่อว่าไปเรียน อีกวันหนึ่ง พอครูถามก็โกหกครูว่าพ่อ ให้หยุด เจ้าทำ�อย่างนี้ไม่ช้าก็ถูกเฆ่ียนทั้ง ๒ ทาง ยิ่งโตขึ้น ถ้าไป โกหกในโรงในศาล ก็เลยติดคุก นอกจากไม่โกหกแล้ว เจ้าต้อง ซ่อื ตรงตอ่ หน้าท่ที ี่รบั เขาด้วย จงจำ�ไว้วา่ ศลี ข้อ ๔ น้ี (๑) ห้ามไมใ่ หโ้ กหก (๒) ใหซ้ ่อื ตรงตอ่ หนา้ ที่ 30

ไหน...ใครวา่ ผมเมา ผมไมเ่ มาสักหนอ่ ย เมาจนครองสตไิ มอ่ ยเู่ ลย ศีลข้อ ๕ ห้ามไม่ให้กินเหล้า เจ้าเคยเห็นแล้วบางคนเท่ียว เมาอ้อแอ้ตามถนน บ้างก็ถูกตำ�รวจจับไปขัง บ้างก็ด่าตีวิวาทกัน ยง่ิ กวา่ นน้ั ท�ำ ใหส้ มองทบึ ท�ำ ใหเ้ กดิ โรค ท�ำ ใหเ้ สยี เงนิ โดยไมเ่ ขา้ เรอ่ื ง เจา้ อยา่ กนิ เหลา้ เจา้ จงรกั ษาสตใิ หด้ ี จะไดเ้ ลา่ เรยี นวชิ ชา ท�ำ มาหากนิ ไดค้ ล่อง จงจำ�ไว้วา่ ศีลข้อ ๕ น้ี (๑) หา้ มไมใ่ ห้กนิ เหลา้ (๒) ใหร้ ักษาสตใิ ห้ดี๓๐ ศลี ทง้ั ๕ ขอ้ น้ี ถา้ เจา้ รกั ษาได้ เจา้ กเ็ ปน็ คนมที รพั ยป์ ระเสรฐิ เพราะเจ้าเป็นคนดี ไม่มีความผิดที่จะตัดทางทำ�มาหากิน มีแต่คน นับถือ ใครจะลักขะโมยศีลของเจ้าไปก็ไม่ได้ ดีกว่าทรัพย์ธรรมดา เจา้ จงนึกไวว้ า่ เราตอ้ งรกั ษาศีลเสมอไป วนั นี้หยดุ เท่าน้ีที ๓๐ ข้อ ๒ ในศีลทง้ั ๕ ข้อท่ีกลา่ วมาแล้ว เรียกวา่ กัลยาณธรรม 31

ค�ำ ถาม ประ จำ� บท ๑. ศลี แปลความกว้างๆ วา่ กระไร ? ๒. ๓. ศีลแบ่งเป็นชั้น ทำ�ไมจงึ แบง่ ศลี อยา่ งไร ? เป็นชัน้ ? ๔. ศลี ช้ันตำ�่ หา้ มอะไรบ้าง ? 32

อขรอ้ ยิ ท๓ร,พั ๔ย์ คคววาามมกอลายัว วันนี้พ่อจะพูดใหฟ้ ัง อีก ๒ ข้อ นายสนุ ทร เมอ่ื วานน้ี พอ่ ไดอ้ ธบิ ายอรยิ ทรพั ยข์ อ้ ๒ คอื ศลี ให้เจ้าฟังแล้ว วันนี้พ่อจะอธิบายอริยทรัพย์ข้อ ๓ กับข้อ ๔ ให้ เจ้าฟัง ควบกันไป ๒ ข้อทีเดียว เจ้าเคยฟังแต่คราวละข้อ วันนี้ ๒ ข้อ กอ็ ยา่ ท้อใจ สน้ั ๆ เหมือนขอ้ เดียวน่ันแหละ อริยทรพั ยข์ อ้ ๓ คือ ความอาย ภาษาบาลวี า่ หริ ิ อริยทรัพย์ข้อ ๔ คือ ความกลัว ภาษาบาลีว่า โอตตัปปะ เจา้ ทอ่ งจำ�ใหห้ มดทั้ง ๒ ข้อ 33

