Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิถีชีวิตกับโรคกระดูและข้อ_clone

วิถีชีวิตกับโรคกระดูและข้อ_clone

Description: วิถีชีวิตกับโรคกระดูและข้อ

Search

Read the Text Version

วิถีชีวิตกบั โรค | 43 วิตามินดีด้วย ปริมาณแคลเซียมและ วิตามินดี ท่ีแนะนาให้ผู้ป่วยโรคกระดกู เปราะบริโภค ในแตล่ ะวนั ดงั ตารางท่ี 2 และ 3 ตารางท่ี 2 แสดงปริมาณแคลเซียมที่แนะนาในแตล่ ะวนั โดย The National Academy of Sciences อายุ (ปี ) ปริมาณแคลเซียมท่แี นะนา (มลิ ลิกรัมต่อวัน) 1-3 500 4-8 800 9-18 1300 19-50 1000 50+ 1200 ตารางท่ี 3 แสดงปริมาณวิตามินดี 3 ท่ีแนะนาในแตล่ ะวนั โดย The U.S. Department of Agriculture นา้ หนักของผู้ป่ วย ปริมาณวติ ามินดีท่แี นะนา (ยนู ิตต่อวนั ) (กิโลกรัม) 20 600 - 800 40 1100 - 1600 50 1200 - 2000 70+ 2000 - 2800 การทาอาหารเองสาหรับผ้ปู ่ วยที่ตวั เล็กมากๆ หรือกระดกู แขนขาผิดรูปมาก อาจ เป็นไปได้ยาก ผ้ปู ่วยอาจต้องพง่ึ พาผ้อู ื่นในการหงุ หาอาหาร หรือต้องซอื ้ อาหารกินเป็นหลกั ซ่ึงอาจมีปัญหาเร่ืองสุขอนามัยได้ กรณีจาเป็ นต้องออกไปจ่ายตลาดอาจมีความ ยากลาบาก หากไมส่ ามารถเดนิ ได้ด้วยตวั เอง

44 | วถิ ีชีวิตกบั โรคกระดกู เปราะโอไอ การอยู่อาศัย ในผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะโอไออาจพบปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวได้มาก เน่ืองจากผ้ปู ่ วยบางรายจะมีขนาดตวั ที่เล็กกว่าปกติ และบางรายก็ไม่สามารถเดินได้เอง รวมทัง้ ภาวะท่ีมีกระดูกเปราะหักง่าย ก็จะทาให้การใช้ชีวิตประจาวันมีปั ญหาได้ การ เคล่ือนไหว เดิน หรืออุ้มผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะต้องใช้ความระมดั ระวังอย่างมาก ควร ระมดั ระวงั ไม่ให้เกิดการกระแทก บิด งอ เหวี่ยงหรือทาอย่างรวดเร็วจนเกินไป ควรมีการ ประคองหรือปอ้ งกนั การหกั ทงั้ ท่ีบริเวณ แขน ขา ลาตวั และคอ หากผ้ปู ่วยสามารถเดินได้ เอง ก็ควรระมัดระวังการพลัดตกหกล้ม จัดส่ิงแวดล้อมภายในบ้านให้ปลอดภัยและ เหมาะสมกับพัฒนาการในแต่ละช่วงวัยของเด็ก โดยห้องนา้ แยกส่วนเปียกส่วนแห้ง พืน้ บ้านควรเสมอกนั ไม่ควรมี step งดใช้รถช่วยเดินสาหรับเด็กเพราะอาจเกิดการสะดดุ หกล้ม เป็นเหตใุ ห้กระดกู หักได้ และหากมีการโก่งงอ หรือผิดรูปของกระดกู แขนและขา การใสอ่ ปุ กรณ์ดามแขนขา ก็สามารถปอ้ งกนั การหกั ของกระดกู ได้ การแต่งตวั ควรเลือกเสือ้ ผ้าท่ีสวมใส่สบาย ระบายอากาศได้ดี ไม่อบั ชืน้ หรือร้อน หากเป็นเสอื ้ ก็ควรให้ติดกระดมุ ด้านหน้าแทนการสวมทางศรี ษะ โดยเฉพาะถ้ามีกระดกู สนั หลงั คด หรือแขนบิดผิดรูป เพื่อลดการเกิดบิดงดั ขณะใส่เสือ้ ที่อาจทาให้กระดกู หกั ได้ ตู้ เสือ้ ผ้าหรืออุปกรณ์ต่างๆ ก็ควรถูกจัดไว้ในระดับความสูงท่ีพอเหมาะกับผู้ป่ วย เพื่อให้ สะดวกในการหยบิ ใช้ การขบั ถ่ายอาจมีปัญหาได้ในผ้ปู ่ วยกลมุ่ นี ้โดยเฉพาะรายท่ีมีอาการรุนแรง ผ้ปู ่วย มกั มีขนาดตวั เล็กกว่าปกติ การใช้สขุ ภณั ฑ์ปกติ อาจทาไม่ได้ หรือไม่สะดวก อาจต้องการ อปุ กรณ์เฉพาะ หรืออปุ กรณ์ช่วย เช่น โถชกั โครกขนาดเล็ก มีที่รองนงั่ ท่ีน่มุ มีเบาะรองกนั กระแทกในห้องนา้ สว่ นแห้ง การตดิ ตงั้ ราวเกาะกนั ล้มในห้องนา้ หรือหากไม่สามารถเดนิ ได้ ก็อาจต้องการห้องนา้ ที่ สามารถนารถเข็นเข้าไปได้

วิถีชีวติ กบั โรค | 45 การอาบนา้ ควรระมดั ระวงั การล่ืนหกล้ม ทาราวเกาะยดึ ตดิ แถบอปุ กรณ์กนั ลื่นที่ พืน้ หรืออา่ งอาบนา้ แยกสว่ นเปียกสว่ นแห้งให้ชดั เจน รวมทงั้ ประตหู ้องนา้ ควรจะสามารถ เปิดเข้าไปได้จากภายนอก หากต้องการความช่วยเหลืออยา่ งฉกุ เฉิน ก๊อกนา้ ที่ใช้ก็ควรเป็น แบบก้านหมนุ ซง่ึ ไมต่ ้องใช้แรงมากนกั ในการเปิดปิด เพราะก๊อกนา้ แบบบดิ อาจต้องใช้แรง มากเกินไปจนผ้ปู ่วยไมส่ ามารถใช้ได้ การนอนหลับ/พกั ผ่อนหย่อนใจ ในผู้ป่ วยท่ีมีกระดูก แขน ขา หลังและเชิงกรานผิดรูป อาจมีปัญหาในการจัด ท่าทางการนอน เกิดการกดทับกลายเป็นแผลได้ หากไม่ได้จัดที่นอนให้นุ่มพอ หรือจัด ส่ิงแวดล้อมให้สะดวกต่อการพลิกตัว เตียงนอนควรมีการจัดให้เหมาะสม มีการกัน กระแทก เพื่อปอ้ งกนั การกระแทกจนทาให้กระดกู หกั ขณะหลบั ในห้องนอนควรมีแสงสวา่ ง หากผ้ปู ่ วยต้องการจะตื่นมาเข้าห้องนา้ ตอนกลางคืน และพืน้ ห้องควรจดั ให้เรียบร้อย ไม่มี สิ่งกีดขวางบริเวณทางเดิน และควรมีราวจบั เพ่ือป้องกันการหกล้มขณะง่วงนอนหรือมี อาการสลมึ สลือ ในผ้ปู ่ วยรายที่มีอาการรุนแรง และกระดกู สนั หลงั คดมาก อาจมีการบกพร่องของ ระบบหายใจได้ การออกกาลงั กายในผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะ ควรทาอยา่ งระมัดระวงั และ ควรเลือกกิจกรรมท่ีไม่มีการกระแทก หรือมีโอกาสที่จะหกล้มไม่มากนัก กีฬาท่ีแนะนา ได้แก่ ว่ายนา้ เพราะเป็นกีฬาที่ไม่มีแรงกระแทก ไม่เสี่ยงต่อการหกล้ม ไม่ต้องว่ิง ไม่ต้อง กระโดด แต่สามารถเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนือ้ ได้ดี รวมทัง้ มีการเคล่ือนไหวข้อ ตา่ งๆทงั้ ร่างกาย การเดินก็เป็นการออกกาลงั กายที่ดี ในผ้ปู ่ วยที่อาการไม่รุนแรงมากและ สามารถเดนิ ได้เอง เพราะนอกจากจะช่วยเพ่ิมความแข็งแรงให้กล้ามเนือ้ แล้วยงั กระต้นุ ให้ กระดกู แข็งแรงขนึ ้ อีกด้วย

46 | วิถีชีวิตกบั โรคกระดกู เปราะโอไอ การมีสัมพนั ธ์กบั คนรัก/คนใกล้ชิด สาหรับผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะนนั้ พบว่าระบบการเจริญพนั ธ์ุมกั เป็นปกติ ไม่ได้มี โอกาสเป็นหมนั มากกว่าคนปกติอ่ืนๆ อย่างไรก็ตามหากผ้ปู ่ วยมีขนาดร่างกายท่ีเล็กมาก หรือมีปัญหาเกี่ยวกับระบบการหายใจ หรือกระดูกเชิงกรานผิดรูป การคลอดเองตาม ธรรมชาติอาจเกิดอนั ตรายกบั มารดาและทารก แพทย์อาจพิจารณาผ่าตดั คลอดก่อนที่จะ ถึงกาหนดคลอด เมื่อเข้าสู่ระยะวยั รุ่นหรือวยั ผู้ใหญ่ ผู้ป่ วยโรคกระดกู เปราะบางรายอาจพบว่ามี ปัญหาในการสร้างความสมั พนั ธ์และการออกเดท หรืออาจมีปัญหาในการมีความสมั พนั ธ์ กับคนรักได้ เน่ืองจากกระดกู ท่ีหกั ง่าย หรือบิดผิดรูปทาให้มีข้อจากัดในการเคลื่อนไหว แขนและขา และการมีเพศสมั พนั ธ์ควรทาด้วยความนุ่มนวลและระมดั ระวงั ผ้ปู ่ วยอาจมี อาการปวดข้อสะโพกและไหลไ่ ด้ แม้ไม่มีกระดกู หกั เนื่องจากมีข้อจากดั ในการเคล่ือนไหว ของข้ออยเู่ ดมิ ส่ิงท่ีสาคญั คือ คนรักต้องมีความเข้าใจในตวั โรคและข้อจากดั ของผ้ปู ่วย เพ่ือท่ีจะ สามารถประคบั ประคองความสมั พนั ธ์ไปได้ เนื่องจากผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะโอไออาจไม่ สามารถทากิจกรรมครอบครัวหรือทางานบ้านได้ตามปกติ คคู่ รองหรือคนรักต้องมีความเข้าใจ ให้ผู้ป่ วยมีส่วนร่วมเท่าที่ความสามารถจะเอือ้ อานวย เพื่อให้ผู้ป่ วยมีความภาคภูมิใจ มั่นใจในตนเอง และมีความสัมพันธ์ที่ยืนยาวและม่ันคง จากประสบการณ์ของผู้เขียน พบว่าผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะโอไอที่เป็นหญิงสามารถแตง่ งานมีครอบครัวที่น่ารักอบอนุ่ มี บตุ รทงั้ ที่เป็นโรคและไมเ่ ป็นโรค สามารถเข้าสงั คมและเป็นท่ียอมรับของครอบครัวทงั้ สอง ฝ่ายได้เป็นอยา่ งดี

วถิ ีชีวิตกบั โรค | 47 การส่ือสาร ปัญหาหลักในการติดต่อสื่อสารของผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะคือ การได้ยินท่ี บกพร่อง เน่ืองมาจากการบาดเจ็บต่อชิน้ กระดูกของหูชนั้ กลาง ทาให้สญู เสียการได้ยิน เนื่องจากกลไกการนาเสียงบกพร่องได้ ปัญหาการได้ยินอาจพบได้มากขนึ ้ เรื่อยๆในผ้ปู ่วยที่ อายมุ ากขนึ ้ การใช้โทรศพั ท์อาจมีปัญหาเน่ืองจากไม่สามารถถือโทรศพั ท์ไว้ที่หูได้ หากแขน ของผ้ปู ่ วยมีการบิดผิดรูปไปมาก จนไมส่ ามารถยกมาแนบหไู ด้ แนะนาใช้อปุ กรณ์เสริม ใน กรณีที่การได้ยินบกพร่อง อาจมีความจาเป็นต้องใช้ เคร่ืองช่วยฟังเพ่ือให้ สามารถ ตดิ ตอ่ สือ่ สารได้ตามปกติ การทางาน ผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะสามารถทางานได้หลากหลาย ขึน้ กับความรู้ ความสามารถ ระดบั และสาขาวิชาท่ีศึกษา และความชอบความถนดั มีผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะจานวน มากท่ีสามารถเป็น นกั ร้อง นกั ดนตรี นกั ปรัชญา หรือนกั คอมพวิ เตอร์ อาชีพที่เหมาะสมกบั ผ้ปู ่วยแตล่ ะคนขนึ ้ กบั ระดบั ความสามารถในการเคล่อื นไหวและการสอื่ สารเป็นสาคญั ในผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือเดินได้เอง พบว่าจะมี ปัญหามากในการทางาน ผู้ป่ วยที่ต้องน่ังรถเข็น ร้ อยละ 40 ไม่สามารถหางานทาได้ ในขณะท่ีผ้ปู ่วยท่ีเดนิ ได้เองทงั้ หมดมีงานทา4 ผู้ป่ วยอาจมีข้ อจากัดในการทางานที่ต้องใช้ ทักษะทางร่างกาย ต้องมีการ เคลอื่ นไหว หรือต้องใช้แรงมาก และควรหลีกเลีย่ งงานที่เสี่ยงตอ่ การเกิดกระดกู หกั

