192 ภาพที่ 110 ซบุ เน้อื ใสแตง ภูมิปญั ญาท้องถิ่นจงั หวัดอดุ รธานี
193 18. ชื่ออาหาร ตาเมยี่ งข่ากับตะไคร้ ช่ือผใู้ ห้ข้อมูล นางเรไร สุขสบาย อายุ 40 ปี ทอ่ี ยู่ บ้านเลขท่ี 65 หมู่ 8 ตาบลเชยี งยืน อาเภอเมือง จังหวัดอดุ รธานี สัมภาษณ์วันท่ี 23 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2556 หมายเลขโทรศัพท์ 086-2226354 ประวัติความเป็นมาของอาหาร ในสมัยก่อนในหมู่บ้านนั้นมีข่ากับตะไคร้มากมาย ชาวบ้านจึงหาวิธีท่ีจะนาข่าตะไคร้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ดีกว่าปล่อยให้ข่าและตะไคร้แห้งตายไปเปล่าๆ ชาวบ้านจึงได้ นาข่าและตะไคร้มาทาเป็นตาเมี่ยง ที่ใช้รับประทานเป็นอาหารว่างซ่ึงรับประทานได้ทั้ง ครอบครัว นอกจากจะรับประทานเป็นอาหารว่างแล้วยังมีประโยชน์ต่อร่างกายเพราะข่าและ ตะไครม้ ีสรรพคุณแกอ้ าการท้องอดื แนน่ จกุ เสียด สว่ นผสมท่ีใช้ ๑. ลาข่าแก่ 5. ตะไคร้ ๒. มะขามเปยี ก 6. น้าปลารา้ ๓. น้าปลา 7. ผงชูรส ๔. พรกิ สด อปุ กรณ์ท่ใี ช้ 1. ครก 2. สากกะเบือ ข้นั ตอนการทา ๑. นาข่าและตะไคร้ไปลา้ งในนา้ ใหส้ ะอาด แล้วนาขา่ มาปลอกเอาเปลือกนอกแข็งๆ ออก ๒. นาขา่ และตะไครม้ าห่ันเปน็ ชน้ิ เล็กๆ ๓. หลังจากนั้นใหน้ าขา่ และตะไครท้ หี่ น่ั แลว้ ลงไปโขลกในครกใหล้ ะเอียด ๔. ปรงุ รสตามท่ีต้องการแล้วตกั ใส่จาน ๕. บางครงั้ ผู้ใหญ่อาจจะรบั ประทานกบั ใบอ่อนของขนนุ และขนนุ ลกู เลก็ ๆ หรอื ท่ี ชาวบา้ นเรยี นว่า “หาบักม่ี” ภูมิปญั ญาท้องถิน่ จังหวัดอดุ รธานี
194 ประโยชน์ ตาเม่ียงขา่ กบั ตะไคร้ นอกจากจะรบั ประทานเป็นอาหารวา่ งแลว้ ยงั มปี ระโยชนต์ ่อ รา่ งกายเพราะวา่ ข่ากับตะไคร้เปน็ สมนุ ไพร มสี รรพคุณคือ แก้อาการท้องอืด แน่น จุก เสยี ด ภาพท่ี 111 ตาเมยี่ งข่ากับตะไคร้ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ จงั หวดั อดุ รธานี
195 ภาพท่ี 112 สว่ นผสมตาเมย่ี งขา่ กับตะไคร้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ จังหวดั อดุ รธานี
196 19. ชอ่ื อาหาร ลาบปลาตอง ชื่อผู้ให้ข้อมลู นางละออง เจียงภูเขียว ท่อี ยู่ 25 หมู่ 8 ต.โนนสะอาด อ.หนองเรอื จ.ขอนแกน่ สมั ภาษณ์วันท่ี 24 สิงหาคม 2556 หมายเลขโทรศพั ท์ 083-2838152 ประวัติความเป็นมาของอาหาร ปลาตอง ปลานา้ จดื ชนิดหน่ึง อยู่ในวงศ์ปลากราย มีรูปร่างเหมือนปลาทั่วไปในวงศ์ น้ี แต่มีส่วนหลังและหน้าผากลาดชันน้อยกว่าปลากราย ซึ่งเป็นปลาท่ีอยู่ในสกุลเดียวกัน สี ลาตัวเป็นสีเงินแวววาว ลาตัวด้านท้าย มีลายจุดและขีดจานวนไม่แน่นอนคาดเฉียงค่อนข้าง เป็นระเบียบ วธิ ีการข้นั ตอน 1. นาปลาตองมาตัดหัวลอกหนังออก แล่เอาแตเ่ น้ือสบั เนื้อปลาให้ละเอยี ดส่วนหัวและ หนังกา้ งปลาตองต้มใหส้ ดุ ดว้ ยน้าปลาร้า 2. นาเอาเน้ือปลาตองทสี่ ับละเอยี ดมาตาจนเหนียวแลว้ ค่อยตกั นา้ ทใ่ี ส่ต้มหวั ปลาเตมิ เลก็ นอ้ ย 3. นาเครือ่ งปรุงที่เตรยี มไว้ พริกป่น ขา้ วควั่ ใบมะกรดู หอมห่นั ข่าหนั่ หอมแดง ปรงุ ด้วยนา้ มะนาวนา้ ปลาและนา้ ปลารา้ ตามใจชอบ วสั ดอุ ุปกรณท์ ี่ใช้ 1 .ปลาตองสดๆ 2.พรกิ ปน่ 3.ขา้ วค่วั 4.นา้ ปลารา้ 5.น้ามะนาว 6.นา้ ปลา 7.ขา่ อ่อนห่ัน 8.ต้นหอมหั่น 9.หอมแดงห่นั 10.ใบมะกรดู ห่ัน ภูมิปัญญาท้องถ่ินจงั หวัดอดุ รธานี
197 ภาพที่ 113 ปลาตอง ภาพที่ 114 วธิ ีลอกหนัง ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นจงั หวัดอดุ รธานี
198 ภาพที่ 115 ข้ันตอนการปรงุ ลาบปลาตอง ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ จังหวดั อดุ รธานี
199 ภาพที่ 116 ลาบปลาตองคว่ั ภาพท่ี 117 ลาบปลาตองกับผกั สด ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ จงั หวัดอุดรธานี