ความอายกับความกลัวต่างกันอย่างไร พ่อจะเทียบให้ฟัง ความอายเหมือนช้ันผู้ดี ความกลัวเหมือนช้ันไพร่ แต่ก็ดีด้วยกัน ทัง้ ๒ อย่าง แมข่ องเจ้า หนไู ม่อยากไปโรงเรยี น เคยปลอบ นอ้ งเจา้ ให้ ไปโรงเรียน นอ้ งของเจ้า อายุ ๔ ขวบเศษ ยังไม่รูว้ ่าเรียนหนงั สอื เอาไปท�ำ อะไร กไ็ ม่อยากไปโรงเรียน อยากอยูว่ ิ่งเลน่ แต่น้องฟังคำ�พูดเข้าใจว่า ผู้ดี ว่า ไพร่ ด้วยแม่เคยชี้บอก และพดู ใหฟ้ งั บอ่ ย ๆ วา่ “เดก็ ไมเ่ รยี นหนงั สอื เปน็ ไพร่ เดก็ เทย่ี วเลน่ หยอดหลุมทอยกองตามถนน เป็นไพร่ ผู้ดี เขาเรียนหนังสือ ผู้ดี เขาไม่เท่ียวเล่นหยอดหลุมทอยกองตามถนน” แต่น้องจำ�ได้ ชั่วประเดี๋ยวเดียวก็ลืม วันอ่ืนแม่ต้องปลอบใหม่ว่า “หนูคนดี หนูไปโรงเรียนหนา หนูเป็นลูกผู้ดี ถ้าไม่รู้หนังสืออายเขาหนา” นอ้ งเจา้ ถกู ยอเขา้ กไ็ ปโรงเรยี น อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ อาย นอ้ งเจา้ จะอายจรงิ หรือไม่อายก็ตามเถิด แต่ที่แม่ปลอบนั้น ปลอบทางให้อาย ทีน้ี อีกวัน ๑ แม่จะปลอบเท่าไร น้องเจ้าก็ไม่ไปโรงเรียน แม่ทำ�ตึงตัง 34

ฉวยไม้เรียวขคู่ �ำ รามว่า “จะเฆี่ยนเดีย๋ วนี้ วา่ ดี ๆ กไ็ ม่ไป อยากเปน็ ไพร”่ นอ้ งเจา้ กลวั ถกู เฆย่ี นกไ็ ปโรงเรยี น อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ กลวั เจา้ ลอง นกึ ดเู ถดิ อายเปน็ ผดู้ กี วา่ กลวั ไมใ่ ชห่ รอื แตเ่ มอ่ื นอ้ งเจา้ ไปโรงเรยี นแลว้ กไ็ ดผ้ ลคอื เรยี นหนงั สอื ดเี หมอื นกนั สว่ นเจา้ ทง้ั ๒ โตแลว้ ไมต่ อ้ งเตอื น เจ้าก็ไปโรงเรียนทุกวัน เว้นแต่วันมีเหตุที่ต้องหยุด เจ้าไม่ต้องอาย ไมต่ อ้ งกลวั อยา่ งนอ้ ง แตเ่ จา้ ตอ้ งอายตอ้ งกลวั ไปอกี ทาง ๑ คอื อายวา่ ถ้าเราไม่ขะมักเขม้นเรียนให้ทันเพ่ือน ก็อายเขา และกลัวว่าถ้าเรา ไม่ขะมักเขม้นเรียนวิชชา จะลำ�บากยากจนเม่ือโต เราได้เคยเห็น มาแล้ว คนไม่มีวชิ ชาหากนิ ล�ำ บาก ถา้ เจา้ คิดอาย คดิ กลัวอยู่เสมอ เจา้ กจ็ ะขยนั เรยี นวชิ ชา ถา้ ไมเ่ รยี น ความอาย กลวั ไม่มีความรู้ ความกลวั เดี๋ยวอายเพ่ือน ๒ อย่างน้ี มคี ุณมาก ศลี ท่ีพ่ออธิบาย มาแล้วเม่ือวนั ก่อน ถ้ามีความอายความกลวั กย็ ่งิ รักษาไดด้ ี เหมอื นคอยบอกว่า อายเขา เราเป็นคนดไี มค่ วรฆา่ สตั ว์ กลวั บาป กลัวติดคุก อายเขา เราเปน็ คนมวี ชิ ชา สามารถหากนิ ได้ อยา่ เปน็ ขะโมย กลวั ถูกลงโทษ 35

