242 9. ชอ่ื ภูมิปัญญาด้านแบบลายผ้า ลายผา้ นกยูง ชื่อผูใ้ ห้ขอ้ มูล: คณุ สุพัฒ มะโนสินธ์ุ อายุ 42 ปี ท่อี ยู่ :142 หมู1่ 1 ต.บ้านโปร่ง อ.ศรธี าตุ จ.อดุ รธานี 41231 วันท่สี มั ภาษณ์: วนั อาทิตย์ ที่ 15 ธันวาคม 2556 ประวตั ิ ความหมายของลายผา้ การทอผ้ามัดหมี่ของชาวตาบลบ้านโปร่งได้มีมาอย่างยางนาน โดยการเรียนรู้และ ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษรุ่นสู่รุ่น ซึ่งตัวของคุณสุพัฒ มะโนสินธ์ุ ก็เช่นกันได้เรียนการ ทอผ้ามัดหม่ีมาจากปูุย่าตายายของท่านผ้ามัดหมี่ลายน้ีชื่อว่า ผ้ามัดหมี่ลายนกยูง ซ่ึงมี แนวความคิดมาจากนกยูงเพราะเวลานกยูงกางปีกออกสวยงามมาก และนกยูงยังเป็นสัตว์ มงคล สัตว์แห่งความโชคดี สัตว์แห่งโชคลาภก็เลยได้ความคิดดีๆมาทอผ้าพอทอออกมาสวย สงา่ เปรียบเสมือนนกยงู ภาพท่ี 151 ลายผ้านกยงู ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ จังหวัดอุดรธานี
243 10. ช่อื ภูมปิ ัญญาดา้ นแบบลายผ้า ผ้ามดั หมี่ลายกุญแจประยกุ ต์ ชอ่ื ผใู้ ห้ขอ้ มูล คุณแมล่ ะพิณ เช่ียวชาญ อายุ 52 ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 8 หมู่ 15 บ้านพรพิบลู ย์ ต. บ้านแดง อ.พบิ ูลย์รักษ์ จ.อดุ รธานี หมายเลขโทรศัพท์ 085-7423676 สมั ภาษณว์ นั ที่ 11 ธันวาคม 2556 ประวตั เิ ป็นมาของลายผา้ : ลายผ้าเกิดจากความคิดริเร่ิมดั่งเดิมต้ังแต่สมัยปูุยาตายายของชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่ใน บ้านดงยาง-พรพิบูลย์ อาเภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานี สมัยก่อนเรียกลายผ้านี้ว่า”ลาย กุญแจบ่ไข” ซึ่งเป็นลายที่มีลักษณะคล้ายแม่กุญแจหลายๆดอกต่อกัน ปัจจุบันนี้ ได้เปลี่ยนชื่อ มาเป็น”ลายกุญแจประยุกต์”และมีการปรับเปล่ียนลายผ้าใหม่ขึ้นเพ่ือให้ได้ลายผ้าใหม่ที่ สวยงาม ประณีต เกิดความหลากหลายและเป็นที่ต้องการของคนรุ่นใหม่ ปัจจุบันมีการ สร้างสรรค์ลายผ้าหลากหลายลวดลายโดย มีทั้งลายท่ีพัฒนาประยุกต์มาจากลายเดิมท่ีมีอยู่ และคิดค้นประดิษฐ์ลวดลายข้ึนใหม่เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่และเป็นการเพ่ิมทางเลือกใหม่ ให้ผู้บริโภคลายผ้าต่างๆลายผ้าใหม่ท่ีเกิดข้ึนเกิดการคิด การออกแบบร่วมกันของคนในชุมชน ซึ่งนอกจากจะเป็นการสร้างอาชีพสร้างรายได้แล้วยังเป็นการเชื่อสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน อกี ดว้ ยจุดเด่นของผ้า นอกจากจะมีลายที่สวยงามแปลกใหม่แต่ยังคงซ้ึงความเป็นเอกลักษณ์ของผ้าไทยแล้ว ยังไดน้ าสี “คราม”ซ้ึงเป็นสีที่สกัดจากต้นครามมาใช้ในการย้อมผ้าทาให้ลายผ้าเกิดสีท่ีโดดเด่น มาก และเป็นท่ีต้องการของท้องตลาด ซึ่งผ้ามัดหม่ีย้อมครามนี้นับว่าเป็นเอกลักษณ์ท่ีสาคัญ ของชุมชนและเป็นที่แพร่หลายประจักษ์แก่สายตาของผู้คนทั่วทุกภาคในประเทศไทย ผ้า มัดหมี่ย้อมครามของอาเภอพิบูลย์รักษ์จึงเป็นที่รู้จัก โด่งดัง มีชื่อเสียงแห่งหน่ึงในวงการผ้า มัดหม่ี ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ จังหวัดอดุ รธานี
244 ภาพที่ 152 ผ้ามัดหม่ลี ายกญุ แจประยกุ ต์ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นจังหวดั อุดรธานี