200 20. ชือ่ อาหาร แกงอลี อก ชื่อผใู้ ห้ข้อมลู (ผู้สืบทอดภูมปิ ัญญา) คณุ นารี ผาโคตร อายุ 48 ปี ท่อี ยู่ 20 หมู่ท่ี 4 บา้ นถา้ กลองเพล ตาบลโนนทัน อาเภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาภู 39000 หมายเลขโทรศพั ท์ 087-2301291 สมั ภาษณว์ นั ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ประวตั ิความเป็นมาของอาหาร อรี อก ได้ชื่อว่าเป็นผกั ของผูเ้ ฒา่ ผู้แก่ เวลาเห็นอีรอกมดั เปน็ กาวางขายในตลาดหวั เมอื ง คนทีซ่ ื้อมกั เปน็ คนแก่ ถ้าเป็นคนหนมุ่ คนสาวซื้อ คนขายจะถามทนั ทีวา่ เอาไปให้ใครแกง ถ้าแกงเองเขาจะไม่ขาย เพราะรวู้ า่ คนสมยั น้ที าผักอรี อกกนิ กนั ไมเ่ ปน็ คนแกจ่ ึงมักร้องทักกนั ว่า \"ไปแกงอรี อก องี อมกนั หรือสู\" ซง่ึ แนน่ อนร้องทักกนั เฉพาะฤดฝู นเท่านัน้ ผกั อรี อก มเี สน่ห์ ในจานอาหารตรงท่ี เป็นผักที่อ่อนนุ่ม ดูดซับรสชาติอาหารไดด้ เี ยย่ี ม อรี อกเปน็ ไม้ลม้ ลกุ ขา้ ม ปี มเี หง้าอย่ใู ตด้ ิน อีรอก เป็นผักทีใ่ ห้คุณค่าทางอาหาร ฟอสฟอรสั มีมากในผักอกี รอก คือ ความจาเป็นของคนอสี านทจ่ี ะชว่ ยในการสูบฉีดโลหติ ปอ้ งกนั โรคไหลตายได้นั่นเอง เครอ่ื งปรุง - ผักอีลอก - ใบมะขามอ่อน - พรกิ - ปลาร้า - น้าปลา - กะปิ - หัวหอม - กระเทยี ม - นา้ ตาล - นา้ ใบหญา้ นาง - ใบแมงลัก วิธีการขัน้ ตอน 1. ตัดตน้ อีลอกมาแลว้ ให้ลอกเปลอื กออกให้หมด ไม่อยากน้ันจะคัน กลายเปน็ ท่มี า ของชือ่ ว่า อลี อก ซงึ่ ใชก้ นิ ต้น ลอกเปลือกแล้วนาไปล้าง หัน่ เป็นท่อนพอคา เคล็ดลบั นอกจาก ลอกเปลือกให้หมด นาไปต้มขณะนา้ เดือดจดั ใส่มะขามเปียก แลว้ เทนา้ ออก 2. เตรียมใบมะกรดู นา้ ตาล น้าปลา มะขาม ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง พริกแหง้ ใหญ่ กระชาย และกะปิ โขลกสว่ นผสมท้งั หมดให้ละเอยี ด ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นจงั หวดั อุดรธานี
201 3. ตัง้ นา้ ในหม้อ ใสเ่ กลอื ครึ่งชอ้ นโต๊ะ มะขามเปยี ก น้าปลารา้ ลงในหม้อแกง คนให้ เข้ากัน เมื่อนา้ เดือดจัด จงึ นาอลี อกใส่ลงไป 4. ปรงุ รสดว้ ยนา้ ตาล นา้ ปลา นา้ มะขาม ให้ได้ 3 รสกลมกลอ่ ม ใกล้สุกใส่ใบมะกรดู ฉกี เพ่ิมกล่ินความหอม ก่อนปลดลงจากเตา ภาพท่ี 118 ผักอีลอก ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ จงั หวัดอดุ รธานี
202 ภาพท่ี 119 ขัน้ ตอนการทาแกงผกั อลี อก ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ จงั หวัดอุดรธานี
203 ภาพที่ 120 แกงผกั อลี อก ภูมิปัญญาท้องถนิ่ จังหวัดอุดรธานี
204 21. ชอ่ื เรอ่ื ง ลาบเลือด ชอ่ื ผ้ใู ห้ข้อมูล นายอนุ บุญเกิด อายุ 40 ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี 632 ม.1 ต.หนองนาคา อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 สมั ภาษณว์ ันท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ.2556 หมายเลขโทรศพั ท์ 0850048796 เน้อื หา ลาบ เปน็ อาหารท้องถิ่นทางภาคอสี านและภาคเหนือ(รวมถึงประเทศลาว) โดยนาเนื้อ มาสบั ใหล้ ะเอียดแลว้ คลกุ กบั เครื่องปรงุ ซ่ึงเน้ือที่นามาทาลาบเป็นเน้ือหลายชนดิ เชน่ เน้ือ ไก่ เนอ้ื เปด็ เน้ือววั เนื้อควาย เนอื้ ปลา เนอ้ื หมู และเนื้อ จาพวก กวาง เช่น ละม่งั กระจง เก้ง หรือแมแ้ ตบ่ ึ้ง กน็ ามาลาบได้เชน่ กนั ลาบนยิ มกินคู่ กบั ข้าวเหนียว ลาบเลือดในความเชื่อของคนสมยั กอ่ นเชื่อว่าการกินลาบเลือดจะทาให้เลือดที่ กินไปเติมเตม็ เลือดในรา่ งกายท่ีเสยี ไป วิธกี ารดาเนินการ เตรยี มการโดยนาเอาเน้ือมาฟกั ใหล้ ะเอียด แลว้ ก็เตรียมเครื่องปรุง พริก น้าปลา ผงชู รส เกลือ มะนาว หอม สะระแหน่ ใบมะกรูด ข้าวค่ัว เกลือ เลือด แล้วนาเนื้อท่ีฟักแล้วใส่ใน หม้อ ใส่เลือดเล็กน้อยให้มีสีสันสวยงาม แล้วอย่าลืมใส่เหลือเพ่ือดับความคาวของเน้ือด้วย ต่อมาก็ใส่พริก ผงชูรส ข้าวคั่ว มะนาว น้าปลา ตามแต่จะชอบรสชาติไหน คนให้เข้ากันแล้ว ชิมดู เม่ือชิมดูแล้วพอใจกับรสชาติ จึงใส่หอม ใบมะกรูด และตามด้วยสะระแหน่ลงไป ข้ันตอนสุดทา้ ยคือจดั ใส่จาน กินคกู่ ับผักเช่น หนอ่ ไม้ แตงกวา มะเขอื ยอดกระถิน เป็นต้น วสั ดุ อุปกรณ์ ท่ใี ช้ ๑. พริก 8 .นา้ ปลา ๒. ผงชรู ส 9 .เกลอื ๓. มะนาว 10 .ผักชไี ทย ๔. สะระแหน่ 11 . ใบมะกรูด ๕. ขา้ วคั่ว 12 . ตน้ หอม ๖. เลอื ด 13 .หมอ้ ๗. ทพั พี ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ จังหวดั อุดรธานี
205 ภาพที่ 121 ส่วนผสมการปรุง ลาบลอื ด ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ จงั หวดั อดุ รธานี
206 ภาพที่ 122 ส่วนผสมขน้ั ตอนหารปรุง ลาบล้ อื ด ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ จงั หวัดอุดรธานี
207 ภาพที่ 123 ลาบเลอื ดชาวอดุ รธานี ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ จงั หวดั อดุ รธานี