อายเขา เราเปน็ คนมวี ชิ ชา โตขน้ึ หาเมยี (หาผวั ) ทต่ี วั เปลา่ ไมม่ คี นหวง ไดถ้ มไป อยา่ เทย่ี วท�ำ ชู้ แยง่ ความรกั ในระวางผวั เมยี เขา กลวั เขา ถา้ เขารเู้ ขาจะโกรธ ท�ำ รา้ ยเรา เขาจบั ได้ เขาจะฟอ้ งใหเ้ รา เสยี ทรัพย์ พลาดทา่ คามอื ก็ถงึ ตายได้ อายเขา เราเป็นคนดี อย่าขี้ปด กลัวเขา อย่าหนีโรงเรียน แล้วหลอกพ่อแม่ จะถูกเฆ่ียน อย่าใหเ้ ขาฟ้องเปน็ พยานเทจ็ อายเขา อยา่ เทย่ี วเมาเลอะเทอะ กลวั เสยี เงนิ กลวั ทะเลาะ วิวาท กลวั โรคภยั กลวั สมองทบึ หากินไม่ได้ ส่ิงที่ควรอายควรกลัวยังมีอีกมาก เช่นเรียนน้อยก็อายเขา ทำ�อะไรไม่ทันเพือ่ นกอ็ ายเขา ร้นู ้อยนา่ กลวั รกั ษาตัวไมร่ อด ขเี้ กยี จ น่ากลวั อด หากินไม่พอทอ้ ง แต่ถ้าไม่ควรอายก็อย่าอาย ไม่ควรกลัวก็อย่ากลัว ต้องคิด ใหถ้ กู ทาง เช่นเพื่อนนักเรยี น เกดิ มาจนไมใ่ ชส่ ่ิง ทตี่ ้องอาย เขามีรถยนต์ ไปสง่ โรงเรยี น แต่เราต้องขน้ึ รถลากหรอื รถราง หรือต้องเดิรไปโรงเรยี น กอ็ ยา่ อาย ตอ้ งไปเรยี นให้ได้ ครูเรยี กไปถามอะไรก็เหมือนกนั อย่าอาย ตอ้ งพูด 36

กลัวความชวั่ ให้เหมือน กลวั อสรพิษ ตอ้ งหลกี ใหไ้ กล กลวั กเ็ หมอื นกนั อย่ากลัวไปทกุ อยา่ ง เช่นกลัวแดดกลัวฝน พอแดดจดั ฝนตก กไ็ ปโรงเรยี นไมไ่ ด้ กลวั อยา่ งนไ้ี มด่ ี จะกลวั กแ็ ตว่ า่ ตากแดดตากฝนจะเจ็บไข้ ถึงแดดจัดฝนตกก็มีทางปอ้ งกนั ได้ (ควร ถามผู้ใหญ่) พระพุทธเจ้าท่านสอนให้อาย สอนให้กลัวแต่ความชั่ว เทา่ นน้ั ผทู้ ม่ี คี วามอายความกลวั ตอ่ ความชว่ั ชอ่ื วา่ มที รพั ยป์ ระเสรฐิ ใครจะลักขะโมยไปไม่ได้ จงจำ�ไวว้ ่า เราตอ้ งอาย ต้องกลัวความช่ัว เสมอไป 37

คำ� ถาม ประ จ�ำ บท ๑. หิริ แปลว่ากะไร ? ๒. ๓. โอตตปั ปะ อายกับกลัวผดิ กัน แปลว่ากะไร ? อยา่ งไร ? ๔. อายกบั กลัว มคี ณุ อยา่ งไร ? 38