48 | วิถีชีวิตกบั โรคกระดกู เปราะโอไอ การเรียนรู้ เน่ืองจากผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะนัน้ มักมีระดับการเรียนรู้ที่เป็นปกติ ทาให้ สว่ นมากสามารถศกึ ษาเลา่ เรียนได้ จากรายงานวิจยั ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า ผ้ปู ่วย ทัง้ หมดสามารถเรียนหนังสือจนจบระดบั ชัน้ มัธยมปลายได้ และผู้ป่ วยร้ อยละ 57 จบ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี หรือสงู กว่า และการท่ีไม่สามารถเดนิ ได้เองหรือต้องนง่ั รถเข็น นนั้ พบว่าไม่สมั พนั ธ์กบั การได้รับการศึกษาในระดบั สงู อย่างไรก็ตาม ระดบั การศกึ ษาท่ี สงู ขนึ ้ มีผลตอ่ อตั ราการได้งานทาที่มากขนึ ้ 4 การจัดส่ิงแวดล้อมที่โรงเรียนก็มีความสาคญั ที่จะช่วยให้ผู้ป่ วยเด็กสามารถไป โรงเรียนได้ และมีความปลอดภยั มากขึน้ ได้แก่ การจัดให้ห้องเรียนมีทางสาหรับรถเข็น ทางเดินมีแถบอปุ กรณ์กนั ลื่น การจดั ให้มีราวจบั บริเวณที่ผ้ปู ่ วยจะต้องใช้หรือเดินผ่าน ใน บางรายคณุ ครูอาจช่วยอนญุ าตให้ผ้ปู ่วยได้ออกจากห้องเรียนก่อนเวลาเลกิ สกั พกั เพื่อที่จะ สามารถเดนิ บนทางเดนิ ที่ไม่พลกุ พลา่ นมากนกั จนอาจโดนชนหกล้มได้ กิจกรรมกีฬาบางประเภท อาจไม่เหมาะสมกบั ผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะ ผ้ปู กครอง และครูควรร่วมกนั พิจารณาถึงชนิดและกิจกรรมที่เหมาะสมกบั ผ้ปู ่วยแตล่ ะคน ในการเล่น กบั เพ่ือน เดก็ เลก็ มกั ไมม่ ีการระมดั ระวงั และไม่สามารถเลือกกิจกรรมได้เอง อาจต้องให้ครู ผ้ดู แู ลช่วยในการจดั ส่ิงแวดล้อมและกาหนดกิจกรรมท่ีปลอดภยั ให้ ผู้ป่ วยควรหลีกเลี่ยง กิจกรรมท่ีต้องกระโดด ปีน ว่ิงเร็วๆ และมีการกระแทกหรือเสย่ี งตอ่ การล้ม ผ้ปู ่วยควรหลกี เลีย่ งการนง่ั กบั พนื ้ เพราะจะทาให้การบดิ ผิดรูปของกระดกู เป็นมาก ขนึ ้ ได้ รวมทงั้ อาจเพ่มิ ความเสี่ยงในการหกล้มขณะลงนง่ั และลกุ ยืนได้ การนง่ั กบั เก้าอีแ้ ละโต๊ะเรียน ในบางครัง้ อาจต้องการการดดั แปลงให้เข้ากบั ผ้ปู ่วย อาจต้องมีการบใุ ห้น่มุ กนั กระแทก และอาจต้องมีการช่วยพยุงให้สามารถนง่ั เรียนได้นาน ขนึ ้ และสบายขึน้ ควรจดั ให้ข้อสะโพก ข้อเข่าควรอย่ใู นท่างอ 90 องศา เท้าทงั้ 2 ข้างควร

วถิ ีชีวิตกบั โรค | 49 วางอยู่บนพืน้ เพ่ือช่วยในการทรงตวั ระดบั ของเก้าอีค้ วรจะสมั พนั ธ์กบั ระดบั ความสงู ของ โต๊ะและความสงู ของผ้ปู ่ วย เพื่อท่ีจะให้หลงั และลาตวั อย่ใู นท่าท่ีตงั้ ตรงและได้สมดลุ มาก ท่ีสดุ กระเป๋ าใสห่ นงั สอื ไมค่ วรให้หนกั มาก อาจต้องมหี นงั สอื 2 ชดุ เพ่ือไว้ที่บ้านอีกหน่ึงชดุ การสะพายกระเป๋ าท่ีหนกั เกินไปอาจทาให้หกล้มงา่ ย กระดกู ผดิ รูปมากขนึ ้ หรือหกั ร้าวได้ การเขียนหนังสืออาจมีปัญหาได้ เพราะผู้ป่ วยอาจมีอาการปวดกระดูกแขน มี กระดกู แขน ข้อมือและมือผิดรูป หรือกล้ามเนือ้ ท่ีใช้ในการเขียนอาจไม่แข็งแรง ทาให้เขียน หนงั สอื ได้ไมม่ าก เขียนไมส่ วย หรือเขียนช้ากวา่ เพื่อนๆได้ ควรจดั ให้ใช้ดนิ สอ หรือปากกาท่ี เขียนล่ืนไม่ต้องใช้แรงมาก และจบั ได้ถนดั มือ การใช้คอมพิวเตอร์ก็อาจมีปัญหาในการใช้ แป้นพิมพ์ได้ ในบางครัง้ ผู้ป่ วยอาจต้องการเวลาในการทางาน หรือทาสอบมากกว่า นกั เรียนคนอื่น ในเด็กโรคกระดกู เปราะที่ไม่สามารถเดินเองได้ และต้องนงั่ รถเข็นทงั้ วนั อาจมี อาการปวดหรื อเมื่อยได้ ผู้ป่ วยอาจต้ องการการเปลี่ยนท่า ยืดแขนขา หรือทา กายภาพบาบดั ในระหวา่ งวนั

50 | วถิ ีชีวติ กบั โรคกระดกู เปราะโอไอ บทวเิ คราะห์ โรคกระดูกเปราะโอไอ เป็นโรคที่มีผลกระทบเป็นวงกว้างต่อวิถีชีวิตในมิติต่างๆ ของผ้ปู ่ วย ดงั จะสามารถทาการเชื่อมโยงได้ตามรูปท่ี 1 ซงึ่ จะเห็นวา่ โรคมีผลกระทบตอ่ วิถี ชีวติ ในทกุ มิติ รูปท่ี 1 แสดงผลกระทบตอ่ วถิ ีชีวิตมิตติ า่ งๆจากโรคกระดกู เปราะโอไอ แผนภูมิความคิดตามรูปท่ี 2 แสดงความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตด้านต่างๆกับโรค กระดกู เปราะโอไอ ดงั จะเห็นได้วา่ โรคนีม้ ีผลกระทบกบั การใช้ชีวิตของผ้ปู ่วยคอ่ นข้างมาก

วถิ ีชีวิตกบั โรค | 51 อยา่ งไรก็ตามหากได้รับการดแู ลรักษาท่ีถกู ต้องเหมาะสม ผ้ปู ่วยก็จะสามารถปรับตวั ให้เข้า กบั ข้อจากดั เหลา่ นีไ้ ด้ดยี ง่ิ ขนึ ้ รูปท่ี 2 แสดงแผนภมู ิความคดิ สรุปความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโรคกระดกู เปราะโอไอกบั วิถีชีวิต ทงั้ 7 มิติ

52 | วถิ ีชีวติ กบั โรคกระดกู เปราะโอไอ ข้อเสนอแนะ ผ้ปู ่ วย ครอบครัว และเพื่อนของผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะควรจะมีความเข้าใจในตวั โรค รับรู้ข้อจากดั และทราบถึงแนวทางในการปรับตวั เพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตอย่กู บั โรค ได้อย่างมีความสขุ การศกึ ษาหาข้อมลู เพ่ิมเติมเก่ียวกบั ตวั โรค พดู คยุ ปรึกษากบั ทีมแพทย์ ที่ให้การดแู ลอย่างสม่าเสมอจึงมีความจาเป็น หากมีปัญหาหรือภาวะเครียด ผู้ป่ วยควร ปรึกษาครอบครัว เพ่ือนและคุณครูเพ่ือหาทางแก้ไข การจะใช้ชีวิตอยู่กับโรคโอไอให้มี ความสขุ นนั้ ผ้ปู ่ วยควรรู้ข้อจากดั ของตวั เอง และพยายามหากิจกรรมท่ีตวั เองสามารถทา ได้ภายใต้ขอบเขตท่ีปลอดภยั หางานอดิเรกท่ีชอบ และกิจกรรมออกกาลงั กายหรือกีฬา ท่ี สามารถทาได้ เพ่ือ ให้ร่างกายแข็งแรงอย่เู สมอ สร้างความบนั เทิงและทาให้สามารถเข้า สงั คมได้ดขี นึ ้ ผู้ป่ วยควรพยายามศึกษาเล่าเรียน เพ่ือท่ีจะสามารถหางานทาที่เหมาะสมกับ ตนเองได้ เนื่องจากงานที่ต้องใช้แรงกายมาก อาจไม่เหมาะสมและเสี่ยงต่อการเกิด กระดูกหักได้ และควรพูดคุย สร้ างกลุ่มกับผู้ป่ วยโรคกระดูกเปราะคนอ่ืนๆ เพื่อเป็นท่ี ปรึกษาและให้คาแนะนาแก่กนั และกนั ได้

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 53 บทสรุป ถึงแม้ว่าโรคกระดกู เปราะโอไอจะมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตแทบจะทกุ มิติ แต่ผ้ปู ่ วย สว่ นใหญ่ก็สามารถมีชีวิตท่ีมีความสขุ ได้ หากผ้ปู ่ วย ครอบครัว และคนรอบข้าง มีความรู้ และเข้าใจในตวั โรคและข้อจากดั ของโรค รวมทงั้ แนวทางในการปรับตวั ให้เข้ากบั โรค อตั รา การอยรู่ อดและอายขุ ยั ของผ้ปู ่ วยโรคกระดกู เปราะชนิดท่ี 1 และ 4 นนั้ ใกล้เคยี งกบั ของคน ปกติ ผ้ปู ่วยชนิดท่ี 3 อาจมอี ายขุ ยั ที่สนั้ กวา่ หากมีภาวะกระดกู สนั หลงั คดและโก่งท่ีมากจน ทาให้รูปร่างของช่องอกผิดรูปไป จนทาให้การทางานของปอด กล้ามเนือ้ หายใจ และหวั ใจ ผิดปกติ5 อย่างไรก็ตามการปรับตวั เข้ากบั โรค ร่วมมือกนั หาทางแก้ไขปัญหา และวางแผน ชีวิตอยา่ งรอบคอบ เป็นปัจจยั สาคญั ท่ีจะช่วยให้ผ้ปู ่วยและครอบครัวสามารถใช้ชีวิตอย่าง มีความสขุ ได้ บทส่งท้าย ผ้ปู ่วยสามารถหาข้อมลู เพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั โรคกระดกู เปราะโอไอ ได้ที่ www.oif.org เอกสารอ้างองิ 1. Sillence DO, Senn A, Danks DM. Genetic heterogeneity in osteogenesis imperfecta. J Med Genet 1979;16:101-16. 2. Cole WG. Etiology and pathogenesis of heritable connective tissue diseases. J Pediatr Orthop 1993;13:392-403. 3. Cole WG. The Nicholas Andry Award-1996. The molecular pathology of osteogenesis imperfecta. Clin Orthop Relat Res 1997:235-48. 4. Widmann RF, Laplaza FJ, Bitan FD, Brooks CE, Root L. Quality of life in osteogenesis imperfecta. Int Orthop 2002;26:3-6. 5. Paterson CR, Ogston SA, Henry RM. Life expectancy in osteogenesis imperfecta. Bmj 1996;312:351.