245 11. ชื่อภูมิปัญญาด้านแบบลายผ้า ผา้ ท่อลาย กรมปุาไม้ ชือ่ ผใู้ ห้ข้อมลู นางสมบูรณ์ เรอื งสิน อายุ 52ปี ทีอ่ ยบู่ ้านเลขท่ี 76 หมู่ 9 บ้านหนองกาลึม ต.เมืองพาน อ.บ้านผือ จ.อดุ รธานี หมายเลขโทรศัพท0์ 81-181-3931 วนั ท่ีสมั ภาษณ์ วนั ท่ี7ธนั วาคม 2556 ประวตั ิ / ความเปน็ มา ลายผ้าเกิดขึ้นจากของภูมิปัญญาของหมู่บ้าน และได้ทาการทดลองมัดลายผ้าให้ได้ ตามแบบท่ีตั้งไว้ซึ่งในที่นี้คือลายกรมปุาไม้ที่ชาวบ้านได้คิดข้ึน เนื่องจากภูมิอากาศและบริเวณ พน้ื ทนี่ น้ั เป็นพื้นทีใ่ กล้ภเู ขาและได้มีผู้แนะนาทาลายกรมปุาไม้น้ีคือท่านเดชศักด์ิ บุตรดี ท่านได้ ดารงตาแหน่งอยู่ท่ีกรมปุาไม้นั้นชาวบ้านเลยได้ทาผ้ามัดหมี่เป็นสัญลักษณ์กรมปุาไม้เพื่อได้ แสดงถงึ ความคดิ สร้างสรรค์ของชาวบา้ นและสัญลักษณ์ของหมบู่ ้านซง่ึ สบื ทอดมาจนถึงปจั จบุ นั ภาพที่ 153 นางสมบูรณ์ เรืองสิน ภมู ิปัญญาท้องถิน่ จงั หวัดอดุ รธานี
246 ภาพที่ 154 ผ้าท่อลาย กรมปาุ ไม้ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินจงั หวัดอดุ รธานี
247 12. ชื่อภูมปิ ัญญาดา้ นแบบลายผา้ ผา้ ท้อลายหม่ดี อกแก้ว ช่อื ผู้ให้ขอ้ มูล คุณยายบญุ ถม ทักษณิ บุตร อายุ 66 ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี 17 หมู่ 3 บ้านดงใหญ่ ต. เชียงหวาง อ.เพ็ญ จงั หวัดอุดรธานี สมั ภาษณ์วนั เสาร์ที่14 ธนั วาคม พ.ศ.2556 ประวตั ิ ความหมายของลายผ้า ลายผ้าเกิดจากความคิดของบรรพบุรุษ ได้คิดมาประยุกต์ตกแต่งใส่เป็นเคร่ืองนุ่งห่ม โดยได้คิดค้นกานมัดหมี่ผ้าให้เป็นลายหรือสัญลักษณ์ของท้องถ่ิน โดยบ้านดงใหญ่อยู่ใกล้บ้าน นาข่าและจังหวัดหนองคายซ่ึงได้รับลายส่วนมากจะเป็นลายนาค ไม่ว่าจะ นาคหัวโป นาคง่า ชาวบา้ นแถวนนี้ ยิ มรับจ้างรบั ผา้ ท่บี า้ นนาข่ามาท้อท่ีบา้ น ส่วนลายนาค ลายหมีด่ อกแกว้ ผู้คิดค้นเป็นบรรพบุรุษได้ถ่ายทอดต่อๆกันมาจนถึงรุ่นหลัง เม่ือเห็นว่าลายผ้าสวยก็ได้ แพร่กระจายพากันทอ้ และสง่ เข้าบา้ นนาขา่ ตดั เปน็ ชุดขาย ภาพที่ 155 คณุ ยายบุญถม ทักษิณบุตร ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ จงั หวดั อุดรธานี
248 ภาพที่ 156 ผา้ ทอ้ ลายหมีด่ อกแกว้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ จงั หวัดอุดรธานี
249 บรรณานกุ รม ขวัญ สงวนเสริมศรี. (2552). เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชา อารยธรรมและ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น :อารยธรรมตะวันตกและอารยธรรมตะวันออก. จารวุ รรณ โปษยานนท์. (2551). เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ า อารยธรรม และภมู ิ ปัญญาท้องถนิ่ : พัฒนาการของวัฒนธรรมไทย (สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ – ปจั จุบนั ) . ฉลาดชาย รมิตานนท.์ 2536. “ความหลากหลายทางชีวภาพ:ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ กบั การพัฒนา”.ใน ววิ ฒั น์คตธิ รรม นติ ย์ (บรรณาธกิ าร). สทิ ธิชุมชนการกระจายอานาจจัดการทรพั ยากร. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั ชมุ ชนท้องถิน่ พัฒนา ถวัลย์ มาศจรัส. 2543. สารวย มีสมชัย ครูภูมิปัญญาไทย เพชรแท้ของแผนดิน. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั ต้นออ้ 1999 จากัด. นันทสาร สีสลบั . 