208 22. ชื่ออาหาร แจ่วเห็ดตะไค ชือ่ ผใู้ ห้ขอ้ มูล (ผูส้ บื ทอดภูมิปัญญา) นางวลิ ัย นามวงษ์ อายุ 38 ปี ที่อยู่ บา้ นเลขท่ี 156 ม.5 บ.กาลมื ต.เมอื งพาน อ.บ้านผือ จ.อดุ รธานี สมั ภาษณว์ นั ท่ี 24 สงิ หาคม 2556 หมายเลขโทรศัพท์ 080-1789464 ประวตั ิ ความเป็นมาของอาหาร เห็ดไค มีลักษณะ คล้ายเห็ดก่อ ดอกใหญ่แข็งและกรอบ มีสีขาวปนเทา เวลาย่างจะมี กลิ่นหอม ชอบข้ึนตามป่าที่เปียกชื่นเวลาฝนตกใหม่ๆแหล่งธรรมชาติชุมชนท้องถิ่นต่างๆ สว่ นมากทางภาคอสี าน เหด็ ไคส่วนมากนยิ มมาประกอบอาหารทางอีสานเรียกว่า เห็ดไค ทาง เหนือเรยี กเห็ดหล่ม ทางภาคกลางเรยี กเหด็ ตะไค เป็นส่ิงเกิดโดยธรรมชาติคนท้องถิ่นเช่ือกันว่า เปน็ ยาอายวุ ฒั นะแก้โรคต่างๆไดม้ ากมายตามความเช่อื ของคนโบราณซงึ่ ไดส้ บื ทอดกนั มา ภาพท่ี 124 เห็ดไค ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ จังหวดั อุดรธานี
209 วสั ดุ อุปกรณ์ ท่ใี ช้ 1.เหด็ ตะไค 2.พริกขี้หนู น้าปลารา้ นา้ ปลา ผงชรู ส มะนาว 3.ครก สาก วธิ ีการข้นั ตอน 1. นาเห็ดตะไคมาลา้ งให้สะอาด แกะดนิ ออกให้หมด 2. นาเห็ดไปย่างไฟให้สดุ พอเหลืองๆ ป้ิงพริก ป้ิงเห็ด (อาจเกรียมขอบเลก็ น้อย) 3. นาพริกข้ีหนูสดๆ เผาไฟให้สกุ พอหอม 4. โขลกพริกขห้ี นูใหล้ ะเอยี ด เสรจ็ แล้วนาเหด็ ไคทีย่ า่ งไฟเตรยี มไวล้ งไปโขลกให้ ละเอียด 5. ปรงุ รสดว้ ยน้าปลา, น้าปลาร้า, ผงชรู ส (อาจใส่เนอื้ ปลาช่อนดว้ ย) 6. ตกั ใสจ่ าน เสริ ฟ์ พร้อมกับขา้ วเหนียวรอ้ นๆ ลวกผกั และผกั สดตา่ งๆ ภาพที่ 125 วิธีการทาแจ่วเหด็ ไค ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ จังหวดั อุดรธานี
210 ภาพท่ี 126 วิธกี ารทาแจว่ เห็ดไค ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ จงั หวดั อุดรธานี
211 23. ชอ่ื อาหาร แกงหน่อไม้ ชื่อผใู้ ห้ข้อมูล นางคาภา สหมอดี อายุ 46 ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขที่ 86 หมู่ 3 ต.กุดหมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี 41220 หมายเลขโทรศัพท์ 087-4275647 สมั ภาษณ์วันท่ี 24 สิหาคม 2556 ประวตั ิ ความเป็นมาของอาหาร แกงหน่อไม้เป็นอีกหนึ่งอาหารหลักของชาวบ้านภู ซึ่งวัตถุดิบก็เอาจากในพ้ืนท่ีเทือก สวนไร่ซึ่งหาได้ง่ายนาจะเห็นเมนูแกงหน่อไม้ทุกครัวเรือน แกงหน่อไม้มีหลายแบบแล้วแต่ละ ท้องท่ีและการทาแตกต่างกันนิดหน่อย อยู่ท่ีการปรง คือสามารถแกงใส่อะไรก็ได้ท่ีเป็น ส่วนประกอบ สว่ นเครือ่ งปรงุ ทขี่ าดไมไ่ ด้คือ ปลารา้ การทาแกงหน่อไม้ว่ายากก็ไม่ใช่ว่าง่ายก็ไม่ เชิง ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ทานะค่ะ หน่อไม้มีหลายฤดูการและหลายชนิด มีหน่อไม่ไร่ หน่อไม้บง หน่อไมไ้ ผบ่ า้ น หน่อไม้ฮวก ฯลฯ ซึง่ มีรสชาตแิ ตกต่างกนั วธิ กี ารขัน้ ตอน 1. ตม้ หน่อไม้ในน้าเดือดพอประมาณ 10-15 นาที ยกลงเทนา้ ออก 2. โขลกพริกขห้ี นสู ด ข้างเบือ จนละเอยี ด แล้วนาไปละลายในน้าย่านาง นาขึน้ ตั้งไฟ ใสห่ นอ่ ไม้ ให้เดอื ดประมาณ 10-15 นาที 3. ใส่เนอื้ ไก่ พอสุก แลว้ ใสฟ่ ักทอง บวบ ชมิ รสชาตติ ามชอบ แลว้ ใสใ่ บแมงลกั ผักชะ แงะ ผกั หวานบา้ น ผกั กา้ นตง ผักชะอม แล้วยกลง รับประทานกบั ขิง หรือขา่ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินจังหวัดอดุ รธานี
212 ภาพท่ี 127 ส่วนผสมแกงหนอ่ ไม้ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นจงั หวดั อุดรธานี
213 วสั ดุ อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ เน้ือไกส่ บั หนอ่ ไม้ ฝานบา ๆ นา้ ย่านาง ผกั ชะอม 5-10 ยอด ใบ แมงลัก 1 กามือ ผักชะแงะ 5 ตน้ ผกั ก้านตง 1 กามือผัก หวานบา้ น 1 กามอื ฟักทองห่นั เป็นชิ้น 1 ลูก บวบหอม 1 ลกู ข้าวเบอื 2 ชอ้ นโตะ๊ ประโยชน์ หน่อไม้มีคุณค่าทางอาหารสูงทั้งโปรตีน วิตามิน และที่สาคัญมีกรดอะมิโนท่ีร่างกาย ผลิตเองไม่ได้ ต้องนาเข้าจากอาหารประเภทต่าง ๆ นอกจากนั้นหน่อไม้ยังมีกากใยอาหารที่ ชว่ ยให้ร่างกาย นากากและสารพษิ ออกสู่ภายนอกได้เรว็ โดยการดดู นา้ และเพ่ิมปริมาตรให้ตัว กากให้มากข้ึน จนรา่ งกายต้องส่งออกฉบั พลนั ประโยชน์ท่ีได้รับจากการรับประทานหน่อไม้ คือ ร่างกายก็จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส เลอื ด ส่วนกากอาหารที่เหลอื หรือสารพิษต่าง ๆ เช่น ยาฆ่าแมลง โลหะหนักต่างๆหรือพวกไน ไตรท์ ก็จะไปรวมกนั ท่ีลาไส้ใหญ่ น้ายา่ นาง เป็นยาถอนพิษ ผกั หวานบ้าน เปน็ ยาแกโ้ รคตบั ภาพที่ 128 ใบยา่ นาง กบั ผักหวานบ้าน ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ จังหวดั อดุ รธานี