วิถีชีวิตกบั โรค | 55 วถิ ีชีวติ กับเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด ผศ.นพ.ชศู กั ดิ์ กิจคณุ าเสถียร

56 | วิถีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด วิถชี วี ิตกับเส้นเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด ผศ.นพ.ชศู กั ดิ์ กิจคณุ าเสถียร เส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า (anterior cruciate ligament) เป็นเส้นเอ็นท่ีสาคญั ท่ีอยู่ ภายในข้อเข่า เกาะอย่รู ะหว่างกระดกู ต้นขา และกระดกู หน้าแข้ง ทาหน้าท่ีให้ความมนั่ คง แก่ข้อเข่า ในทิศทางการเคลื่อนท่ีของกระดกู หน้าแข้งมาด้านหน้า (anterior stability) และ ความมนั่ คงของข้อเขา่ ในด้านการหมนุ (rotational stability) ในปัจจบุ นั ภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บพบได้บ่อยและมีแนวโน้มท่ีเพ่ิม สงู ขนึ ้ เน่ืองจากประชากรไทยมีความนิยมในการเลน่ กีฬาท่ีมากขนึ ้ รวมไปถึงการเลน่ กีฬา ที่มีความจริงจงั รุนแรงมากขึน้ เนื่องจากการบาดเจ็บนีเ้ ป็นปัญหาที่ต้องได้รับการรักษา โดยการผ่าตดั ส่องกล้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่มผู้ป่ วยที่มีอายุน้อยท่ีต้องการที่จะ กลับไปมีกิจกรรมในการใช้ชีวิตและเล่นกีฬาให้ใกล้เคียงกับก่อนการบาดเจ็บ ทาให้ ค่าใช้จ่ายในการดแู ลรักษาผู้ป่ วยมีแนวโน้มท่ีสงู ขึน้ และอาจจะมีค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมเติมใน ระยะยาวจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึน้ จากภาวะเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า ในกรณีที่ไม่ได้รับ การรักษาอยา่ งถกู ต้อง ภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด โดยส่วนใหญ่มกั จะทาให้เส้นเอ็นแกนเข่า ไขว้หน้าฉีกขาดทงั้ เส้น (complete tear) ซงึ่ ทาให้กระดกู หน้าแข้ง มีการเคลื่อนท่ีมาใน ทิศทางมาทางด้านหน้าได้มากกว่าปกติ ลักษณะการเคลื่อนที่ผิดปกตินี ้ จะทาให้เกิด อาการเข่าทรุดหรือไม่มน่ั คงในระหวา่ งใช้งานข้อเข่า โดยเฉพาะในการเคลื่อนที่ที่มีการบิด หมนุ ของข้อเข่า ส่วนใหญ่หลงั การบาดเจ็บผ้ปู ่ วยจะมีอาการปวดและบวมบริเวณข้อเข่าท่ี ได้รับบาดเจ็บทนั ที โดยอาการปวดบวมมกั จะลดลงภายใน 2 ถึง 3 สปั ดาห์ มกั จะไม่มี อาการปวดเข่าตามมาอีก ยกเว้นในกรณีท่ีมีภาวะแทรกซ้อน เช่น หมอนรองเข่าฉีกขาด

วถิ ีชีวิตกบั โรค | 57 กระดกู ชา้ หรือเอน็ ด้านข้างเข่าฉีกขาด แตผ่ ้ปู ่วยจะมาด้วยอาการเขา่ ทรุด หรือเข่าไม่มนั่ คง หรือมาด้วยอาการปวดเข่า เวลานงั่ ยองๆ หรืองอเขา่ เนื่องจากหมอนรองเขา่ ฉีกขาด ภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด จะมีการเคล่ือนที่ในทิศทางที่กระดกู หน้า แข้งเคลื่อนท่ีมาด้านหน้า ทาให้ปลายกระดกู ต้นขา เคล่ือนท่ีมาด้านหลงั และกดทบั หมอน รองเข่าในขณะเหยียดเข่า ส่งผลทาให้เกิดการบาดเจ็บของหมอนรองข้อเข่าตามมา ภายหลงั ซึ่งภาวะเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาดร่วมกับหมอนรองเข่าฉีกขาด ทาให้เข่ามี ความไมม่ นั่ คงสงู ขนึ ้ ผ้ปู ่ วยจะมีอาการเขา่ ทรุดบอ่ ยขนึ ้ ร่วมกบั มีอาการปวดเข่าโดยเฉพาะ เวลางอเขา่ มากๆ หรือนงั่ ยองๆ มีการศกึ ษาการพบว่า ภาวะหมอนรองข้อเข่าฉีกขาดจะทา ให้เกิดการเสือ่ มสภาพของข้อเขา่ อยา่ งรวดเร็ว1 สาเหตุของภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาดท่ีพบบ่อย เกิดจากอุบัติเหตุ ระหว่างการเล่นกีฬา แต่สามารถเกิดจากอบุ ตั ิเหตหุ กล้ม หรือเข่าบิดหมนุ ขณะเดินหรือวิ่งได้ โดยมกั จะมีกลไกการบาดเจ็บท่ีเกิดในลกั ษณะข้อเข่าบิดหมนุ (twisting injury) หลงั อบุ ตั ิเหตุ หรือบาดเจ็บผ้ปู ่ วยจะมีข้อเข่าบวมขนึ ้ ทนั ที ไม่สามารถเล่นกีฬาตอ่ ได้ หรือเดินกะเผลก อาการ บวมมกั จะยบุ ลงภายใน 2 ถึง 4 สปั ดาห์ ผ้ปู ่ วยจะสามารถกลบั มาเดินใกล้เคียงกบั ปกติ ยกเว้น มีภาวะแทรกซ้อน จะทาให้ลกั ษณะการเดนิ ผดิ ปกตไิ ด้ การรักษา Neuman และคณะ2 ได้ติดตามผ้ปู ่ วยท่ีมีภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าขาด จานวน 100 ราย ท่ีรักษาโดยวิธีการอนรุ ักษ์ โดยให้ผ้ปู ่วยทาการฝึกกล้ามเนือ้ รอบข้อเข่า ฝึกการรับรู้ การตอบสนองของข้อเขา่ และลดกิจกรรมทางกีฬา เป็นระยะเวลา 15 ปี พบวา่ ร้อยละ 68 ไม่มีอาการผิดปกติท่ีเขา่ และร้อยละ 23 ได้รับการผ่าตดั สร้างเอ็นแกนเข่าไขว้ หน้าโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ปีหลงั จากบาดเจ็บ มีผ้ปู ่วยจานวน 35 รายมีภาพรังสีที่วินิจฉยั

58 | วิถีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด ว่ามีภาวะข้อเข่าเส่ือม ซง่ึ ทงั้ หมดเป็นผ้ปู ่ วยท่ีมีภาวะหมอนรองเข่าฉีกขาด และได้รับการ ผา่ ตดั ตดั หมอนรองเขา่ (meniscectomy) ในบทความนี ้ได้รวบรวมผลกระทบต่างๆ จากวิถีชีวิต 7 มิติที่มีผลตอ่ โรค ได้แก่ การอปุ โภค/บริโภค การอย่อู าศยั การนอนหลบั /พกั ผ่อนหย่อนใจ การมีสมั พนั ธ์กบั คนรัก/ คนใกล้ชิด (sexual activity) การสื่อสาร การทางาน และการเรียนรู้ และผลการทบของโรค ท่ีมีต่อวิถีชีวิตทงั้ 7 ด้าน เพ่ือเป็นความรู้ เพ่ือให้เข้าใจภาวะของโรคในแง่มมุ ต่างๆได้ ทุก ด้าน และนาความรู้ท่ีได้มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ เช่น การป้องกัน การพยากรณ์ ผลกระทบของโรค วิถีชีวิตทมี ีผลต่อการเกิดเส้นเอ็นแกนเข่าไว้หน้าฉีกขาด การอุปโภค/บริโภค ในปัจจุบันนีย้ ังไม่มีการศึกษาใดๆ พบว่าปัจจัยในเร่ืองการรับประทานอาหาร โดยตรง เช่น ลกั ษณะการกินอาหาร หรือประเภทอาหารในกลมุ่ ประชากรตา่ งๆ จะมีผลตอ่ การเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า อย่างไรก็ตามในบางการศึกษาพบว่า ประชากรท่ีมีดชั นีมวลกายสงู (high body mass index) ซง่ึ เป็นผลกระทบทางอ้อมหรือ ผลข้างเคียงของการรับประทานอาหารท่ีมากเกินไป จะทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการ บาดเจ็บของข้อเข่า และเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า3, 4 โดยนกั กีฬาท่ีมีดชั นีมวลกายสงู กว่า หน่ึงเท่าของค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานจะเพิ่มความเส่ียงตอ่ การเกิดการบาดเจ็บของเอ็นแกน เข่าไขว้หน้าสงู ถึง 3.2 ถึง 3.5 เท่า แตป่ ัจจยั นีอ้ าจจะไม่ใช่ปัจจยั หลกั โดยสนั นิษฐานว่าใน กลุ่มประชากรท่ีมีดัชนีมวลกายสูง มักจะเป็นกลุ่มประชากรที่ไม่ใช่นักกีฬา ซ่ึงการ ตอบสนองของกล้ามเนือ้ ของระบบประสาทไม่ดี ซง่ึ ปัจจยั เสี่ยงนีเ้ ป็นปัจจยั หลกั ต่อตอ่ การ บาดเจ็บมากกวา่ ดชั นีมวลกาย

วิถีชีวติ กบั โรค | 59 สรุป ปัจจยั ดา้ นการกินไม่มีผลต่อการเกิดการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ การอยู่อาศัย ลักษณะการเดนิ ถงึ แม้วา่ จะมีผลการศกึ ษาของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าขาด ท่ีมีผลตอ่ ลกั ษณะการ เดินท่ีเปลี่ยนแปลง และผลของการรักษาที่มีต่อลกั ษณะการเดิน แตย่ งั ไม่พบว่ามีลกั ษณะ การเดินที่ผิดปกติใด ทาให้เส่ียงต่อการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าได้ เพ่ิมขนึ ้ สรุป ไม่มีการศึกษาทีพ่ บว่าลกั ษณะการเดินที่ผิดปกติหรือการอยู่อาศยั มีผลต่อ การเกิดการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หนา้ การนอนหลับ/พกั ผ่อนหย่อนใจ จากการสืบค้นข้อมลู ไม่พบหลกั ฐานเก่ียวเนื่องกับปัจจัยของการนอนที่มีผลต่อ การเกิดการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า จากท่าทางการนอนหลบั และการพลิกตวั น่าจะมีโอกาสเกิดแรงบดิ หมนุ หรือแรงกระทาตอ่ เอ็นแกนเข่าไขว้หน้าได้น้อยมากหรือแทบ จะไมม่ ี การนอนหลบั น่าจะไมเ่ ป็นสาเหตขุ องการเกิดการบาดเจ็บบริเวณเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า การเล่นกฬี า (Sport activity) การบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามกั จะมีสาเหตมุ าจากการบาดเจ็บจากการ เลน่ กีฬา โดยประเภทกีฬา ท่ีพบการบาดเจ็บได้บอ่ ยมกั จะเป็นกีฬาที่มีการปะทะ (contact sport) เช่น ฟตุ บอล บาสเกตบอล ยโู ด เป็นต้น1 Joseph และคณะ5 ได้ทาการสารวจกลมุ่ นกั กีฬา 9 ประเภท ในช่วงปี 2008 ถึง 2012 พบว่า อบุ ตั ิการณ์เกิดการบาดเจ็บเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าเท่ากบั 6.5 ในการบาดเจ็บ 100,000 ครัง้ การบาดของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้ามกั จะเกิดในช่วงเวลาแข่งขนั มากกว่า

60 | วิถีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด ช่วงเวลาฝึกซ้อม (rate ratio = 7.3) สว่ นประเภทของกีฬาพบว่า นกั กีฬาเพศหญิงท่ีเลน่ ฟตุ บอลมีอตั ราการบาดเจ็บสงู ท่ีสดุ รองลงมาได้แก่ นกั กีฬาอเมริกนั ฟตุ บอลที่เป็นเพศชาย อย่างไรก็ตามในทกุ ชนิดกีฬา นกั กีฬาเพศหญิงจะมีอตั ราการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้ หน้าสงู กว่านกั กีฬาเพศชาย ส่วนกลไกลการบาดเจ็บมกั จะเกิดจากการปะทะกนั ระหว่าง นกั กีฬา โดยปกติการบาดเจ็บของเส้นเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าจะสามารถเกิดได้จากหลายเหตุ ปัจจัย แต่ในการเล่นกีฬาพบว่าประเภทหรือชนิดของกีฬามีผลต่ออัตราการเกิดการ บาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า กีฬาที่พบการบาดเจ็บในอตั ราท่ีสงู ได้แก่ อเมริกนั ฟตุ บอล รักบี ้ฟตุ บอล ยิมนาสติก และ บาสเกตบอล โดยในเพศหญิงจะพบการบาดเจ็บที่ มีอตั ราสงู กวา่ เพศชายในกีฬาประเภทบาสเกตบอล และ ยิมนาสตกิ 6 (รูปที่ 1) สว่ นในนกั กีฬาท่ีมีภาวะเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด ถ้ากลบั ไปเล่นกีฬาโดยไม่ได้ รับการรักษา จะเพ่ิมความเส่ยี งตอ่ การเกิดการบาดเจ็บของหมอนรองเขา่ ตามมา สรุป ประเภทของกีฬาปะทะมีผลต่อการเกิดการบาดเจ็บของเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ การเล่นกีฬามีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน โดยบาดเจ็บของโครงสร้างอื่นๆ ของข้อเข่า เช่น หมอนรองเข่า