อขรยิ อ้ ทร๕พั ย์ การฟงั ฟังด้วยดี ย่อมไดป้ ัญญา นายสุนทร เจ้าท้ัง ๒ เรยี นศีล และความอายความกลัวแต่ วนั กอ่ นแลว้ ท้ัง ๓ อย่างนน้ั ลว้ นสอนใหเ้ จา้ ประพฤติดี เปน็ คนดี เมอ่ื เจ้าเป็นคนดแี ล้ว จะนั่งอยู่เฉย ๆ กไ็ มส่ มกบั ทีเ่ ปน็ คนดี จะตอ้ ง ท�ำ ประโยชนอ์ ะไรใหแ้ กต่ วั เจา้ และคนอน่ื เราจะท�ำ ประโยชนไ์ ด้ ตอ้ ง อาศัยร้มู าก ถ้าร้นู ้อยมักทำ�ผิด หรือทำ�ไม่ได้ เจ้าจงเรียนอริยทรัพย์ ขอ้ ๕ ตอ่ ไป อริยทรัพย์ข้อ ๕ คือ การฟัง คำ�ภาษาบาลีว่า สุตะ คนที่ ฟงั มาก เรยี กวา่ พหสู ตุ ๓๑ ทพ่ี อ่ แปลวา่ ฟงั น้ี แปลตามศพั ท์ เจา้ คงจะ เขา้ ใจไมด่ ี พอ่ จะแปลความหมายเสยี ใหม่ ใหง้ า่ ยทเ่ี จา้ จะพอเขา้ ใจได้ คือแปลว่า เรียน หรอื ใช้ค�ำ สงู ข้นึ ไปก็วา่ ศึกษา เปน็ ค�ำ สงั สกฤต ๓๑ พหูสูต 39

เจา้ เคยรูแ้ ลว้ วา่ กรมศกึ ษาธกิ าร ทา่ นต้งั ข้นึ สำ�หรบั จดั การ ศกึ ษาตา่ ง ๆ การเรยี นหรอื ศกึ ษานไ้ี มใ่ ชแ่ ตเ่ รยี นในโรงเรยี น อยบู่ า้ น หรือไปเท่ยี วกเ็ รียนได้ทง้ั นั้น แต่เพือ่ จะให้ ประเทศไทยของเรา... เรยี นประจ�ำ จงึ ตอ้ งไป โรงเรียน ที่โรงเรียน เรยี นง่าย กวา่ ที่อนื่ เพราะมีครูประจำ� ที่อ่ืนเรียนได้แต่โดยสังเกตโดยจำ�เป็นพ้ืน เช่นท่ีบ้านเรา พ่อตื่นแต่เช้า บางทีพ่อปลุกให้เจ้าลุกข้ึนหุงเข้าเอง ก็เพื่อจะให้เจ้า หุงเข้าเป็น บางทีพ่อปลูกต้นไม้ เรียกให้เจ้ามาขุดหลุม ให้ขนดิน ใส่กระถาง ถ้าเจ้าคิดว่าเรียนเจ้าก็จะหุงเข้าเป็น ปลูกต้นไม้เป็น บางทีพ่อซ่อมแซมบ้าน ใช้ให้เจ้าช่วยยกไม้เล็ก ๆ ท่ีเจ้ายกได้ ใหช้ ่วยหยบิ สิว่ หยบิ ขวาน เหล่านเี้ ป็นตน้ สง่ คอ้ นให้พ่อหน่อยลูก นค่ี รับ ถ้าเจา้ หม่นั ต้งั ใจสงั เกต กจ็ ะได้ความรเู้ พิม่ ขึ้นเสมอ นีเ่ ป็น การเล็ก ๆ น้อย ๆ ในบา้ น 40