214 ภาพท่ี 129 แกงหน่อไม้อดุ รธานี ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ จังหวัดอุดรธานี
215 24. ช่ืออาหาร แกงหวาย ช่อื ผู้ให้ขอ้ มลู (ผู้สืบทอดภูมิปญั ญา) นางจนั ทร์หอม กนั หาทอง อายุ 59 ปี ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ บา้ นเลขท่ี114 หมู่4 บา้ นดอนหาด ต.สามพรา้ ว อ.เมือง จ.อดุ รธานี 41000 หมายเลขโทรศัพท์ 087-2311020 สัมภาษณ์วันท่ี 23 สิงหาคม 2556 ประวัติ ความเป็นมาของอาหาร แกงหวาย เปน็ อาหารจานเดด็ จานหนึ่งท่ีจะต้องมีอยู่ในสารับของชาวผู้ไท เป็นอาหาร แห่งชาติพันธ์ของชาวผู้ไทก็ว่าได้ ผู้ไทเป็นคาท่ีใช้เรียกตัวเองของกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในบริเวณ ลุ่มแม่น้าน้าโขง ซึ้งแต่เดิมน้ันมีถิ่นฐานอยู่ในประเทศลาว ต่อมาชาวผู้ไทได้เข้ามาต้ังรกรากใน ประเทศไทย โดยเฉพาะในจังหวัดสกลนคร มุกดาหารและอุดรธานี ชุมชนผู้ไท มีวิถีชีวิตท่ี ผูกพนั กับปา่ เพราะพื้นปา่ เปน็ แหล่งอาหารทีส่ าคัญของชาวผไู้ ท ทงั้ เนื้อสตั ว์ พืชผกั จากปา่ วธิ ีการขั้นตอน ๑. หวายปอกเปลอื กและหนามแหลมออกเลือกแตล่ าตน้ ออ่ น ตดั เปน็ ชนิ้ ๆ แชน่ ้าไวไ้ ม่ให้ หวายดา ๒. ตม้ หวายและเทนา้ ออกเพ่ือให้หายขม(สาหรบั คนไมช่ อบรสขม) แต่คนไมน่ ิยมต้มก่อน เพราะชอบรสขมเน่ืองจากเช่ือว่าเปน็ ยา ๓. พริกสด ข้าวเบื่อ เกลอื โขลกเข้าดว้ ยกัน ขา้ วเบื่อทาใหน้ ้าแกงข้น ๔. ใบยา่ นางนาไปขยี้ใส่น้า กรองเอาแต่นา้ ใสห่ ม้อต้มจนเดอื ด จากนั้นใสเ่ ครื่องแกงท่ี โขลกไว้ เนือ้ ไก่ เมื่อไก่ สุกใส่หวาย ๕. ปรงุ รสด้วยนา้ ปลา (ใส่น้าปลาร้าด้วย) ใสผ่ กั สะแงะ (ผักพ้ืนบ้านช่วยแต่งกลนิ่ ) ตาม ดว้ ยใบแมงลัก วัสดุ อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ 1. หวาย (ลาตน้ ออ่ น) 2. ไก่ 3. ผกั สะแงะ 4. ใบแมงลัก 5. พรกิ สด 6. เกลอื ปน่ 7. น้าใบยา่ นาง 8. นา้ ปลา 9. ฟักทอง 10.ข้าวเบือ (ขา้ วเหนยี วแชน่ ้า โขลกละเอียด) ประโยชน์ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจงั หวัดอดุ รธานี
216 หวายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึ่งของประเทศในเขตร้อน โดยเฉพาะประเทศ ไทย ในจังหวัดแถบภาคอีสาน มีการปลูกหวายเชิงการค้า นิยมนาส่วนลาต้นท่ีสูงและมีความ ยืดหยุ่นมากเป็นพิเศษมาสานเป็นเฟอร์นิเจอร์ ลูกหวายอ่อนใช้กินเป็นผักจิ้มน้าพริก แกะ เปลือกออกแล้วนาไปทาส้มตา หน่อหวายใช้ทาอาหาร เช่น แกงอ่อมซุบหน่อหวาย ซ่ึงในสมัย โบราณใช้เป็นยาและใช้ย้อมสีไวโอลินในรัฐอัสสัมประเทศอินเดีย ใช้หน่อหวายเป็นอาหาร เช่นกนั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ จงั หวัดอุดรธานี
217 . ภาพที่ 130 หวาย ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจังหวัดอุดรธานี
218 ภาพที่ 131 เครื่องปรุงแกงหวาย ภาพท่ี 132 แกงหวายจังหวดั อุดรธานี ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นจังหวัดอดุ รธานี
219 25. ชือ่ เร่ือง การทาขนมจีน ช่อื ผ้ใู ห้ข้อมลู นายเดช นามสกุล ศรแี สงเมือง อายุ 57 ปี ทอี่ ยู่ บ้านเลขท่ี 501 ม.10 ต.โคกสะอาด อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี 41000 หมายเลขโทรศพั ท์ 085 7552573 สัมภาษณว์ ันท่ี 8 กันยายน 2556 ประวตั ิ วิธีการ วัสดุ อุปกรณ์ ท่ใี ช้ จากเดิมก่อนที่จะประกอบอาชีพการทาขนมจีนขาย บรรพบุรุษได้ทาเกี่ยวกับการ เกษตรกรรมแตไ่ ด้รายไดไ้ มเ่ พยี งพอดกี ารเล้ยี งชพี จงี เปล่ียนจากการทาเกษตรกรรมมาเป็นการ ทาขนมจีน โดยเร่ิมแรกได้มีการจ้างผู้ท่ีมีประสบการณ์หรือผู้ที่ประกอบอาชีพมาสาธิตการทา ขนมจีนและการเตรียมอุปกรณ์โดยในสมัยน้ันต้องจ่ายค่าจ้างประมาณ 10,000 บาท โดย ในขณะน้ันมีภมู ลิ าเนาอย่ทู ่จี ังหวัดหนองคาย และได้ย้ายถิ่นฐานมาเรื่อยๆจนในปัจจุบัน ตั้งถิ่น ฐานอยู่ท่ีบ้านศรีบูรพา ตาบลโคกสะอาด อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี รายได้จากการขาย ขนมจนี วนั ละ 700 – 800 บาท / วนั ขน้ั ตอนการทาขนมจีน 1. นาข้าวสารมาล้างน้าแล้วนาไปหมักเป็นเวลา 2-3 วัน แล้วแต่ข้าว ในระหว่างการ หมักข้าวนน้ั ตอ้ งล้างนา้ ทกุ วนั หมักขา้ วจนเปอ่ื ยยุย่ แล้วนาข้าวออกมาตากแดดให้นา้ ออก 2. การโม่หรือการบดข้าว เมื่อหมักข้าวจนเปื่อยยุ่ยแล้ว จากน้ันล้างน้าให้สะอาด