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 61 รูปท่ี 1 แสดงสดั สว่ นของประเภทกีฬาที่มีภาวะเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าบาดเจบ็ (ดดั แปลงมาจาก ข้อมลู ในการศกึ ษาของ Mountcastle และคณะ6) ปัจจัยภายนอก ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าในชีวิตประจาวนั ส่วน ใหญ่มกั จะสมั พนั ธ์กบั การเลน่ กีฬา เช่น ลกั ษณะอากาศ ลกั ษณะของพืน้ สนาม ชนิดของ หญ้าท่ีใช้ในการทาพืน้ สนาม เพื่อใช้ในกิจกรรมกีฬาตา่ งๆ การศกึ ษาของ Orchard J.7 ศกึ ษาในกลมุ่ นกั กีฬา Australian football พบวา่ จะมี การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าได้สงู ในช่วงเวลาอบอ่นุ มากว่าช่วงเวลาอากาศ เย็นและแห้ง8 และให้ข้อสงั เกตว่า การบาดเจ็บมกั จะเกิดได้ลดลงในเดือนท่ีมีอากาศเย็น ตอ่ มามกี ารศกึ ษาพบวา่ อตั ราการระเหยของนา้ ที่ตา่ หรืออากาศชืน้ และ สภาพอากาศท่ีมี ฝนในช่วงเวลาก่อนแข่งขนั จะช่วยลดความเสี่ยง ตอ่ การบาดเจ็บต่อเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า

62 | วิถีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด ในนกั กีฬาอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ9, 10 ผ้ศู ึกษาเช่ือว่าความชืน้ ในสนาม จะทาให้พืน้ สนามนมุ่ ขนึ ้ และช่วยลดความหนืดท่ีเท้ามตี อ่ สนาม (ผ้เู ขียนแนะนาให้เพ่ิมนา้ ในช่วงเวลา ท่ีมีอากาศแห้ง) มีการศึกษาในนกั กีฬาฟุตบอล (soccer) พบว่าพบอบุ ตั ิการณ์การ บาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าในพืน้ ที่ทางตอนใต้ท่ีมีอากาศร้อน และแห้งแล้ง สงู กวา่ นกั กีฬาในพนื ้ ที่ทางเหนือท่ีมีอากาศ เยน็ และชืน้ กวา่ ลักษณะของพนื้ สนาม มีการศกึ ษาของ Scranton และคณะ11 ติดตามนกั กีฬาเป็นเวลา 4 ปี เพื่อศกึ ษา ปัจจยั เส่ียงด้านต่างๆ ของการบาดเจ็บเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า เช่น รองเท้า ลกั ษณะของพืน้ สนาม สภาพอากาศ และชนิดของเกมส์ พบว่าการบาดเจ็บจะเกิดในพืน้ หญ้าธรรมชาติ มากกว่าหญ้าเทียม และ เกิดในระหว่างการแข่งขนั สงู กว่าการฝึกถึง 5 เท่า และร้อยละ 95.2 ของการบาดเจ็บเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า พบในพืน้ ท่ีมีลกั ษณะแห้ง (dry field) มากกว่า ลกั ษณะสนามท่ีเปียก ชนิดของหญ้าอาจจะมีผลต่อการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า การศึกษา ของ Orchard และคณะ12 พบว่า พืน้ สนามท่ีใช้หญ้าชนิด Bermuda จะมีอตั ราการเกิด ภาวะเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าบาดเจ็บสงู กว่า พืน้ สนามที่ใช้หญ้าชนิด Rye แตอ่ ย่างไรก็ตาม ในบางการศกึ ษา ในกล่มุ นกั กีฬา Australian football ไม่พบความแตกต่างกนั ระหว่าง หญ้าทงั้ สองประเภท รวมไปถงึ ปัจจยั ในด้านความแข็งของพนื ้ สนามไมม่ ีผลตอ่ การเกิดการ บาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า7 ในปัจจบุ นั มีการศกึ ษาเปรียบเทียบผลของพืน้ สนามที่มีผลส่งแรงมากระทาท่ีเส้น เอ็นแกนเข่าไขว้หน้า พบว่าในห้องทดลองหญ้าเทียมทุกชนิด ส่งแรงกระทามาท่ีเอ็นแกน เขา่ ไขว้หน้ามากกวา่ หญ้าธรรมชาติ13

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 63 ลกั ษณะของพืน้ สนามเป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อการบาดเจ็บในระหว่างการเล่นกีฬา และลกั ษณะพืน้ สนามที่มีการใช้หญ้าเทียม (artificial turf) มกั จะมีการบาดเจ็บของข้อเขา่ มากขนึ ้ เมื่อเปรียบเทียบกบั หญ้าธรรมชาติ (natural grass) เมื่อพิจารณาถึงการบาดเจ็บ เฉพาะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า Powell และคณะ14 ทาการศึกษาในกีฬา American football พบวา่ หญ้าเทียมชนิด Astroturf เพิ่มปัจจยั เส่ียงตอ่ การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกน เข่าไขว้หน้า มากกว่าหญ้าธรรมชาติ ในขณะที่การบาดเจ็บตอ่ ข้อเท้าไมพ่ บความแตกตา่ ง กนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ การศกึ ษาในช่วงหลงั ท่ีทาการศกึ ษาโดย Dragoo และคณะ15 ทาการศกึ ษาในกลมุ่ นกั กีฬาอเมริกนั ฟตุ บอล ในช่วงเวลา 2004 ถึง 2009 พบวา่ อบุ ตั ิการ เกิดการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า มีค่าเท่ากบั 1.73 ครัง้ ตอ่ การบาดเจ็บ 10,000 ครัง้ ในกลมุ่ ที่ใช้สนามหญ้าเทียม และสงู กวา่ กลมุ่ ที่ใช้หญ้าธรรมชาติ ซง่ึ มีคา่ 1.24 ครัง้ ตอ่ การบาดเจ็บ 10,000 ครัง้ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ สว่ นการบาดเจ็บอ่ืนๆที่ไมไ่ ด้เกิดจาก การปะทะจะเกิดมากขนึ ้ ในกล่มุ ท่ีใช้หญ้าเทียม โดยสรุป การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่า ไขว้หน้ามีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึน้ ในกลุ่มท่ีใช้สนามหญ้าเทียม มากกว่าสนามท่ีใช้หญ้ า ธรรมชาติ15-17 แต่อย่างไรก็ตามในการศกึ ษาต่อมายงั มีข้อโต้แย้ง ในการเพ่ิมความเส่ียง ของการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าระหว่าง สนามที่ใช้หญ้าเทียม และ หญ้าธรรมชาติ11, 18-20 Scranton และคณะ11 พบว่าการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า พบมากในการใช้สนามหญ้าธรรมชาติ สว่ นการศกึ ษาของ Bradley และคณะ18 พบวา่ การ บาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้าหน้าในช่วงฝึกซ้อมจะพบมากในกลมุ่ ท่ีใช้หญ้าธรรมชาติ แต่ ในขณะแข่งขนั การบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามีจานวนที่เท่ากนั ซง่ึ ผลการศกึ ษาไป ในแนวทางเดียวกบั Meyers และคณะ19 ที่พบการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าใน กลมุ่ นกั กีฬา high school American football เท่ากบั ร้อยละ 23 ในสนามหญ้าเทียม และ ร้อยละ 42 ในสนามหญ้าธรรมชาติ ใน 5 ฤดกู ารแขง่ ขนั

64 | วถิ ีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด ปัจจยั สาคญั ท่ีมีผลต่อการศึกษา คือ ชนิดของหญ้าเทียม ในช่วงแรกหญ้าเทียม มกั จะมีลกั ษณะของเส้นใยไนลอนท่ีสนั้ และมีสว่ นของตวั รองท่ีไมม่ าก เม่ือเปรียบเทียบกบั หญ้าเทียมรุ่นใหม่ ท่ีมีเส้นใยไนลอนท่ียาวกว่า และมีการเติมยางเทียมลงไปเพื่อลดแรง กระแทก โดยมีจุดประสงค์เพ่ือลดแรงกระแทกเวลาล้ม และเพิ่มการยึดเกาะของรองเท้า และสนามให้มากขนึ ้ การศกึ ษาของ William และคณะ17 พบว่าหญ้าเทียมรุ่นใหม่ (Third and fourth generation artificial surface) มีอตั ราการบาดเจ็บของข้อเขา่ สงู กวา่ สนามที่ ใช้หญ้าเทียมรุ่นเก่า (first and second generation artificial surface) และหญ้า ธรรมชาติ จากการศึกษานกั กีฬาอเมริกนั ฟุตบอลจานวน 3119 คน เป็นเวลา 3 ปี โดยดู ลกั ษณะของพืน้ รองเท้าท่ีมีผลต่อการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า 4 ชนิด พบว่า ลกั ษณะพืน้ รองเท้าที่มีการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามากท่ีสดุ ได้แก่ลกั ษณะ ของพืน้ รองเท้าชนิดท่ีมีการยดึ เกาะพืน้ ในการบดิ หมนุ สงู สดุ 21 (edge, longer irregular cleats placed at the peripheral margin of the sole with a number of smaller pointed cleats positioned interiorly) สรุป ปัจจยั ภายนอกหรือภาวะแวดลอ้ มทีม่ ีผลต่อการเกิดการบาดเจ็บของเสน้ เอ็น แกนเข่าไขว้หนา้ ไดแ้ ก่ลกั ษณะของพืน้ สนามทีส่ ่งผลต่อแรงทีม่ ากระทาทีเ่ อ็นแกนเข่าไขว้ หน้า โดยหญ้าเทียมมีความเสี่ยงสูงกว่าหญ้าธรรมชาติ พื้นผิวที่ยึดติดกับรองเท้าเพิ่ม ปัจจยั เสีย่ งต่อการบาดเจ็บ22

วิถีชีวติ กบั โรค | 65 การมสี ัมพนั ธ์กับคนรัก/คนใกล้ชดิ ในปัจจบุ นั นีย้ งั ไม่มีการศึกษาใดๆ พบว่าปัจจยั ในเร่ืองการมีสมั พนั ธ์กบั คนรัก/คน ใกล้ชิด (sexual activity) มีผลตอ่ การเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า มีเพียง การศึกษาท่ีพบว่า ลักษณะข้อหลวม การควบคุมของกล้ามเนือ้ จากระบบประสาท (neuromuscular control) ที่ลดลงทาให้ข้อเข่ามีความมน่ั คงลดลงขณะใช้งาน (knee stability) เป็นปัจจยั เสย่ี งที่เพ่ิมอตั ราการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า โดย พบวา่ ในเพศหญิงจะมีการเปล่ียนแปลงของภาวะข้อหลวม และการควบคมุ กล้ามเนือ้ จาก ระบบประสาทที่เกิดจากระดบั ฮอร์โมนเพศหญิง เช่น estrogen, progesterone ทาให้ พบวา่ นกั กีฬาเพศหญิงมอี ตั ราการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าได้มากกวา่ ผ้ชู าย ในทางกลบั กนั ในนกั กีฬาเพศหญิงที่ได้รับยาคมุ กาเนิด (oral contraceptive drug) จะทาให้ระดบั ฮอร์โมนเพศหญิงคงที่ ข้อเข่าจะมีความมน่ั คงมากขนึ ้ และลดความเสี่ยงท่ี จะเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า32 สรุป การมีสมั พนั ธ์กบั คนรัก/คนใกลช้ ิด ไม่มีผลโดยตรงต่อการเกิดการบาดเจ็บ ของเอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ การส่ือสาร จากการสืบค้นข้อมลู ไม่พบหลกั ฐาน เกี่ยวเน่ืองกบั ปัจจยั ของการสื่อสาร ท่ีมีผล ตอ่ การเกิดการบาดเจ็บของเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้า การทางาน การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามักจะสัมพันธ์กับการเล่นกีฬา หรือ อบุ ตั ิเหตจุ ารจร ส่วนงานท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้ หน้า ยังไม่มีการศึกษาท่ีชัดเจนหรือยืนยันได้ อย่างไรก็ตามจากการสืบค้นข้อมูลตาม

66 | วิถีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด เว็บไซต์ต่างๆ พบว่าเว็บไซต์ของสานักกฎหมายของ James Scott Farrin (http://www.farrin.com/legal-offices/north-carolina-injury-lawyer-practice-areas) ท่ี มีสานกั งานอยทู่ ี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้บริการด้านกฎหมายในด้านตา่ งๆรวมไปถึงการ เรียกร้องค่าชดเชยท่ีเกิดจากการบาดเจ็บในงาน พบว่า เข่าที่บาดเจ็บในงานจะเกิดจาก หมอนรองเข่าฉีกขาด เส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด จะเรียกร้องคา่ ชดเชยได้ โดยกลมุ่ ท่ี เป็นเป้าหมาย ได้แก่ คนขบั รถบรรทุก (truck drivers) พยาบาล คนที่ทาในโรงงาน อุตสาหกรรมการผลิต หรือโกดงั และ คนงานก่อสร้ าง เม่ือวิเคราะห์พบว่าเป็นงานที่มี ลกั ษณะท่ีมีการเดินหรือวิ่ง และในบางขณะจะมีการยกของร่วมกับการเดิน อย่างไรก็ ปัจจยั เสีย่ งเหลา่ นีเ้ป็นเพียงข้อสนั นิษฐานยงั ไมม่ ีหลกั ฐานทางการแพทย์ท่ีชดั เจน สรุป ลกั ษณะงานทีม่ ีความเสีย่ งต่อการเกิดเอ็นแกนเข่าไขวฉ้ ีกขาด ไดแ้ ก่ นกั กีฬา ลกั ษณะงานทีม่ ีการเดิน หรือว่ิง การเรียนรู้ ในปัจจุบนั ยงั ไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบว่าระดบั การศึกษามีผลต่อการเกิดเส้น เอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บ แต่มีการสารวจพบว่าการบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า พบในนกั กีฬาระดบั มหาวิทยาลยั (college) มากกว่า นกั กีฬาในระดบั มธั ยมศกึ ษา (high school) ปัจจยั ของระดบั การศกึ ษาอาจจะเป็นปัจจยั ตวั กวน เพราะในกลมุ่ นกั กีฬาระดบั มหาวทิ ยาลยั จะมกี ารเลน่ กีฬา ท่ีจริงจงั และรุนแรงมากขนึ ้ การเรียนรู้ในการฝึกการควบคุมกล้ามเนือ้ จากระบบประสาท (neuromuscular control) ในกลมุ่ นกั กีฬาเน่ืองจากในกลมุ่ นกั กีฬาเพศหญิงมีอตั ราการเกิดการบาดเจ็บของ เส้นเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าท่ีสงู โดยมีปัจจยั เสยี่ งหลกั ในด้านการควบคมุ กล้ามเนือ้ จากระบบ ประสาทประสิทธิภาพน้อยกว่าเพศชาย ดงั นนั้ ในการฝึกหรือเรียนรู้การควบคมุ กล้ามเนือ้ จากระบบประสาทอย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยลดอตั ราการเกิดการบาดเจ็บของเส้นเอ็น