เวลาไปนอกบ้านพ่อเคยพาเจ้าไปเท่ียวเดิรเล่นบ้าง เคยพา ข้ึนรถไฟไปไกล ๆ บ้าง พ่อได้เล่าถึงสิ่งที่พ่อรู้ให้เจ้าฟังเสมอ เช่น ผา่ นไปตามทงุ่ นาเวลาเขาไถนา กช็ ใ้ี หด้ คู นไถนา วา่ เขาไถกนั อยา่ งไร มีเคร่ืองมืออย่างไร ไถเดือนไหน หว่านเดือนไหน เก็บเก่ียวนวด เวลาไร ทส่ี ดุ เขาสง่ ไปขายทไ่ี หน ฉะเพาะ๓๒ในบา้ นเมอื งของเราทเ่ี จา้ พอจะร้ไู ด้ การงานเชน่ นี้ถา้ เจา้ ดู เจ้าคิด เจา้ ถาม จดจำ�อย่เู สมอ ๆ เจา้ ก็จะรมู้ ากขึ้นทุกที สมองของเจา้ ก็จะฝงั อยใู่ นการงาน นอกจากน้ี บางทีพ่อไปฟังเทศน์ที่วัด พ่อก็พาเจ้าไปด้วย ที่จริงพ่อยังไม่ตั้งใจให้เจ้าฟังเทศน์ชั้นสูง ๆ ท่ีผู้ใหญ่เขาฟังกันนัก พอ่ ต้งั ใจชนั้ ต้นกเ็ พียงใหเ้ จา้ ไปเห็นวิธขี องพระ ว่าพระทา่ นทำ�อะไร ชาวบา้ นทไี่ ปหาพระ เขาทำ�กิรยิ าทา่ ทางอย่างไร บางทีพอ่ มสี ิง่ ของ เสรจ็ แลว้ เตรียมรบั พรนะ ที่จะถวายพระ พอ่ ก็ให้เจ้า เข้าไปถวาย เรยี กวา่ ประเคน เพื่อเจ้าจะได้ แคลว่ คลอ่ งว่องไว รู้จกั งานท่เี กยี่ วกบั พระ เม่ือเจ้าคุ้นกับพระ ได้ไปมาหาสู่ท่าน ก็จะได้ฟังเทศน์ของ ท่านที่กะฏิ๓๓ เทศน์ก็คือบอกให้ทำ�ดี ให้เว้นชั่ว ท่านนั่งคุยกับเรา ๓๒ เฉพาะ ๓๓ กุฏิ 41

ทา่ นวา่ อะไรดกี จ็ งจ�ำ ไว้ นานเขา้ กจ็ ะรมู้ าก ไปฟงั เทศนบ์ นธรรมาสน์ ก็เข้าใจง่าย นอกจากน้ี พ่อมีโอกาศ๓๔ยังพาเจ้าไปวังเจ้านาย และบ้าน ขนุ นาง กเ็ พื่อเจ้าจะไดเ้ ห็นไดเ้ รยี นไว้ เกง่ มากเลยหลาน บางคราวมี เพอ่ื นฝงู ของพอ่ รบั ประทานน้ำํ�ครับ ทีค่ นุ้ เคยกันมาก ๆ มาหาพอ่ ทบ่ี า้ น ถ้าไมม่ เี ร่ือง ต้องห้ามเด็ก พอ่ กเ็ รียกเจา้ มากราบไหว้ อนญุ าตใหน้ ่ังฟังผู้ใหญ่คุยกนั บางทกี ใ็ ห้กนิ เข้าดว้ ย เพอื่ เจ้าจะได้ฟังผ้ใู หญ่พดู และดูการ เลย้ี งแขก ทเ่ี จ้าควรจะจำ�ไว้ ถา้ เจ้าตัง้ ใจเรยี น ตั้งใจฟังเสมอไป เจา้ กจ็ ะเปน็ คนเรียนมาก ซง่ึ เรียกว่า พหูสุต เม่ือเอาวชิ ชานอกโรงเรียนมาประสมกับวชิ ชาที่เจ้าเรยี นอยู่ ในโรงเรยี นเข้า จะช่วยเจา้ ใหเ้ ป็นคนดอี กี มาก ๓๔ โอกาส 42

มีอะไรลูก หน้ายุ่งมาเชยี ว คือผมไม่เข้าใจเรื่องทาน น่ะครับ พ่อจะแนะถึงสุภาษิตที่ท่านกล่าวไว้ ๔ อย่าง คือ ฟัง คิด ถาม จด คอื เมอ่ื เจา้ ดอู ะไรมาแลว้ ท�ำ อะไรมาแลว้ บางอยา่ งไมเ่ ขา้ ใจ เจา้ จงเอามาคดิ ถา้ คดิ ไมอ่ อก จงถามผรู้ ู้ เมอ่ื ถามเขา้ ใจแลว้ จงจดไว้ ถา้ ไมจ่ ดทง้ิ ไวน้ าน ๆ กอ็ าจลมื ถงึ วชิ ชาทเ่ี รยี นในโรงเรยี นกเ็ หมอื นกนั ตอ้ งตง้ั ใจเรยี น ตอ้ งหมน่ั คดิ สงสยั ตอ้ งถาม เขา้ ใจชดั เจนแลว้ ตอ้ งจด ถ้าเจ้าทำ�ได้อย่างน้ีก็ชื่อว่าเจ้ามีทรัพย์ประเสริฐ ติดตัวเจ้าอยู่เสมอ ใครจะแย่งชิงไปไม่ได้ เมื่อเจ้าโตขึ้น ก็จงต้ังใจเรียนตั้งใจฟังคำ�สอน ที่ดี ๆ สูง ๆ ข้ึนไป ขอเตือนในที่สุดว่า เจ้าจงต้ังใจเรียนเรื่อยไป อยา่ หยุด วชิ ชาเปน็ ของเรยี นไมร่ ูจ้ กั จบ 43