นาไปบดด้วยโม่หินที่หมุนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ขณะโม่ใสเกลือประมาณร้อยละ7 ของน้าข้าว หมัก ถ้าขา้ วเก่าจะใชป้ ระมาณร้อยละ 4 3. การนอนน้าแป้ง น้าแป้งที่ได้จากการโม่หรือบดแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางใส่ลงใน โอ่งปล่อยท้ิงไว้ให้แป้งตกตะกอน 1-2 วัน แล้วดูดน้าส่วนบนออก 2-3 ครั้ง ข้ันตอนนี้มีผลให้ แปง้ มีสขี าวและมกี ล่นิ หมกั นอ้ ยลง โดยดดู น้าท้งิ ทกุ วนั พร้อมใส่เกลือทกุ คร้งั ที่เปล่ยี นนา้ 4. การทับน้าแป้ง การทับน้าแป้งเป็นการกาจัดน้าส่วนเกินออกไป โดยน้าแข็งท่ีได้ จากการนอนนา้ แปง้ ใส่ถุงผา้ แลว้ ผกู ปากถงุ ด้วยเชอื กใหแ้ น่น แล้วทับดว้ ยของหนักไวห้ น่ึงคืน 5. การต้มแป้ง แป้งที่ผ่านการทับน้าแล้วจะเป็นก้อนแข็งเพราะแป้งเกาะกันแน่น น้าแขง็ นี้ไปตม้ ดว้ ยนา้ รอ้ นประมาณ 30-1 ช่วั โมง แลว้ แต่ลักษณะของแข็ง ซึ่งขั้นตอนน้ีมีผลต่อ ความเหนียวของแป้งขนมจีน ถ้าแป้งสุกมากหรือน้อยเกินไปขนมจีนจะขาดได้ง่ายและไม่ สามารถจบั เป็นเสน้ ได้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ จงั หวัดอดุ รธานี
220 6. การนวดแป้ง การนวดแปง้ เป็นการผสมแป้งดิบและแป้งสุกที่ผ่านขั้นตอนการทาให้ สุกเป็นบางส่วนเข้าด้วยกัน นอกจากน้ียังทาให้เม็ดแป้งแตกทาให้แป้งมีความเหนียวมากข้ึน การนวดน้ีอาจนวดด้วยมือหรือเครื่องก็ได้ (แต่ที่เราดูนวดด้วยเคร่ือง) นวดให้เข้ากันดี ถ้าแป้ง แห้งเกินใหเ้ ติมน้าลงไปทลี ะน้อย ข้นั ตอนน้ีอาจเรยี กว่า “การโน้มแป้ง” 7. การกรองแป้ง เนื่องจากการนวดแป้งไม่สามารถทาใหแ้ ปง้ แตกออกได้หมดบางส่วน ยังมีเม็ดเล็กๆปนอยู่ จะต้องกรองแป้งผ่านมุ้งเขียวเพื่อให้แป้งที่ผ่านการกรองมีความละเอียด สมา่ เสมอ เพื่อการโรยเสน้ ไดโ้ ดยสะดวก 8. การโรยเสน้ ขนมจีน การโรยขนมจนี คือโรยด้วยเคร่ืองโรยเส้นขนมจีน ทาจากโลหะ ปลอดสนิม แต่ในขณะที่โรยเส้นควรรักษาอุณหภูมิของน้าด้วย เมื่อเส้นลอยน้าขึ้นมาตักใส่น้า เย็นแลว้ ใสอ่ ่างนา้ เพอ่ื ทาเป็นจับต่อไป 9. การทาขนมจีนให้เป็นจับ จับเส้นขนมจีนที่แช่อยู่ในน้า วิธีจับเส้นขนมจีนทาได้โดย ใช้มือจับขนมจีนขึ้นมาจากน้า เรียงเส้นขนมจีนให้เป็นเส้นเรียงซ้อนกันพอประมาณ แล้วพัน เส้นขนมจีน ท่ีน้ิวชี้หรือหัวแม่มือแล้วแต่ถนัด ให้เส้นขนมจีนห้อยลงมาตามขนาดของจับที่ ตอ้ งการ วางขนมจนี ลงในลักษณะควา่ มอื ลงในภาชนะ ทง้ิ ใหส้ ะเดด็ นา้ แล้วนามารับประทาน คุณภาพของขนมจนี ขนมจีนที่มีคุณภาพดีควรจะมีสีขาว เส้นเหนียวไม่เละไม่มีกล่ินกลดไม่มีรสเปรี้ยวและ สามารถเก็บไว้ได้นานพอสมควรขนมจีนท่ีมีเส้นเหนียวเป่ือยยุ่ยเกิดจากการใช้ข้าวที่ไม่ เหมาะสม การนวดแปง้ นอ้ ยเกนิ ไปหรอื การใช้น้ากระด้างสูงในการผลิตกล่ินกลดหรือกลิ่นหมัก เกิดจากการล้างแป้งไมด่ ี ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินจงั หวดั อุดรธานี
221 ภาพท่ี 133 ขน้ั ตอนการจบั ขนมจีน ภาพท่ี 134 ขัน้ ตอนการจับขนมจีน ภูมิปัญญาท้องถน่ิ จงั หวัดอุดรธานี
222 26. ชอื่ เร่อื ง การทาผักดอง(สม้ ผกั ) ชอ่ื ผใู้ ห้ขอ้ มลู คณุ ตาหาญ นาเรือง อายุ 63 ปี ที่อยู่ บา้ นเลขที่ 38/1 บา้ นจั่น ต.บา้ นจน่ั อ.เมอื ง จังหวัดอุดรธานี 41000 สมั ภาษณว์ นั ที่ 15 กันยายน 2556 ประวัติ วธิ กี าร วสั ดุ อุปกรณ์ ท่ีใช้ ๑. มีความรคู้ วามสามารถ ทางด้านการทาผักกาดดอง ๒. ได้รบั การถ่ายทอดกรรมวิธีมาจาก บิดา-มารดา ๓. ทาผักดองขายเป็นอาชีพหลักมาแลว้ กวา่ 20 ปี จุดเด่นของผลงาน ๑. รสชาติอร่อยถกู ปากลกู คา้ ๒. มคี วามสะอาด ๓. ใชว้ ัตถุดบิ ทม่ี คี ุณภาพ วัสดุ-อปุ กรณ์ 1. ผกั กาดเขียวปลี 50 กก. 6. ตะกรา้ 2. ปลายข้าวหอมมะลิ 7. ถุงพลาสตกิ 3. เกลือ 8. ถังหมกั 4. กะละมัง 9. น้าสะอาด 5. มีด วิธีการทา 1. นาผักกาดเขียวปลีมาห่ันเป็นช้นิ ๆ พอเหมาะ 2. นาปลายข้าวหอมมะลิไปต้มในปรมิ าณ3ถ้วยตวงต่อน้า 2 ลติ ร ตม้ จนข้าวแตกตวั แลว้ ท้งิ ไวใ้ หเ้ ย็น 3. นาผกั ทหี่ นั ได้ไปล้างน้าสะอาด (3 น้า) 4. นา้ ผักที่ลา้ งแลว้ มาแช่น้าเกลือ (เกลือ 1 กก.ตอ่ น้า 20 ลติ ร 5. รอให้ผกั อ่อนตวั ประมาณ 4 ชั่วโมง 6. นาผักท่แี ชน่ า้ เกลือเรียบร้อยแลว้ ไปล้างน้าสะอาด ( 1 น้า) 7. นาผกั ทล่ี า้ งแล้วมาคน้ั ผสมกบั ปลายขา้ วที่ต้มไว้ ใหเ้ ขา้ กัน ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ จงั หวดั อุดรธานี