วถิ ีชีวิตกบั โรค | 67 แกนเข่าไขว้หน้าได้ โดยมีการศึกษารวบรวมข้อมูลและสรุปว่า ถ้าเราฝึกการควบคุม กล้ามเนือ้ จากระบบประสาท ในนกั กีฬาเพศหญิงจานวน 89 คน จะสามารถลดโอกาสเกิด การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าได้ 1 คน ในหนงึ่ การแขง่ ขนั สรุป การฝึ กหรือเรียนรู้การควบคมุ กล้ามเนือ้ จากระบบประสาท สามารถลดการ เกิดการบาดเจ็บของเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ ผลกระทบของการบาดเจบ็ ของเส้นเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าต่อวิถีชีวิต การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามกั จะส่งผลต่อการทางานของข้อเข่า รวมไปถึงผลกระทบต่อกล้ามเนือ้ รอบข้อเข่า ซ่งึ อาจจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตด้านต่างๆ ของผ้ปู ่วยได้แก่ การอุปโภค/บริโภค เน่ืองจากการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้ามกั ไม่มีอาการปวด ซงึ่ ไมส่ ง่ ผล ตอ่ การอปุ โภค/บริโภคในชีวิตประจาวนั ดงั นนั้ จงึ ยงั ไมม่ ีการศกึ ษาหรือรายงานผลของ ภาวะเส้นเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าขาด ท่ีมีผลกระทบหรือมีภาวะท่ีเก่ียวเน่ืองกบั การอปุ โภค/ บริโภคของผ้ทู ่ีได้รับบาดเจ็บ สรุป ภาวะเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ ขาดไม่มีผลต่อการอปุ โภค/บริโภค การอยู่อาศัย ลักษณะการเดนิ ในผ้ปู ่ วยท่ีมีเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาดพบว่ามีลกั ษณะการเดินท่ีผิดปกติ32 โดยเฉพาะระยะแรกของการบาดเจ็บ โดยจะมีการลดลงของการทางานของกล้ามเนือ้ ต้น ขาด้านหน้า (Quadriceps) และ กล้ามเนือ้ น่อง (Gastrocnemius) ในระหวา่ งที่เท้าสมั ผสั

68 | วิถีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด พืน้ (heal strike) และในขณะที่เข่าอย่ใู นลกั ษณะเหยียดตรง จะมีการเพ่ิมขึน้ ของการ ทางานของกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหลงั (Hamstring) ลกั ษณะของการที่มีการลดลงของการ ทางานของกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหน้า อาจจะหายไปได้ในผ้ปู ่ วยที่มีการบาดเจ็บเรือ้ รัง (chronic injury)25 Ageberg และคณะ32 ทาการศกึ ษานกั กีฬาที่มีภาวะเส้นเอ็นแกนเข่า ไขว้หน้าขาด ระยะเวลาเฉลี่ยหลงั จากบาดเจ็บประมาณ 15 ปี และได้รับการทากายภาพ โดยการควบคมุ กิจกรรม และฝึกกล้ามเนือ้ พบวา่ กาลงั ของกล้ามเนือ้ วดั โดยวิธีกระโดดขา เดยี ว (one-leg hop test) และ วดั ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ เมื่อเคล่ือนไหว (isokinetic knee muscle strength) มีคา่ ไมแ่ ตกตา่ งกบั กลมุ่ ที่ไม่มีการฉีกขาดของเส้นเอน็ แกนเข่าไขว้ หน้า แต่การรับรู้ของข้อเข่า (joint position sense) โดยการวดั ขณะจบั ข้อเขา่ เหยียดงอ (threshold to detection of passive motion) มีคา่ ที่ต่ากวา่ ในกลมุ่ ท่ีไมไ่ ด้รับบาดเจ็บ ซง่ึ มีผลการศกึ ษาในทศิ ทางเดียวกบั กบั การศกึ ษาของ Carter และคณะ32 สรุป กาลงั ของกลา้ มเนือ้ ตน้ ขาดา้ นหนา้ ในผูป้ ่ วยทีม่ ีเอ็นแกนเข่าไขว้หนา้ ขาดใน ช่วงแรกจะมีการเปลี่ยนแปลงลดลง แต่สามารถทาการฟื้นฟูได้ให้กลบั มาใกล้เคียงกบั ภาวะปกติ ในระยะยาว ในขณะทีป่ ระสาทการรบั รู้ของขอ้ เข่าไม่สามารถฟื้นฟใู นกลบั มาได้ ใกลเ้ คียงกบั ภาวะปกติได้ คุณภาพชีวิต จากการศกึ ษาในด้านคณุ ภาพชีวิต (quality of life) ในผ้ปู ่วยที่มีเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าขาด โดย Cavisi และคณะ32, 32 ผลการศกึ ษาประเมินโดยใช้ SF36 questionnaire ในผ้ปู ่ วย 282 คน พบว่าผู้ป่ วยท่ีมีเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าขาดจะมีคณุ ภาพชีวิตที่ลดลง (รูปท่ี 2) โดยคณุ ภาพชีวิตท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สาคญั ได้แก่ ด้าน physical functioning, role physical และ bodily pain ซง่ึ แสดงถึงการลดลงของการใช้งานข้อเข่า และการลดลงของการทางานข้อเขา่ สง่ ผลกระทบตอ่ หน้าท่ีตา่ งๆ รวมถงึ อาการปวด

วิถีชีวิตกบั โรค | 69 รูปท่ี 2 แสดงคา่ ของ SF-36 ในด้านตา่ งๆ โดยมีเส้นตดั คา่ ท่ีต่ากวา่ เส้นแสดงถึง คา่ ที่ต่ากว่าปกติ และค่าท่ีสงู กว่าเส้นแสดงถึงคา่ ท่ีสงู กว่าปกติ; PF (Physical Functioning, การใช้งาน); RP (Role Physical, สมรรถนะ); BP (Bodily pain, อาการปวด); GH (General Health, สขุ ภาพ)โดยทวั่ ไป, VT (Vitality, การมีกาลงั วงั ชา); SF (Social Functioning, การเข้าสงั คม); RE (Role Emotional, อารมณ์) และ MH (Mental health, สขุ ภาพจติ ) สรุป ภาวะเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ มีผลกระทบต่อระดบั ของการเล่นกีฬา ทาให้ ความสามารถในการเล่นกีฬาลดลง และระดบั ของการใชง้ านขอ้ เข่าไดล้ ดลง การนอนหลับ/พกั ผ่อนหย่อนใจ ในผู้ป่ วยท่ีมีภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บ มักจะไม่มีอาการปวด ถ้าไม่มีภาวะ แทรกซ้อนอื่นๆ ร่วมด้วย ดงั นนั้ ผ้ปู ่วยมกั จะไมม่ ีอาการปวดจนทาให้นอนไมห่ ลบั หรือ night pain และไม่มีรายงานทางการแพทย์ถึงอาการท่ีเกี่ยวเน่ืองระหว่างเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าบาดเจ็บกบั

70 | วถิ ีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด การนอน จากการสืบค้นข้อมลู ทางเว็บไซต์ http://www.patientslikeme.com/symptoms/show/1- insomnia?condition_id=623 ) ที่รายงานผ้ปู ่ วยมีอาการนอนไม่หลบั สงู ถึงร้อยละ 78.7 โดย เป็นกลมุ่ ที่มีอาการนอนไมห่ ลบั รุนแรงถึงร้อยละ 17.9 ข้อจากดั ของรายงานนี ้พบวา่ มีกลมุ่ ตวั อย่างเพียง 67 คน และยงั ไม่มีกลมุ่ เปรียบเทียบท่ีชดั เจน ข้อสนั นิษฐานท่ีเกิดขนึ ้ อาจจะ เป็นผลทางอ้อมจากการลดลงของการออกกาลงั กาย เช่น ความเครียดท่ีเพิ่มขนึ ้ จากการท่ี ไม่สามารถออกกาลงั กาย อาการปวดเข่า หรือความกงั วลตอ่ โรค สรุป ภาวะเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ ขาดไม่สง่ ผลกระทบโดยตรงกบั การนอน การเล่นกฬี า ผลการการผ่าตดั เอ็นแกนเข่าไขว้หน้ากนั การกลบั ไปเล่นกีฬา (return to sport activity) มีการศกึ ษารวบรวม 48 ผลงานวิจยั 23 ในผ้ปู ่ วย 5770 ราย พบว่ามีเพียงร้อยละ 63 สามารถกลบั ไปเลน่ กีฬาในระดบั ที่ใกล้เคียงกบั ก่อนผ่าตดั ได้ และร้อยละ 44 สามารถ กบั ไปเลน่ กีฬาประเภทแขง่ ขนั (competitive sport) ถึงแม้ว่าผ้ปู ่ วยได้รับการผา่ ตดั แก้ไข เอ็นแกนเข่าไขว้หน้าเรียบร้อยแล้ว การใช้งานเขา่ ด้านตา่ งๆ เช่นการเดิน ว่ิง และการตรวจ ประเมินความแข็งแรงของเส้นเอ็นด้วยวิธีต่างๆ จะกลบั มาในระดบั ที่เทียบเท่ากับปกติ เหตุผลหลักท่ีไม่สามารถกลับมาเล่นกีฬาในระดับปกติก่อนผ่าตัดได้ เนื่องจากปัจจัย ทางด้านจิตใจ (psychological factor) ที่มีความกลวั ที่จะบาดเจ็บซา้ 23 Kostogiannis และคณะ23 ทาการตดิ ตามผ้ปู ่ วยท่ีมีเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด ท่ี ทาการรักษา โดยวิธีการทากายภาพ เป็นระยะเวลา 15 ปี พบวา่ มีเพียงร้อยละ 23 ได้รับ การผ่าตดั สอ่ งกล้องสร้างเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า (anterior cruciate ligament reconstruction) ส่วนในกล่มุ ที่ไม่ได้รับการผ่าตดั พบว่า ไม่สามารถในการเล่นกีฬาในระดบั เดียวกับก่อน บาดเจ็บได้ โดยเฉพาะการเล่นกีฬาในระดบั แข่งขนั (competitive activity) และเม่ือ ระยะเวลาเพิ่มมากขนึ ้ ความสามารถในการใช้งานย่ิงลดลง (รูปที่ 3) สว่ นการประเมินการ

วิถีชีวติ กบั โรค | 71 ใช้งานข้อเขา่ โดยผ้ปู ่ วย (subjective knee function) โดยใช้ Lysholm Score (รูปท่ี 4) และ The Knee Injury and Osteoarthritis Knee Score (KOOS) (รูปท่ี 5) พบวา่ ในช่วง แรก Lysholm Score มีคา่ ใกล้เคียงกบั ช่วงก่อนการบาดเจ็บ และคา่ จะลดลงเมื่อตดิ ตาม ผลที่ 15 ปี โดยมีชว่ งคะแนนท่ีน้อยกวา่ 84 คะแนน แสดงถึงระดบั ท่ีเข่ามีปัญหาการใช้งาน ในชีวิตประจาวนั ได้เพ่ิมสงู ขนึ ้ สว่ น KOOS profile พบวา่ มีคา่ ที่ลดน้อยลงและแตกตา่ ง จากกลมุ่ ควบคมุ ท่ีชดั เจน ในด้าน การเลน่ กีฬา และคณุ ภาพชีวิต ในขณะอาการปวด และ กิจกรรมในชีวติ ประจาวนั ไมแ่ ตกตา่ งกบั กลมุ่ ควบคมุ รูปท่ี 3 แสดง Tegner activity level ของกลมุ่ ท่ีมีเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าขาดใน ระยะเวลาตา่ งๆ23 รูปท่ี 4 แสดง Lysholm scores ของกลมุ่ ท่ีมีเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าขาดใน ระยะเวลาตา่ งๆ23