ค�ำ ถาม ประ จำ� บท ๑. คนฟังมาก ภาษาบาลี เรียกว่าอะไร ? ๒. ๓. การฟงั การดู การท�ำ หมายความว่าอะไร ? นบั เขา้ ในการเรยี น ๔. หรือไม่ ? เราควรเรียนที่ไหน ๕. เวลาไร ? การเรยี นจะตอ้ งมอี ะไร ช่วยเหลือ ? 44

อขรยิ ้อทร๖พั ย์ การให้ นายสนุ ทร ลูกทั้ง ๒ คอยฟัง วนั นพ้ี อ่ จะอธิบายอริยทรัพย์ ขอ้ ๖ ต่อไป อรยิ ทรพั ยข์ อ้ ๖ คอื การสละ ภาษาบาลวี า่ จาคะ หมายความ ตรง ๆ กว็ า่ ให้ แตใ่ นภาษาไทยใชก้ นั แพรห่ ลายวา่ บรจิ าค ดเู หมอื น เจา้ ท้งั ๒ คนก็เคยไดย้ นิ บ่อย ๆ พวกยายนุ่งขาวเคยมาท่ีประตบู า้ น แกรอ้ งเสมอว่า “คณุ เจ้าขาบริจาคทาน เจา้ ขะ้ ๓๕” เจา้ ทง้ั ๒ เคยให้ สตางค์แกบ่อย ๆ เรียกกันโดยมากว่า ให้ทาน ถ้าทำ�สำ�รับกับเข้า ไปถวายพระท่ีวัด โดยมากเรียกว่า ทำ�บุญ ถ้าเชิญแขกมากินเข้าที่ ๓๕ คะ่ 45

บ้าน เรียกว่าเลี้ยงแขก ลูกมีขนมแจกเพ่ือนกิน บางทีก็เรียกว่า แบง่ กันกิน ท่ีเรียกกันตา่ ง ๆ น้ีก็คอื ให้ ท้ังน้นั เจา้ จงจำ�ไว้ว่า อรยิ ทรัพย์ขอ้ ๖ กค็ ือ การให้ จะใหโ้ ดยวธิ ี ใด ๆ ก็รวมอยูใ่ นข้อน้ี แต่เจา้ ก็ควรพูดอย่างทเี่ ขาพูดกัน คำ�ท่ีเคยพูดกนั ชินปาก ถ้าชอบกท็ านเยอะ ๆ นะ ถ้าเราไปพูดอย่างอ่นื อาจเกดิ โทษ เชน่ เราเชญิ เพ่อื นมาเล้ยี ง แตเ่ ราบอกว่า เชญิ เพ่ือนมาใหท้ าน บางทีเขาจะโกรธ วา่ เหยียดเขา เปน็ คนขอทาน จงระวังพูดให้ถกู การให้มีคุณอย่างไร พ่อจะอธิบายต้ังแต่ให้เล็ก ๆ น้อย ๆ ในบา้ นเราเปน็ ตน้ ไป เจา้ เคยเหน็ อยเู่ สมอไมใ่ ชห่ รอื พอแขกมาหาพอ่ ท่บี ้าน บางทีพอ่ กเ็ รยี กคนใช้ให้ยกบหุ ร่มี า เจ้าเองกเ็ คยถูกใช้ บางที พอ่ กใ็ หย้ กมาทง้ั หมากพลบู หุ ร่ี น�ำ้ รอ้ น น�ำ้ เยน็ บางทถี งึ ใหห้ าของวา่ ง มาเล้ียง เจ้ารู้จักของว่างแล้วไม่ใช่หรือ ของว่างก็คือของกินเล็ก ๆ 46