223 8. จากนั้นนาไปใส่ภาชนะ ปิดฝาใหส้ นิท เก็บไว้ประมาณ24 ชั่วโมง ก็สามารถนาไป รบั ประทานได้ ภาพที่ 135 ข้นั ตอนการทาส้มผกั ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ จงั หวดั อุดรธานี
224 ภาพท่ี 136 ส้มผักคณุ ตาหาญ นาเรอื ง ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ จังหวัดอดุ รธานี
225 27. ชื่ออาหาร : ก้อยหอยเชอรี่ ช่ือผใู้ ห้ข้อมลู (ผู้สืบทอดภูมิปัญญา) : นางปราณี ธรรมโส อายุ : 45 ปี ทอ่ี ยู่ : บา้ นเลขท่ี 182 หมู่ 6 บา้ นกอก ต.ศรีธาตุ อ.ศรีธาตุ จ.อดุ รธานี หมายเลขโทรศัพท์ : 088-0661160 สัมภาษณ์ : วันท่ี 24 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556 ประวตั คิ วามเป็นมาของอาหาร คนอีสานบ้านเฮาเป็นคนเรียบง่าย เฮ็ดอยู่เฮ็ดกินกะง่ายๆ เอาส่ิงที่มีอยู่ในนาใน สวนเฮามาเฮ็ดเป็นแนวกิน ตั้งเเต่สมัยเป็นเด็กน้อย ไปนากับอิพ่อกับอิแม่ เผิ่นพาไปหาเก็บ หมากหอยเชอรี่ออกจากไฮน่ าเพ่อื บ่ใหม้ นั กัดกนิ ต้นข้าว พอเก็บมาได้แล้ว กะเอาไปเฮ็ดแนวกิน สู่ลูกสู่เต้ากิน แซ่บๆ นัวๆ ได้แนวกินที่เฮ็ดจากหอยเชอรี่ เมนูน่ีมีซื่อว่า ก้อยหอยเชอรี่ คน อีสานบ้านเราเป็นคนเรียบง่าย การอยู่การกินก็ง่ายๆ เอาสิ่งที่มีอยู่ในไร่นามาทาเป็นอาหาร ตง้ั แต่สมยั เปน็ เดก็ ไปทุ่งนากับพ่อกับแม่ พ่อแม่พาไปเก็บหอยเชอร่ีออกจากทุ่งนาเพ่ือไม่ให้มัน มากดั กินต้นข้าว พอเก็บมาไดแ้ ล้ว ก็เอาไปทาอาหารให้ลูกๆกิน รสชาติกลมกล่อม ได้อาหารที่ ทาจากหอยเชอร่ี วัสดุ : หอยเชอรี่ พริกป่น ข้าวค่ัว น้าปลา น้ามะนาว ต้นหอม ผักชี สะระแหน่ อุปกรณ์ : ชาม ชอ้ น จาน หม้อ วธิ ีการทา 1. ไปเก็บหอยเชอร่จี ากทอ้ งทุ่งนา (เลอื กเอาหัวใหญๆ่ ) 2. นาหอยเชอรี่มาแกะออกจากเปลือกเอาแตห่ ัวหอยและที่สาคญั อย่าลืมเอาตาหอยออก เพราะถา้ ไม่เอาออกเม่อื กนิ เข้าไปแล้วจะทาให้ปวดหัว (เป็นเฉพาะกับบางคน) 3. นาไปลา้ งในนา้ เกลอื เพ่ือใหน้ า้ ลายหอยหายไป 4. นาไปตม้ ให้สุก ประมาณ 10 นาที 5. เม่ือหอยสุก ห่นั เน้ือหอยเป็นชิ้นเล็กๆ หวั หน่งึ ห่นั ประมาณ 3-4 ช้นิ 6. ใสพ่ ริกปน่ ข้าวควั่ นา้ ปลา น้ามะนาว แลว้ คนใหเ้ ข้ากนั 7. ซอยตน้ หอม ผักชี สะระแหน่ ใสล่ งไป แล้วคนให้เขา้ กัน 8. ตักใส่จาน เสริ ์ฟพร้อมกบั ผักกาดขาวและถ่วั ฝักยาว ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ จงั หวัดอดุ รธานี
226 ภาพที่ 137 หอยเชอรีต่ ม้ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ จงั หวัดอดุ รธานี
227 ภาพที่ 138 ก้อยหอยเชอรร่ี ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ จังหวัดอดุ รธานี
228 ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ จงั หวดั อดุ รธานี
229 บทที่ 6 ภูมิปญั ญาดา้ นหตั ถกรรมการท่อผ้า 1. ชอ่ื ภูมปิ ัญญาด้านแบบลายผ้า ลายหม้อบ้านเชยี ง ช่อื ผใู้ ห้ขอ้ มูล คณุ ยายวชิ ิตคงอนุ่ อายุ 66 ปเี กิดเมื่อวนั ที่ 1 มกราคม 2489 ท่อี ยบู่ ้านเลขที่ 43 หมู่ 9 บา้ นเชยี ง ต.บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี วนั ที่สมั ภาษณ์วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2556 ประวัติ ลายผ้าเกิดจากความคดิ ริเรม่ิ ของชาวบ้านที่เห็นลานไหบ้านเชียงและคิดท่ีจะประยุกต์ เข้ามาตกแต่งใส่เคร่ืองนุ่งห่มโดยได้คิดค้นการมัดหมีผ้าให้เป็นเอกลักษ์ของท้องถ่ินโดยบ้าน เชียงน่ันเป็นแหล่งโบราณคดีของโลกและมีหมอลายเขียนสีเป็นเอกลักษ์และโดนเด่ นสวยงาม ชาวบา้ นจึงคดิ ทีจ่ ะนาเอาลายของหมอดินเผาที่บ้านเชียงมาประยุกต์ให้เป็นลายผ้าโดยผู้คิดค้น คนแรกคือคุณยายบ้ีและคุณยายคองได้ร่วมกันออกแบบผ้ามัดหม่ีลายหมอบ้านเชียงข้ึนเม่ือ ชาวบ้านคนอ่นื ๆเห็นวา่ ลายผา้ มีความสวยงามจงึ มีการนาลายผา้ นอี้ อกมาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเปน็ ที่รจู้ กั กนั ทัว่ ไปจนขึน้ ชื่อวา่ ผา้ มดั หมี่ลายหมอบ้านเชียงประจาจังหวัดอุดรธานีและเป็น ทีโ่ ด่งดังในวงการผา้ ไหมมดั หมขี่ องไทย ภาพท่ี 139 คุณยายวิชิต คงอุ่น ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ จงั หวัดอุดรธานี
230 ภาพท่ี 140 ลายหม้อบ้านเชียง 1 ภาพที่ 141 ลายหม้อบา้ นเชียง 2 ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ จงั หวัดอดุ รธานี