72 | วิถีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด รูปท่ี 5 แสดง KOOS profile ท่ีเวลา 15 ปี โดยเปรียบเทียบกบั กลมุ่ ควบคมุ ท่ีอายุ เฉลย่ี 42 ปี และไมม่ ีภาวะเขา่ บาดเจ็บ23 การมีสัมพนั ธ์กบั คนรัก/คนใกล้ชิด โดยปกติการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามกั จะไม่มีผลตอ่ การมีสมั พนั ธ์ กบั คนรัก/คนใกล้ชิด และยงั ไม่มีรายงานทางการแพทย์เก่ียวเน่ืองกบั ปัจจยั นี ้แต่ในบาง กรณี เช่น ผ้ทู ี่มีเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บร่วมด้วยกบั หมอนรองเข่า ผ้ปู ่ วยมกั จะมี อาการปวดเข่าโดยเฉพาะในกรณีที่มีการงอเข่าจนสุด หรือในท่านั่งยองๆ ซึ่งมีลกั ษณะ คล้ายกับอาการปวดข้อเข่าจากข้อเข่าเส่ือม หรือ ข้ออักเสปรูมาตอยด์ มีผลต่อ sexual activity โดยผ้ปู ่ วยเพศชายจะมีความรู้สกึ ทางเพศลดลง erectile dysfunction และ premature ejaculation สว่ นในเพศหญิง นอกเหนือจากความรู้สกึ ทางเพศลดลง ยงั มี ความลาบากในระหวา่ งมีกิจกรรมทางเพศ เชน่ การงอเขา่ ทาให้มีอาการปวดเขา่ สรุป ภาวะเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวบ้ าดเจ็บมกั จะไม่มีผลต่อความสมั พนั ธ์กบั คนรกั / คนใกลช้ ิด ยกเวน้ ในกรณีทีม่ ีอาการปวดเข่า หรือภาวะอกั เสบร่วมดว้ ย

วิถีชีวิตกบั โรค | 73 การส่ือสาร ยงั ไมม่ ีการศกึ ษาที่รายงานผลของโรคท่ีมีตอ่ การส่ือสาร อยา่ งไรก็ดีการส่ือสารโดย การน่ังกับพืน้ เช่น การสนทนาธรรมกับพระสงฆ์ การทาละหมาด เป็นต้น อาจมีส่วน เก่ียวข้องกบั โรคข้อเข่าเสื่อมในระยะยาวและอาจมีผลต่อการเกิดเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า ฉีกขาดในผ้สู งู อายุ เน่ืองจากข้อเข่าเส่ือมทาให้ข้อเข่าไม่มน่ั คง เกิดการดึงรัง้ เส้นเอ็นแกน เข่าไขว้หน้าให้ฉีกขาดในเวลาตอ่ มาได้ ดงั นนั้ อาจพออนมุ านได้ว่าการส่ือสารท่ีจาเป็นต้อง นง่ั กับพืน้ เป็นระยะเวลานานๆ มีความเก่ียวข้องทางอ้อมกบั การเกิดเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้ หน้าฉีกขาดในผ้สู งู อายไุ ด้ การทางาน การใช้งานข้อเขา่ พบวา่ มีการศกึ ษาในรูปแบบ systematic review 33 ได้รวบรวม การศึกษาของผลกระทบ ของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด กับการใช้งานของข้อเข่า พบวา่ ในผ้ปู ่วยท่ีมีเส้นเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าขาด จะมกี ารทางานของเขา่ คอ่ นข้างดี โดยมีคา่ Lysholm Score เฉล่ียเท่ากบั 87 ใน 100 ในการตดิ ตามการรักษาโดยวิธีการทากายภาพ เป็นเวลา 12 ถึง 66 เดือน การประเมินการใช้งานโดยการตรวจ single hop test หรือ กระโดดขาเดียวมีคา่ ใกล้เคียงกบั คา่ ปกติ แตค่ า่ Tegner activity level ลดลงถึงร้อยละ 21 ท่ีเกิดจากการรักษาโดยการทากายภาพมีความจาเป็นต้องลดกิจกรรมทางการกีฬาลง การทางาน ในช่วงแรกของการบาดเจ็บ ผู้ป่ วยอาจจะต้องหยุดงาน ซึ่งใน ตา่ งประเทศสามารถเรียกร้องเงินทดแทนจากการหยดุ งาน ท่ีเกิดจากการบาดเจ็บ ซงึ่ จาก การศึกษาของ Cavisi และคณะ32, 32 พบว่าผู้ป่ วยมีการการลดลงของการใช้งานข้อเข่า และการลดลงของการทางานข้อเข่าสง่ ผลกระทบตอ่ หน้าท่ีตา่ งๆ รวมถงึ อาการปวด ในกรณีที่ผ้ปู ่วยเป็นนกั กีฬาอาชีพ การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้า จะทา ให้ผ้ปู ่วยไมส่ ามารถเลน่ กีฬาได้เต็มท่ี และอาจจะเกิดการบาดเจ็บของโครงสร้างข้อเขา่ อื่นๆ

74 | วถิ ีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด ตามมาได้ ในกรณีท่ีผ้ปู ่ วยได้รับการผ่าตดั รักษาภาวะนี ้ผู้ป่ วยมีความจาเป็นต้องหยดุ การ เล่นกีฬาอย่างน้อย 6 เดือน เพ่ือฟื น้ ฟูกล้ามเนือ้ รอบเข่า การรับรู้ข้อเข่า และการควบคุม กล้ามเนือ้ ข้อเข่าโดยระบบประสาท ให้กลบั มาใกล้เคยี งกบั ปกติ เพื่อลดอตั ราการบาดเจ็บ ซา้ ในระหวา่ งการเลน่ กีฬา สรุป การบาดเจ็บของเสน้ เอ็นแกนเข่าไขวห้ นา้ ทาใหค้ วามสามารถทางกาย หรือ ในการใชข้ ้อเข่าลดลง ซ่ึงมีผลต่อการทางาน โดยเฉพาะนกั กีฬา หรืออาชีพมีความจาเป็น ในการใชข้ อ้ เข่า การเรียนรู้ เม่ือเกิดภาวะการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า การบาดเจ็บดงั กล่าวอาจ เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ท่ีต้องอาศยั การเคล่ือนไหวหรือออกกาลงั กายของข้อเข่า เช่น วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา เวชศาสตร์การกีฬา นาฏศิลป์ ประเภทการฟ้อนราและโขน นกั ศกึ ษาหรือนกั ศกึ ษาวิชาทหาร การฝึกอบรมทางการแพทย์หรือวิชาชีพที่ต้องอาศยั การ เดนิ เป็นต้น หลงั จากการรักษาผ้ทู ่ีมีภาวะนีจ้ าเป็นต้องหยดุ การเรียนรู้ดงั กลา่ ว32, 32 ทาการ ฟื น้ ฟูสภาพกล้ามเนือ้ และการรับรู้รอบข้อเข่าให้กลบั มาเป็นปกติซ่ึงใช้เวลาประมาณ 6 เดือน ทงั้ นีเ้พ่ือให้สามารถกลบั มาเรียนรู้ได้ตามที่มงุ่ หวงั ไว้ สรุป ภาวะการบาดเจ็บของเสน้ เอ็นแกนเข่าไขว้หน้ามีผลกระทบต่อการเรียนรู้ที่ ตอ้ งอาศยั การเคลื่อนไหวของขอ้ เข่า ซึ่งตอ้ งการการพกั ฟื้นและฟื้นฟสู ภาพก่อนกลบั มาใช้ งานไดต้ ามปกติ

วิถีชีวิตกบั โรค | 75 บทวิเคราะห์ วิถีชีวิตตา่ งๆ ที่มีผลตอ่ ภาวะบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า โดยสรุปได้แก่ ปัจจยั ในด้านการพกั ผ่อนหย่อนใจ เรียนรู้ และการทางาน (รูปที่ 6) โดยการอย่ทู ี่มีผลต่อ การเกิดการบาดเจ็บได้แก่การเลน่ กีฬา โดยเฉพาะอย่างย่ิงกีฬาปะทะ สว่ นผลของการเลน่ กีฬาในขณะที่มีเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บจะทาให้โครงสร้างอื่นๆ ของข้อเข่าบาดเจ็บ ตามมาได้ สว่ นการทางานนอกเหนือจากนกั กีฬาอาชีพแล้ว ในหลายอาชีพท่ีมีการทางาน ในลกั ษณะท่ีมีการเดินหรือวิ่ง ร่วมกบั ถือของอาจจะมีความเส่ียงในการเกิดการบาดเจ็บ ของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าได้ ปัจจัยด้านการเรียนรู้ การเรียนรู้หรือฝึกการควบคุม กล้ามเนือ้ ในระหว่างการเล่นกีฬา พบว่า สามารถลดโอกาสท่ีทาให้เกิดการบาดเจ็บของ เส้นเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าได้ ปัจจยั ท่ีไม่มีผลโดยตรง แต่อาจจะส่งผลกระทบทางอ้อมได้แก่ การกิน ในคนที่มี ดชั นีมวลกายสงู จะเพ่ิมความเส่ียงตอ่ การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า ในขณะที่ การมีสมั พนั ธ์กบั คนรัก/คนใกล้ชิดท่ีมีการใช้ยาคมุ กาเนิดในนกั กีฬาเพศหญิง อาจจะช่วย ลดโอกาสบาดเจ็บตอ่ เอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าได้ ส่วนปัจจัยด้านการนอนหลับ และการสื่อสาร ไม่พบความเกี่ยวเนื่องกับการ บาดเจ็บของเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้า ผลของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าที่มีตอ่ วิถีชีวิต มกั ไม่กระทบวิถีชีวิตมากนกั ทงั้ ในด้าน การอปุ โภค/บริโภค การนอนหลบั การมสี มั พนั ธ์กบั คนรัก/คนใกล้ชิด การสอื่ สาร การเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลมุ่ ที่ไม่ได้เลน่ กีฬาเป็นประจา อย่างไรก็ตามภาวะนีจ้ ะทาให้ความ แข็งแรงของข้อเขา่ ลดลง และอาจจะสง่ ผลตอ่ งานที่ทา และคณุ ภาพชีวิตที่เปล่ียนแปลงไป และอาจจะสง่ ผลตอ่ การบาดเจ็บของโครงสร้างอื่นๆ ภายในเขา่ ทาให้มีอาการปวดมากขนึ ้ ได้ รวมไปถึงภาวะเสอื่ มสภาพของข้อเข่า

76 | วถิ ีชีวติ กบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด รูปท่ี 6 วถิ ีชีวติ กบั เส้นเอ็นแกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด ข้อเสนอแนะ ในปัจจบุ นั การบาดเจ็บของเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าพบได้บอ่ ยมากขนึ ้ ซงึ่ มีผลกระทบ ตอ่ การทางาน และการใช้ชีวติ ประจาวนั ในบางครัง้ จะสง่ ผลเสียในระยะยาวได้ ถ้าไมไ่ ด้รับ การรักษาอยา่ งถกู ต้อง ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า นอกเหนือจากวิถีชีวิตท่ี ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยงั สามารถเกิดจากปัจจยั ภายในตวั นกั กีฬาเอง เช่น ลกั ษณะของ ปลายกระดกู ต้นขา กระดกู หน้าแข้ง ภาวะเอ็นหลวม และความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ ใน สว่ นตา่ งๆ เช่น กล้ามเนือ้ ต้นขา สะโพก และลาตวั

วิถีชีวิตกบั โรค | 77 การปอ้ งกนั เพื่อจะลดการบาดเจ็บของเส้นเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าจากวถิ ีชีวิต 1. ลดปัจจยั เสีย่ ง a. ควบคมุ นา้ หนกั b. การฝึกการควบคมุ กล้ามเนือ้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในกลมุ่ นกั กีฬาที่มีความ เสีย่ ง c. ให้ความรู้เก่ียวกบั การใช้สนามหญ้าเทียม d. สง่ เสริมการใช้สนามหญ้าธรรมชาติ แทนการใช้สนามหญ้าเทียม 2. ในนกั กีฬาที่มีการบาดเจ็บของเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้า ควรได้รับการรักษาอย่าง ถกู ต้อง สว่ นในประชากรทวั่ ไป ควรมีความเข้าใจในตวั โรค และนามาตดั สินใจใน การเลอื กวธิ ีรักษา ที่เหมาะสมกบั การใช้ชีวติ 3. ทาศกึ ษาเพิ่มเติมเกี่ยวกบั ผลกระทบของภาวะเส้นเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าบาดเจ็บที่ มีต่อวิถีชีวิตของคนไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิง กิจกรรมเฉพาะที่มีในคนไทย เช่น กิจกรรมท่ีพนื ้ การเข้าวดั ประเภทกีฬาของคนไทย ตะกร้อ บทสรุป ถึงแม้วิถีชีวิตด้านต่างๆ มีผลต่อภาวะบาดเจ็บของเอ็นแกนเข่าไขว้หน้าท่ีไม่มากนกั แต่มีหลายปัจจยั ท่ีสามารถนาไปปรับปรุง และแก้ไข เพื่อลดโอกาสการบาดเจ็บของเส้น เอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้า ซงึ่ ตอ่ ไปเป็นปัญหาสขุ ภาพท่ีสาคญั ของคนไทย การรวบรวมข้อมลู ยงั มีข้อจากัดในหลายด้าน เช่น การศึกษาทาให้ต่างประเทศ วฒั นธรรม หรือวิถีชีวิต อาจจะมีความแตกตา่ งในบางแง่มมุ ท่ีจะนามาประยกุ ต์ใช้ในคนไทย

78 | วถิ ีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด เอกสารอ้างองิ 1. Mei Y, Ao YF, Wang JQ, Ma Y, Zhang X, Wang JN, et al. Clinical characteristics of 4355 patients with anterior cruciate ligament injury. Chin Med J (Engl) 2013;126:4487-92. 2. Neuman P, Englund M, Kostogiannis I, Friden T, Roos H, Dahlberg LE. Prevalence of tibiofemoral osteoarthritis 15 years after nonoperative treatment of anterior cruciate ligament injury: a prospective cohort study. Am J Sports Med 2008;36:1717-25. 3. Hewett TE, Myer GD, Ford KR. Anterior cruciate ligament injuries in female athletes: Part 1, mechanisms and risk factors. Am J Sports Med 2006;34:299-311. 4. Uhorchak JM, Scoville CR, Williams GN, Arciero RA, St Pierre P, Taylor DC. Risk factors associated with noncontact injury of the anterior cruciate ligament: a prospective four-year evaluation of 859 West Point cadets. Am J Sports Med 2003;31:831-42. 5. Joseph AM, Collins CL, Henke NM, Yard EE, Fields SK, Comstock RD. A multisport epidemiologic comparison of anterior cruciate ligament injuries in high school athletics. J Athl Train 2013;48:810-7. 6. Mountcastle SB, Posner M, Kragh JF, Jr., Taylor DC. Gender differences in anterior cruciate ligament injury vary with activity: epidemiology of anterior cruciate ligament injuries in a young, athletic population. Am J Sports Med 2007;35:1635-42.