น้อย ๆ คาวบา้ ง หวานบ้าง อย่างที่เรียกว่า กินพอแกห้ ิว บางทพี ่อ กใ็ ห้หาส�ำ รบั กบั เขา้ เล้ียงกนั เต็มท่ี การใหอ้ ยา่ งนม้ี อี ยใู่ นบา้ นเราเสมอ ตามธรรมเนยี มเขาเรยี กวา่ รบั แขก แตท่ แ่ี ทก้ ค็ อื ให้ นน้ั เอง ท�ำ ไมจงึ ใหแ้ ขกไมเ่ หมอื นกนั บางที ก็ให้แต่หมากพลูบุหรี่ บางทีแถมนำ้�ร้อน นำ้�เย็น บางทีมีของว่าง บางทีก็สำ�รับกับเข้าเต็มท่ี ที่ให้แปลก ๆ กันเช่นน้ี ก็ให้ตามที่พ่อ เห็นควร ต่อไปเจ้าจะได้เรียนคำ�สอนของพระพุทธเจ้าซ่ึงว่าด้วย การควร อนั เปน็ ธรรมเนยี มของผดู้ ๓ี ๖ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นตง้ั ธรรมเนยี ม ไวด้ นี กั เวลานพ้ี อ่ ยงั ไมอ่ ธบิ าย จะเตอื นใหเ้ จา้ สงั เกตแตพ่ อเปน็ เลา ๆ แขกบา้ นใกลเ้ รอื นเคยี งทชี่ อบพอกนั มากมานงั่ คยุ เพยี งเวลาเลก็ นอ้ ย ก็หาบุหร่หี มากพลู น�ำ้ ร้อน นำ�้ เย็น เลีย้ งกัน ไปเยี่ยมพสี่ ุนทรดีกวา่ ถ้ามาเหมาะ เวลากนิ ของวา่ ง กช็ วนกันกิน ถา้ มาเหมาะกิน เข้าเช้าเข้าเยน็ กค็ วรชวนเชิญเหมอื นกัน เจ้าเคยเห็นอย่บู อ่ ย ๆ แล้ว ๓๖ สัปปุรสิ ธรรม ๗ ประการ 47

ถา้ แขกไมใ่ ครค่ นุ้ เคย อยบู่ า้ นใกล้ ๆ กนั กใ็ หเ้ พยี งหมากพลู บหุ ร่ี น�ำ้ รอ้ น น�ำ้ เยน็ ถา้ เปน็ แขกทม่ี าไกล มาพกั พาอาศยั เรากจ็ ดั อกี อย่าง ๑ ในช้นั ต้นกไ็ มพ่ น้ หมากพลู บหุ ร่ี นำ�้ รอ้ น น�้ำ เย็น ตอ่ ไป ถึงเวลาเรากินอย่างใด ก็ให้อย่างน้ัน หรือแขกมาพ้นเวลากินแล้ว เรารู้ว่าเขายังไม่ได้กิน ก็ต้องหาให้ บางทีถึงต้องจัดให้ดีกว่าปกติ ตามช้ันของแขกท่ีมาหาเรา ที่พ่ออธิบายมานี้ เป็นการให้สำ�หรับ แขกท่มี าบา้ น ทานเยอะ ๆ นะครบั คณุ อา ยังมีการให้ประจำ�บ้านอีกอย่าง ๑ คือ พ่อเป็นผู้ปกครอง บ้านเรือน มีคนหลายคน นับตั้งแต่ลูกทัง้ ๒ เป็นตน้ ตลอดจนคนใช้ ทเ่ี ราจา้ งมาท�ำ การงานของเรา พอ่ กต็ อ้ งใหอ้ ยเู่ สมอ เปน็ คา่ ขนมบา้ ง คา่ เครอ่ื งแตง่ ตวั บา้ ง บางทกี ใ็ หร้ างวลั พเิ ศษ ฉะเพาะทเ่ี ขาท�ำ อะไรดี ควรได้รางวัล นี่ก็เป็นของสำ�คัญอีกอย่าง ๑ เจ้าเองก็จงมีใจอารี 48