231 2. ชอ่ื ภูมปิ ัญญาด้านแบบลายผ้า ลายตะขอ ช่อื ผ้ใู ห้ข้อมูล คณุ ยายนวลนิด ผาบหนูดา อายุ 58 ปี ทีอ่ ยบู่ ้านเลขที่ 87 หมู่ 9 บ้านเชียง ต. บา้ นเชยี ง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี สมั ภาษณ์วนั ท่ี 27 ตลุ าคม 2556 ภาพที่ 142 คณุ ยายนวลนดิ ผาบหนดู า เจ้าของลายตะขอ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นจงั หวดั อุดรธานี
232 ภาพท่ี 143 ผา้ ลายตะขอ ภูมิปัญญาท้องถ่ินจงั หวัดอุดรธานี
233 3. ชอื่ ภมู ปิ ัญญาดา้ นแบบลายผ้า ลาย ชื่อผ้ใู ห้ข้อมูลนางแกว้ อรุณ สาแดงชยั อายุ 68 ปี ทอี่ ยู่ บา้ นเลขท่ี 85 หมู่ 7 ตาบลขอนยงู อาเภอกุดจบั จงั หวดั อุดรธานี วนั ท่สี มั ภาษณ์ วนั ท่ี 11 ธนั วาคม 2556 ประวัติ/ความหมาย ลายผ้าเกิดจากผักแว่นเป็นพืชที่อยู่ตามชายฝั่งของลาน้า ห้วย หนอง คลองบึง เพราะผักแว่นเกิดง่าย ผักแว่นน้ีเป็นพืชท่ีชาวบ้านได้สัมผัสอยู่ทุกวันจึงเกิดความคิดที่จะสร้าง งานทางด้านลายของผ้าจึงได้นาเอาดอกผักแว่นหรือผักแว่นนั้นมามัดหมี่และผ้าขิดได้ทั้งนี้ เพราะลักษณะของดอกผักแว่นเป็นดอกเล็กๆ สวยงาม เกิดเป็นกลุ่มและโตเร็วดังน้ันถ้าใคร สามารถมดั ตาม ลายไดก้ จ็ ะ เป็นคนทีม่ คี วามสามัคคใี นเอ้อื เฟื้อมคี วามประณีตละเอียดอ่อน ภาพที่ 144 ลายผา้ ทอลายดอกผักแว่น ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ จงั หวดั อุดรธานี
234 4. ชือ่ ภูมิปัญญาด้านแบบลายผ้า ลายพญานาค ชอ่ื ผู้ให้ข้อมูล นายเฉลิมชยั ไชยวงศ์ ท่ีอยู่ 11/1 หมู่ 3 หมู่บา้ น/อาคาร หวั บึง ตาบล/แขวง บา้ นขาว อาเภอ/เขต เมือง จังหวัด อุดรธานี รหัสไปรษณีย์ 41111 สัมภาษณ์วนั ที่14 ธันวาคม 2556 ประวตั คิ วามหมายของลายผ้าพญานาค ตั้งแต่สมัยก่อนบ้านนาข่า ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี มีปุาที่อุดมสมบูรณ์ มีท้ังสัตย์ ปุานานาชนิด เช่น มีเสือ มีพญานาคและสัตย์อื่นๆ อีกมากมาย ทุกคนในหมู่บ้านมีวิถีชีวิตท่ี เรียบง่าย ในนา้ มปี ลาในนามขี า้ ว ชาวบา้ นมอี าชพี คอื ท่อผ้ามัดหมี่ เร่ืองพญานาคเป็นที่เล่ืองลือ มากทั้งในหมู่บ้านและท่ีใกล้เคียง มีเร่ืองเล่าต่อกันมาว่า มีพญานาคช่ือนาคาเทวี (เป็นตัวเมีย) มายมื ฟืม (หรอื ทท่ี อผ้า) จากชาวบ้าน และในทุกวนั พระพญานาคกจ็ ะเขา้ มาท่ีวัด และชาวบ้าน ก็จะได้ยินเสียงดังภายในวัดดัง ปึ๊งป๊ึง อยู่หลายรอบ คุณพ่อ เฉลิมชัย ไชยวงศ์คิดว่าจะทายังไง ให้พญานาคอยู่ในลายผา้ มดั หมีไ่ ดแ้ ละเปน็ เอกลักษณ์ของหมูบ่ า้ น มที เี่ ดียวในประเทศไทย และ หน่ึงเดียวในโลก ภายในผ้ามีต้นยางใหญ่อยู่ตรงกลาง หมายถึง ต้นยางประจาหมู่บ้าน และมี พญานาคนาคาเทวีรอบต้นยางอยู่ ส่วนที่อื่นๆก็ประกอบด้วยลายต่างๆ ให้สวยงาม และน้ีจึง เป็นที่มาของลายผ้าพญานาคของหมู่บ้านนาข่า เป็นที่รู้จักของนักท่องเท่ียวและดารงไว้ซึ่ง ความเป็นอยู่วิถีชีวิต อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาชาวบ้านให้คนรุ่นหลังได้สัมผัสได้เห็นผ้า อนั ทรงคณุ คา่ ของบ้านนาขา่ จ.อุดรธานีต่อไป ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ จงั หวดั อดุ รธานี
235 ภาพท่ี 145 นายเฉลิมชยั ไชยวงศ์ผคู้ ดิ ลายพญานาค ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นจังหวดั อดุ รธานี
236 5. ชือ่ ภูมิปัญญาด้านแบบลายผ้า ลายสามกษัตรยิ ์ ช่ือผใู้ ห้ข้อมูล คุณ อทิ ธพิ ล สจั จะไพบรู ย์ อายุ 65 ปี ท่อี ยู่ บา้ นเลขที่ 89 หมู่ 7 บ้านผือ อาเภอ บ้านผือ จงั หวดั อดุ รธานี หมายเลขโทรศพั ท์ 185-7419718 วนั ทีส่ มั ภาษณ์ วันพุธท่ี 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ประวตั ิความเปน็ มาของลายผ้า ผ้าสามกษัตริย์ เป็นการทอผ้าพืน้ เมอื งของกลมุ่ ชาวบา้ นบา้ นผอื ซึ่งเป็นการสืบทอดมา แต่รุ่นปูุ รุ่นย่า ตาทวด (ผลิตกันหลายจนเป็นที่รู้จักกันท่ัวไป) บ้านอ่ืนๆก็มีเหมือนกันแต่ไม่ เยอะเท่า ทางบ้านผือและลูกหลานเกิดใหม่ก็นา เอามาผสมผสานกันก่อเกิดเป็น งาน หัตถกรรม ฝีมืออันล้าค่าเดิมผ้าลายสามกษัตริย์เกิดจากการนาเอาวัตถุดิบ3ชนิด มาก่อให้เป็น ผา้ ผนื เดียวกัน วัตถุดิบเหลา่ นน้ั ได้แก่ 1.ไหม 2.ด้าย 3.ฝาู ย จึงมีช่ือเรียกว่าผ้าสามกษัตริย์ เมื่อใช้วัตถุดิบ 3ชนิดมาทอรวมกันจะทาให้เกิดปัญหา คือ การขาดง่ายของผ้าเน่ืองจากคุณสมบัติและวิธีการดูแลรักษาของวัตถุดิบที่แตกต่างกันจาก รุ่นตอ่ รุ่น ผ่านกาลเวลา การพฒั นามาอยา่ งตอ่ เนื่อง ปัจจบุ นั ลายผ้าหรอื กรรมวิธีมหี ลายข้ึนกว่า แต่กอ่ นผ้าที่ชาวบ้านบ้านผอื ผลิตข้ึนนั้น แบง่ ตามลกั ษณะทอมอี ยู่ 3 ประเภท คอื 1.