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 79 7. Orchard J. The AFL penetrometer study: work in progress. J Sci Med Sport 2001;4:220-32. 8. Orchard JW, Powell JW. Risk of knee and ankle sprains under various weather conditions in American football. Med Sci Sports Exerc 2003;35:1118-23. 9. Orchard J, Seward H, McGivern J, Hood S. Rainfall, evaporation and the risk of non-contact anterior cruciate ligament injury in the Australian Football League. Med J Aust 1999;170:304-6. 10. Orchard J, Seward H, McGivern J, Hood S. Intrinsic and extrinsic risk factors for anterior cruciate ligament injury in Australian footballers. Am J Sports Med 2001;29:196-200. 11. Scranton PE, Jr., Whitesel JP, Powell JW, Dormer SG, Heidt RS, Jr., Losse G, et al. A review of selected noncontact anterior cruciate ligament injuries in the National Football League. Foot Ankle Int 1997;18:772-6. 12. Orchard JW, Chivers I, Aldous D, Bennell K, Seward H. Rye grass is associated with fewer non-contact anterior cruciate ligament injuries than bermuda grass. Br J Sports Med 2005;39:704-9. 13. Drakos MC, Hillstrom H, Voos JE, Miller AN, Kraszewski AP, Wickiewicz TL, et al. The effect of the shoe-surface interface in the development of anterior cruciate ligament strain. J Biomech Eng 2010;132:011003.

80 | วถิ ีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเขา่ ไขว้หน้าฉีกขาด 14. Powell JW, Schootman M. A multivariate risk analysis of selected playing surfaces in the National Football League: 1980 to 1989. An epidemiologic study of knee injuries. Am J Sports Med 1992;20:686-94. 15. Dragoo JL, Braun HJ, Harris AH. The effect of playing surface on the incidence of ACL injuries in National Collegiate Athletic Association American Football. Knee 2013;20:191-5. 16. Dragoo JL, Braun HJ, Durham JL, Chen MR, Harris AH. Incidence and risk factors for injuries to the anterior cruciate ligament in National Collegiate Athletic Association football: data from the 2004-2005 through 2008-2009 National Collegiate Athletic Association Injury Surveillance System. Am J Sports Med 2012;40:990-5. 17. Williams S, Hume PA, Kara S. A review of football injuries on third and fourth generation artificial turfs compared with natural turf. Sports Med 2011;41:903-23. 18. Bradley JP, Klimkiewicz JJ, Rytel MJ, Powell JW. Anterior cruciate ligament injuries in the National Football League: epidemiology and current treatment trends among team physicians. Arthroscopy 2002;18:502-9. 19. Meyers MC, Barnhill BS. Incidence, causes, and severity of high school football injuries on FieldTurf versus natural grass: a 5-year prospective study. Am J Sports Med 2004;32:1626-38.

วิถีชีวิตกบั โรค | 81 20. Fuller CW, Dick RW, Corlette J, Schmalz R. Comparison of the incidence, nature and cause of injuries sustained on grass and new generation artificial turf by male and female football players. Part 1: match injuries. Br J Sports Med 2007;41 Suppl 1:i20-6. 21. Lambson RB, Barnhill BS, Higgins RW. Football cleat design and its effect on anterior cruciate ligament injuries. A three-year prospective study. Am J Sports Med 1996;24:155-9. 22. Taylor SA, Fabricant PD, Khair MM, Haleem AM, Drakos MC. A review of synthetic playing surfaces, the shoe-surface interface, and lower extremity injuries in athletes. Phys Sportsmed 2012;40:66-72. 23. Hewett TE. Neuromuscular and hormonal factors associated with knee injuries in female athletes. Strategies for intervention. Sports Med 2000;29:313-27. 24. Papadonikolakis A, Cooper L, Stergiou N, Georgoulis AD, Soucacos PN. Compensatory mechanisms in anterior cruciate ligament deficiency. Knee Surg Sports Traumatol Arthrosc 2003;11:235-43. 25. Knoll Z, Kiss RM, Kocsis L. Gait adaptation in ACL deficient patients before and after anterior cruciate ligament reconstruction surgery. J Electromyogr Kinesiol 2004;14:287-94.

82 | วถิ ีชีวิตกบั ภาวะเอน็ แกนเข่าไขว้หน้าฉีกขาด 26. Ageberg E, Friden T. Normalized motor function but impaired sensory function after unilateral non-reconstructed ACL injury: patients compared with uninjured controls. Knee Surg Sports Traumatol Arthrosc 2008;16:449- 56. 27. Carter ND, Jenkinson TR, Wilson D, Jones DW, Torode AS. Joint position sense and rehabilitation in the anterior cruciate ligament deficient knee. Br J Sports Med 1997;31:209-12. 28. Calvisi V, Lupparelli S, De Vincentiis B, Zanoli G. Comorbidity-related quality of life in anterior cruciate ligament insufficiency: a cross-sectional study involving 282 candidates for arthroscopic reconstruction. Acta Orthop 2008;79:519-25. 29. Calvisi V, De Vincentiis B, Palumbo P, Padua R, Lupparelli S. Health-related quality of life in patients with anterior cruciate ligament insufficiency undergoing arthroscopic reconstruction: a practice-based Italian normative group in comorbid-free patients. J Orthop Traumatol 2008;9:233-8. 30. Ardern CL, Webster KE, Taylor NF, Feller JA. Return to sport following anterior cruciate ligament reconstruction surgery: a systematic review and meta-analysis of the state of play. Br J Sports Med 2011;45:596-606. 31. Flanigan DC, Everhart JS, Pedroza A, Smith T, Kaeding CC. Fear of reinjury (kinesiophobia) and persistent knee symptoms are common factors for lack of return to sport after anterior cruciate ligament reconstruction. Arthroscopy 2013;29:1322-9.

วิถีชีวิตกบั โรค | 83 32. Kostogiannis I, Ageberg E, Neuman P, Dahlberg L, Friden T, Roos H. Activity level and subjective knee function 15 years after anterior cruciate ligament injury: a prospective, longitudinal study of nonreconstructed patients. Am J Sports Med 2007;35:1135-43. 33. Muaidi QI, Nicholson LL, Refshauge KM, Herbert RD, Maher CG. Prognosis of conservatively managed anterior cruciate ligament injury: a systematic review. Sports Med 3332;22:232-16.



วถิ ีชีวติ กบั โรค | 85 วถิ ชี ีวติ กับภาวะบาดเจบ็ เรือ้ รังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบัก ผศ.นพ.ชศู กั ดิ์ กิจคณุ าเสถียร

86 | วถิ ีชีวติ กบั ภาวะบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั วถิ ชี วี ติ กับภาวะบาดเจบ็ เรือ้ รังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบัก (Rotator cuff syndrome) ผศ.นพ.ชศู กั ด์ิ กิจคณุ าเสถียร บทนา เส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั เป็นกล่มุ ของกล้ามเนือ้ ที่มีเส้นเอ็นเกาะ และครอบคลมุ หวั กระดกู ต้นแขน (humeral head) ประกอบด้วยกล้ามเนือ้ ทงั้ หมด 4 มดั (รูปที่ 1) ได้แก่ 1. Supraspinatus 2. Infraspinatus 3. Subscapularis 4. Teres minor รูปท่ี 1 ภาพแสดงเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั ภาพนามาจากเว็บไซต์ http://www.nottinghamshoulders.com/Assets/Images/patient/procedures/impingment1.jpg

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 87 กล้ามเนือ้ กลมุ่ นีท้ าหน้าที่ควบคมุ ให้หวั กระดกู ต้นแขนอย่กู ่ึงกลางของเบ้าข้อไหล่ (joint stability) และความคมุ ทิศทางในการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ เคล่ือนไหวในแนวของการหมนุ ภาวะบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั (Rotator cuff syndrome) เป็น ภาวะที่ทาให้มีอาการปวดหัวไหล่เรือ้ รัง ท่ีพบได้บ่อย มักพบได้มากในผู้สูงอายุ โดยจะ เกิดขนึ ้ ได้มากขนึ ้ ตามอายทุ ี่มากขนึ ้ และสมั พนั ธ์การใช้งานข้อไหล่ โดยเฉพาะกิจกรรมท่ีมี การเคล่อื นไหวแขนท่ีสงู เหนือศรี ษะ (overhead activity) ในปัจจบุ นั สงั คมไทยเข้าสสู่ งั คมผ้สู ูงอายุ โดยมีสดั ส่วนของผ้สู งู อายทุ ่ีมากขึน้ ทา ให้ภาวะบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั พบได้บ่อย และรุนแรงมากขึน้ ทาให้ ต้องสญู เสยี ทรัพยากรในการดแู ลรักษาท่ีมากขนึ ้ การบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้ กระดูกสะบักจะมีหลากหลายความรุนแรง ขึน้ อย่กู บั พยาธิสภาพของเส้นเอ็น โดยมกั จะแบ่งออกเป็นกล่มุ เรียงตามความรุนแรงของ โรค ได้แก่ 1. Impingement syndrome เป็นภาวะที่มีการบาดเจ็บของเส้นเอ็นใน กระดกู สะบกั โดยไม่มีการฉีกขาดของเส้นเอ็น แต่อาจจะมีการอกั เสบ ของเนือ้ เย่ืออ่อนท่ีคลมุ เส้นเอน็ (bursa) 2. Partial thickness rotator cuff tear การบาดเจ็บของเส้นเอ็นใต้สะบกั ท่ีมี การฉีกขาดบางสว่ นของความหนาเส้นเอ็น สว่ นใหญ่มกั จะเกิดบริเวณจดุ เกาะเส้นเอ็นบนหวั กระดกู ต้นแขน 3. Full thickness rotator cuff tear การบาดเจ็บของเส้นเอ็น มีการฉีกขาด ของเส้นเอ็นตลอดความหนาของเส้นเอ็น

88 | วิถีชีวิตกบั ภาวะบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั 4. Rotator cuff arthropathy การฉีกขาดของเส้นเอ็นทาให้ไหลเ่ กิดภาวะ เสื่อมสภาพตามมา ซง่ึ มลี กั ษณะท่ีแตกตา่ งกบั การเสอื่ มสภาพของข้อไหล่ (primary osteoarthritis) อาการและอาการแสดง ภาวะบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดูกสะบัก ผู้ป่ วยจะมาตรวจรักษาด้วย อาการปวดข้อไหลเ่ รือ้ รัง โดยอาการปวดข้อไหลจ่ ะมีลกั ษณะปวดที่มากขนึ ้ เร่ือยๆ อย่างช้า (progressive pain) อย่างช้าๆ มีอาการปวดเวลานอนกลางคืน (night pain) อาจจะ อาการปวดร้าวลงบริเวณแขนด้านนอก อาการปวดจะรุนแรงขนึ ้ ในกิจกรรม ท่ีมีการยกแขน เหนือศีรษะ (overhead activity) หรือบิดหมนุ ในบางครัง้ อาจจะมีการลดลงของพิสยั การ เคลื่อนไหว กล้ามเนือ้ อ่อนแรง หรือ มีกล้ามเนือ้ บริเวณข้อไหล่ลีบเล็กลง โดยเฉพาะใน กรณีที่มีการฉีกขาดของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั สาเหตุ และปัจจยั เส่ียง ภาวะนีส้ ามารถเกิดได้จากหลายปัจจยั สามารถแบ่งออกเป็นปัจจยั ภายนอกและ ภายใน โดยปัจจยั ภายในได้แก่ ลกั ษณะของเส้นเลือดท่ีมาเส้นเส้นเอ็นบริเวณจุดเกาะที่มี ปริมาณน้อยกวา่ ตาแหนง่ อื่น การเสื่อมสภาพของเส้นเอ็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณท่ีจดุ เกาะของเส้นเอ็นบนหวั กระดกู ต้นแขน หรือ มีการอ่อนกาลงั ลงของกล้ามเนือ้ ไม่สามารถ ควบคมุ ให้หวั กระดกู อย่กู ึ่งกลางเบ้าข้อไหล่ได้ ทาให้มีการเคลื่อนท่ีของหวั กระดกู ต้นแขน ขึน้ ไปด้านบน เสียดสีกับโครงสร้ างด้านบน ขณะมีการเคลื่อนไหวข้อไหล่ ส่วนปัจจัย ภายนอก ได้แก่ ภาวะกระดกู งอก โดยเฉพาะบริเวณขอบด้านหน้าของกระดกู acromion และ การหนาตวั เส้นเอ็น coracoacromial ligament หรือมีกระดกู งอกภายในเส้นเอ็น ทงั้ สองปัจจยั สง่ ผลให้เกิดการบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั โดยการเคลื่อนไหว ของข้อไหล่ จะทาให้เกิดการเสียดสี กดทบั ของโครงสร้างที่อย่ดู ้านบนเส้นเอ็น เช่น ขอบ