ผ้าพน้ื เป็นผ้าทอลายขดั ใชเ้ ส้นยนื และเสน้ พงุ่ สเี ดียวทอตลอดทั้งผนื เปน็ ผ้าพืน้ เรยี บ ไมม่ ีลาย เช่นม่อฮ่อมผา้ พน้ื ฝาู ยฯลฯ 2.ผา้ ลายเปน็ ผา้ ท่ที อออกมาแลว้ จะมีลวดลายบนผนื ผา้ ต่างจากผ้าพ้ืน เช่น ผา้ ขาวมา้ ผ้าโสรง่ ผ้าหางกระรอก ผ้าลายลูกแกว้ ผา้ มัดหม่ฯี ลฯ 3.ผ้ายกดอก เปน็ ผา้ ทอลายพิเศษต่างจากลายขัดธรรมดา ลายผา้ เกิดจากการใชต้ ะ กอบกม่ี ากขนึ้ และผา้ สามกษตั ริย์ในรปู แบบตา่ งๆเชน่ ผา้ ไหมมัดหม่ี ผ้าแพร ผ้าโสร่ง ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ จังหวดั อดุ รธานี
237 ภาพที่ 146 ลายสามกษัตรยิ ์ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจังหวัดอุดรธานี
238 6. ชอ่ื ภมู ปิ ัญญาดา้ นแบบลายผ้า ผา้ ลายกระจบั เครือ ชอ่ื ผูใ้ ห้ขอ้ มูล คุณยาย แหล่ พาสรี าษฏร์ อายุ 66 ปี ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 155 ม . 7 ชุมชน 2 ต.โนนสงู อ. เมอื ง จ. อุดรธานี หมายเลขโทรศพั ท์ 082-1125618 สัมภาษณ์วันที่ 14 ธันวาคม 2556 ประวตั ิ ความหมายของลายผา้ ลายผ้าน้ีเกิดจากจินตนาการของคุณยาย แหล่ พาสี ราษฎรซึ่งมีความคิดริเร่ิมมา จาก พืชชนิดหนึ่ง ช่ือว่า กระจับ โดยท่านเห็นว่า พืชชนิดนี้มีรูปร่างที่แปลกตาดี จึงนามาเป็น แบบลายผ้า และเพื่อให้สวยงามนั้น ทา่ นได้เพิ่มรวดลายไวร้ อบกระจับ คล้ายเครือไม้ จนได้ต้ัง ชือ่ วา่ ผา้ ลายกระจับเครอื ภาพที่ 147 คณุ ยาย แหล่ พาสีราษฏร์ผูอ้ อกแบบลายผา้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ จงั หวัดอุดรธานี
239 ภาพท่ี 148 ผ้าลายกระจับเครอื ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ จงั หวัดอุดรธานี
240 7. ชอื่ ภูมิปัญญาดา้ นแบบลายผ้า ผา้ ท่อลายนาคของไทพวน ผใู้ ห้ข้อมลู นางจีราวรรณ จันทะเลิศ อายุ 45 ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี 258 หมู่ 14 บา้ นผอื ใน ต. บ้านผอื อ. บ้านผอื จ.อุดรธานี วันท่ีสมั ภาษณ์ วันที่ 15 ธันวาคม 2556 ประวตั ิความเป็นมาของลายผ้า ลายผ้าเกิดข้นึ จากฝมี ือของชาวไทพวน ท่ีอพยมมาจากเมืองลาว เมืองเชียงขวาง มา ต้ังถ่ินฐานที่อาเภอบ้านผือ ชาวบ้านได้มีการคิดนาผ้ามัดหม่ีท่ีมีอยู่เป็นจานวนมาก มาทาเป็น เคร่ืองนุ่งห่ม และได้คิดค้นลายผ้าข้ึนเพื่อเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น โดยมีการคิดค้นขึ้นมา จากลายพญานาค ซงึ่ เป็นสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ทีน่ บั ถอื ของคนสมัยก่อน จงึ ไดน้ าลายพญานาคมาทาเป็น ลายผ้า ที่เรียกว่า ลายผ้านาคน้อย และ ลายผ้านาคใหญ่ ลายผ้าน้ีมีอายุประมาณ111ปี กว่าๆจนเป็นที่รจู้ ักกันแพร่หลายในจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดอ่ืนๆโดยมีคุณ จีราวรรณ เป็นผู้ สืบทอดในปัจจุบันและได้มีการจัดตั้งชมรมไทพวนต้ังคณะกรรมการไทพวนข้ึน เพ่ือที่จะ ชว่ ยกันคิดค้นลายผ้าใหม่ๆตอ่ จาก ปยูุ า่ ตายาย(ผู้เฒา่ ผแู้ ก่)ของเราสบื ต่อกนั ไป ภาพท่ี 149 ผา้ ท่อลายนาคของไทพวน ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ จังหวดั อุดรธานี
241 8. ช่ือภมู ปิ ัญญาด้านแบบลายผ้า ผา้ ทอลายนาคน้อย ชื่อผู้ให้ข้อมูล คุณยายดวงปี ชาวกลา้ อายุ 74 ปี ทีอ่ ยู่ บ้านเลขที่6 หมู่2 ตาบลเพ็ญ อาเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี สัมภาษณ์วนั ท่ี 7 เดอื น ธนั วาคม 2556 ประวตั ิความเปน็ มา/ความหมาย เนื่องจากอาเภอเพ็ญมีเขตแดนอยู่ใกล้กับจังหวัดหนองคาย คาดการณ์ว่าผ้าทอลาย นาคน้อยน้ีได้รับอิทธิพลมาจากชาวจังหวัดหนองคายท่ีมีความเช่ือเรื่องพญานาค ท่ีมีความ เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาสังเกตได้จากในลายผ้าจะมีการนาล วดลายของนาคและลาย คล้ายดอกไม้ลงในผืนผ้า เปรยี บดังนาคนอ้ ยได้นาดอกไม้มาถวายพระพุทธเจ้า ลายผ้าน้ีมีความ สวยงานออ่ นช้อยชาวบ้านจึงนิยมทอไว้ค่บู า้ นและถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ภาพที่ 150 ผ้าทอลายนาคนอ้ ย ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นจังหวัดอดุ รธานี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266