วิถีชีวติ กบั โรค | 89 หน้าของกระดกู สะบกั การกดทบั และเสียดสีบนเส้นเอ็น ทาให้เกิดการอกั เสบของเนือ้ เยือ้ ออ่ นใต้กระดกู สะบกั (bursa) เส้นเอ็น และถ้ามีการบาดเจ็บซา้ เป็นระยะเวลานาน อาจทา ให้เส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั มกี ารฉีกขาดบางสว่ น หรือทงั้ หมด ตลอดความหนาของเส้นเอ็น ภาวะการบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั โดยปกติจะมีอาการเป็นๆ หายๆได้ ขึน้ อยู่กับการใช้งานข้อไหล่ และพยาธิสภาพในตวั เส้นเอ็น ปัจจยั เส่ียงท่ีทาให้ ผ้ปู ่วยมอี าการปวด และโรคดาเนินมากขนึ ้ ได้แก่ 1. ผ้ปู ่วยท่ีมีอายมุ ากกวา่ 60 ปี 2. พยาธิสภาพที่เส้นเอ็นมีการฉีกขาดตลอดความหนาของเส้นเอ็น (full thickness rotator cuff tear) 3. ขนาดของเส้นเอน็ ท่ีฉีกขาดที่มีขนาดใหญ่ 4. ผ้ปู ่วยท่ีมีกระดกู งอก หรือมีลกั ษณะของกระดกู acromion ที่โค้งลงกดลง บนเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั การรักษา การรักษาภาวะการบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั ต้องคานงึ ถึงความ รุนแรงของโรค โดยสว่ นใหญ่สามารถเร่ิมการรักษาจากวิธีอนรุ ักษ์ได้ ยกเว้น ในกรณีท่ีมี การฉีกขาดของ เส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั ชนิดตลอดความหนาของเส้นเอ็น เน่ืองจาก การ ผ่าตดั รักษาล่าช้า จะสง่ ผลให้การฉีกขาดมีขนาดที่ใหญ่ขนึ ้ และมีการเปลี่ยนแปลงในเส้น เอน็ และกล้ามเนือ้ โดยมีไขมนั มาแทรกแทนท่ีเซลเส้นเอ็นและกล้ามเนือ้ ทาให้ผลการรักษา โดยการผ่าตดั และการทางานของข้อไหล่แย่ลง ภาวะแทรกซ้อนหลงั การรักษาโดยการ ผา่ ตดั สงู ขนึ ้

90 | วถิ ีชีวติ กบั ภาวะบาดเจบ็ เรือ้ รังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั การรักษาโดยวธิ ีอนุรักษ์ เน่ืองจากในกลมุ่ ผ้ปู ่ วยท่ีมีภาวะนี ้จะมีการตงึ และหดรัดตวั ของโครงสร้างข้อไหล่ ทางด้านหลงั ทาให้มีการเคลอื่ นไหวของหวั กระดกู ต้นแขนท่ีผิดปกติ และมกั จะเคล่ือนท่ีไป ด้านบน ทาให้มีการเสียดสีของหัวกระดกู กบั โครงสร้างด้านบน ดงั นนั้ การรักษาสามารถ ทาได้โดย โดยมีหลกั การ 1. ควบคมุ อาการปวด และลดการบาดเจ็บของเส้นเอน็ a. ลดกิจกรรมที่กระต้นุ ให้เกิดอาการปวด เช่น กิจกรรมท่ีมีการยก แขนขนึ ้ เหนือศรี ษะ ลกั ษณะท่านอนที่มีการยกแขนขนึ ้ ด้านบน b. ควบคมุ อาการปวดโดยการใช้ยา ในกล่มุ ยาแก้ปวด และยาต้าน การอกั เสบ 2. ทาให้การเคลอื่ นไหวของข้อไหลก่ ลบั มาเป็นปกติ โดยสว่ นใหญ่ของผ้ปู ่วย ที่มีภาวะเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั อกั เสบมกั จะมีการตึงตวั ของเยือ้ ห้มุ ข้อ ทางด้านหลงั ดงั นนั้ ผู้ป่ วยจึงควรทาการยืดโครงสร้างของข้อไหล่ในทุก ทศิ ทาง ให้การเคลอื่ นท่ีของข้อไหลก่ ลบั มาเป็นปกติ 3. ฝึกกล้ามเนือ้ ของเส้นเอน็ ใต้สะบกั ให้แขง็ แรง เน่ืองจากกล้ามเนือ้ ในกลมุ่ นี ้ มีหน้าที่ควบคุมให้หัวกระดูกต้นแขนอยู่ในกึ่งกลางเบ้า ถ้ากล้ามเนือ้ ท่ี แข็งแรงจะสามารถควบคมุ ความผิดปกตขิ องการเคลื่อนท่ี ของหวั กระดกู ต้นแขน และลดโอกาสท่ีเส้นเอ็นใต้สะบกั จะได้รับบาดเจ็บจากการถูก เสยี ดสี หรือกดทบั จากโครงสร้างด้านบน การรักษาโดยการผ่าตดั การผา่ ตดั ในผ้ปู ่วยที่มีภาวะเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั บาดเจ็บ เนื่องจากในบาง กรณีถ้าไมไ่ ด้รับการผา่ ตดั อาจจะทาให้การบาดเจ็บมากขนึ ้ และสง่ ผลกระทบทาให้เกิด ภาวะเส่อื มสภาพของข้อไหลต่ ามมา ข้อบง่ ชีใ้ นการผา่ ตดั ได้แก่

วถิ ีชีวติ กบั โรค | 91 1. ภาวะการฉีกขาดของเส้นเอ็นตลอดความหนา (full thickness rotator cuff tear) 2. ภาวะการฉีกขาดบางสว่ นของความหนาเส้นเอน็ (partial thickness rotator cuff tear) ท่ีมีขนาดมากกวา่ คร่ึงหนงึ่ ของจดุ เกาะเส้นเอน็ 3. ไมต่ อบสนองตอ่ การรักษาโดยวิธีอนรุ ักษ์ อย่างน้อย 3 ถึง 6 เดือน ในบทความนี ้ได้รวบรวมผลกระทบตา่ งๆ จากวิถีชีวิต 7 มิติที่มีผลตอ่ โรค ได้แก่ การ อปุ โภค/บริโภค การอยู่อาศยั การนอนหลบั /พกั ผ่อนหย่อนใจ การมีสมั พนั ธ์กบั คนรัก/คน ใกล้ชิด (sexual activity) การสอ่ื สาร การทางาน และการเรียนรู้ และผลการทบของโรคที่มี ตอ่ วิถีชีวิตทงั้ 7 ด้าน เพื่อเป็นความรู้ เพ่ือให้เข้าใจภาวะของโรคในแง่มมุ ตา่ งๆได้ ทกุ ด้าน และนาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ เช่น การป้องกนั การพยากรณ์ผลกระทบ ของโรค วิถีชีวิตท่มี ีผลต่อการเกิดภาวะการบาดเจบ็ เร่ืองรังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั การอุปโภค/บริโภค เนื่องการภาวะการบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั สามารถเกิดจาก การใช้งานข้อไหลใ่ นบางกิจกรรม เส้นเอน็ ใต้สะบกั มีการเสียดสกี บั กระดกู ด้านบน ทาให้ เส้นเอ็นมีการเปลยี่ นแปลงในลกั ษณะตา่ งๆ ซงึ่ พบวา่ ในกลมุ่ ผ้ปู ่วยท่ีมกี ารบาดเจ็บเรือ้ รัง ของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั จะมีระดบั ของสารอกั เสบตา่ งๆ (cytokines) หลายชนดิ เพ่ิม สงู ขนึ ้ ในเนือ้ เยอื ้ อ่อนเหนือเส้นเอ็น (bursa) สารเหลา่ นีม้ ีผลทาให้เกิดอาการปวด อกั เสบ และทาให้เส้นเอ็นเสือ่ มสภาพ สารอาหารที่มีสาร polyunstaturated fatty acid (PUFAs) เช่น Omega3 ท่ีพบ มากในปลาทะเลนา้ ลึกมีฤทธิ์ช่วยลดการทางานของสารอกั เสบประเภท free radical oxidants นา่ จะช่วยลดการเกิดการอกั เสบ การเส่ือมสภาพของเส้นเอน็ ใต้สะบกั ท่ีได้รับการ บาดเจ็บ อย่างไรก็ตามจากการศกึ ษารอบรวมข้อมลู ของ Lewis และคณะ1 ศกึ ษาการใช้

92 | วิถีชีวติ กบั ภาวะบาดเจบ็ เรือ้ รังของเส้นเอน็ ใต้กระดกู สะบกั สาร PUFS ในภาวะการเสื่อมสภาพของเส้นเอ็น (tendinopathy) พบว่าสาร PUFAs มี ประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการปวดของภาวะ tendinopathy ได้ แต่ไม่พบว่า สารอาหารใดสามารถลดอาการ หรืออบุ ตั ิการณ์การเกิดการบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้นเอ็นใต้ กระดกู สะบกั ได้ การทานอาหารบางประเภทที่มีปริมาณคอเรสเตอรอล (cholesterol) สงู ทาให้มี ภาวะไขมนั ในเลอื ดสงู (hypercholesterolemia) อาจจะมผี ลตอ่ การบาดเจ็บเรือ้ รังของเส้น เอ็นใต้กระดกู สะบกั การศกึ ษาในหนูทดลองพบว่าภาวะไขมนั ในเลือดสงู (hypercholesterolemia) จะทาให้ความยืดหยนุ่ ของเส้นเอ็นลดลง มีผลตอ่ การเกิดการบาดเจ็บ และฉีกขาดของเส้น เอ็นได้ง่าย และมากขนึ ้ จากการศกึ ษาของ Abboud และคณะ2 เปรียบเทียบผ้ปู ่ วยที่มี ภาวะเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั ฉีกขาดจากการเสื่อมสภาพ (degenerative rotator cuff tear) พบว่ากลมุ่ ผ้ปู ่ วยมีระดบั ไขมนั ในเลือดสงู กวา่ ในกล่มุ ควบคมุ ซง่ึ เช่ือวา่ ระดบั ไขมนั ในเลือดสงู จะเป็นปัจจยั เสริมให้เกิดการฉีกขาดของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั อย่างไรก็ดีใน การศึกษาของ Longo และคณะ3 ไม่พบความสัมพนั ธ์ระหว่างระดบั คอเลสเตอรอลและ ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ในเลือดกับการฉีกของของเส้นเอ็นใต้กระดูกสะบกั ที่มี นยั สาคญั ทางสถิติ จากการศึกษาในสตั ว์ทดลอง4 พบว่าหนูทดลองท่ีมีระดบั วิตามินดีในเลือดต่า มี การเชื่อมหรือสมานของเส้นเอ็นใต้กระดูกสะบกั ที่ระยะเวลา 2 สปั ดาห์ด้อยกว่าหนูที่มี ระดบั วิตามินดีปกติ ทาให้มีสมมตุ ิฐานว่า ในคนที่มีระดบั วิตามินในเลือดต่า จะทาให้การ ซอ่ มแซม หรือการสมานของเส้นเอ็นใต้กระดกู สะบกั ลดลง ทาให้มีการฉีกขาดของเส้นเอ็น ใต้กระดกู สะบกั ได้มากขนึ ้ แต่อย่างไรก็ตามยงั ไมม่ ีการศกึ ษาในกล่มุ ตวั อย่างท่ีเป็นมนษุ ย์ หรือพิสจู น์ข้อสมมตุ ิฐานนี ้ ลกั ษณะรูปร่างอ้วนลงพงุ โดยดจู ากเส้นรอบเอว (waist circumference) และ อตั ราส่วนระหว่างเส้นรอบเอวกบั เส้นรอบสะโพก (waist-hip ratio) พบว่าเพ่ิมความเสี่ยง