2542. “ภูมิปัญญาไทย” . สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน เล่ม 23. นิติ เอ่ียมชื่น. (2552). เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ า อารยธรรมและภมู ิ ปญั ญาท้องถ่ิน : ภูมศิ าสตรว์ ฒั นธรรม. ประกอบ ใจม่ัน. 2539. การศึกษาสภาพและความต้องการเกย่ี วกับการใชภ้ มู ิ ปญั ญาท้องถน่ิ ในการ เรยี นการสอนในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สงั กดั สานกั งานการประถมศกึ ษาจงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ตอนลา่ ง . กรงุ เทพมหานคร: วิทยานพิ นธป์ ริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ประยงค์ จนั ทรแ์ ดง. (2552). เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ า อารยธรรม และภมู ปิ ัญญา ท้องถ่ิน : ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินภาคอีสาน. ประเวศ วะสี. 2536. “การศึกษาของชาติ กับภูมิปัญญาท้องถิ่น”. น.17- 19. ใน เสรี พงศ์พิศ. (บรรณาธิการ). 2536. ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพ์ ร้นิ ตง้ กรุ๊ป. พรชัย กาพันธ์. 2545. กู้วิกฤติการศึกษาด้วยภูมิปัญญาไทย”. วารสารวิชาการ. 7 (กรกฎาคม 2545): มาลินี สวยคา้ ข้าว. 2538. การใชภ้ ูมิปญั ญาท้องถิ่นในการเรียนการสอนสงั คม ศกึ ษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สงั กัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5. กรงุ เทพมหานคร: วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท, จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ จงั หวัดอุดรธานี
250 ยุพา ทรัพย์อุไรรัตน.์ 2537. การใช้ภูมิปัญญาชาวบา้ นในการศึกษานอกระบบ โรงเรยี นภาคตะวนั ออก. กรงุ เทพมหานคร:วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาโท,จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . รตั นะ บวั สนธ.์ิ 2535. การศึกษาหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื การ ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่นิ : กรณศี ึกษาชมุ ชนแห่งหนงึ่ ในเขตภาคกลางตอนล่าง. กรุงเทพมหานคร: วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท, มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. ราชกจิ จานเุ บกษา. 2542. 116 ตอนท่ี 7 ก, . 37. รงุ่ แกว้ แดง. 2543. ปฏบิ ตั ิการศกึ ษาไทยกรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์มตชิ น. วันเพญ็ พวงพนั ธบ์ ุตร. 2542. พื้นฐานวัฒนธรรมไทย.ลพบรุ ี: สถาบนั ราชเทพสตร.ี วิถี พานชิ พนั ธ.์ (2547).ผ้าและสงิ่ ถกั ทอไทย. หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ซลิ คเ์ วอร์ม,เชยี งใหม่. วบิ ูลย์ ล้สี ุวรรณ. ศลิ ปหัตถกรรมพนื้ บา้ น.กรงุ เทพฯ:สานกั พิมพป์ าณยา,2527. สนม ครฑุ เมือง. สารานกุ รมพืน้ บ้านไทยในอดีต. กรงุ เทพฯ:สานกั พิมพ์ต้นอ้อ,2534. ศริ พิ งษ์ นวลแก้ว. 2540. การนาภมู ปิ ัญญาชาวบ้านมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ระดบั ท้องถน่ิ ของโรงเรยี นประถมศึกษา สงั กัดสานักงานการประถมศึกษา จังหวดั แมฮ่ ่องสอน. กรงุ เทพมหานคร: วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท, มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. สัญญา สัญญาวิวัฒน์.2534. ภูมปิ ญั ญาไทย. กรงุ เทพมหานคร: สถาบันไทยศึกษา. สาธิต เช้อื อยนู่ าน. (2552). เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา อารยธรรมและ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ : เศรษฐกิจวัฒนธรรม. สามารถ จันทร์สูรย์.2534.ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั อมรนิ ทร์พร้นิ ต๊ิงกร๊ปุ . สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาต.ิ 2537.แนวทางการพฒั นาลักสูตร ทอ้ งถ่ินโดยภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นในโรงเรยี นสงั กดั สปช. กรงุ เทพมหานคร:โรงพมิ พค์ รุ ุสภา. ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร รม ก า ร วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ง ช า ติ . 2 5 3 4 .ภู มิ ปั ญญ า ช า ว บ้ า น กั บ ก า ร ดาเนนิ งานดา้ นวฒั นธรรมและการพฒั นาชนบท.กรงุ เทพมหานคร:บรษิ ทั อมรนิ ทร์พริ้นติ้งกร๊ปุ . เสรี พงศ์พิศ.2536.ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท.กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพ์ ร้ินต้งิ กร๊ปุ แอนด์ พบั ลชิ ช่งิ . อังกลู สมคเนย.์ 2535. สภาพและปัญหาการนาภูมิปัญญาชาวบา้ นมาใช้พฒั นา หลักสูตรโรงเรยี นประถมศึกษา สังกดั สานักงานการประถมศกึ ษา จังหวดั อุบลราชธานี. กรุงเทพมหานคร: วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท, จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เอกวิทย์ ณ ถลาง. 2540. ภูมิปญั ญาสภี่ าควถิ ชี วี ติ และกระบวนการเรยี นรู้ของ ชาวบา้ นไทย. นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจงั หวดั อดุ รธานี
251 ภาคผนวก ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นจังหวดั อดุ รธานี
252 ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ จงั หวดั อดุ รธานี
253 แบบบันทกึ ภมู ิปญั ญา ชื่อภมู ิปัญญา ......................................................... ชอ่ื ผ้ใู ห้ข้อมูล .........................................................อายุ ………………. ปี ทอี่ ยู่ ......................................................... ......................................................... สมั ภาษณว์ ันที่ ......................................................... เบอร์โทรศพั ท์......................................................... ประวตั คิ วามเปน็ มา ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ขน้ั ตอน วธิ ีการปฏบิ ัติ ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... วตั ถุดิบทีใ่ ช้แหลง่ ท่มี า ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... วตั ถุประสงค/์ ประโยชน์ ......................................................... ......................................................... ......................................................... ......................................................... ภมู ิปัญญาท้องถ่ินจังหวดั อุดรธานี
254 ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ จงั หวดั อดุ รธานี
255 ประวัติผเู้ รียบเรยี ง ช่ือ-สกลุ นางสาวนวรตั น์ บุญภลิ ะ ตาแหน่ง - หัวหน้ากลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ สานักวิชาศกึ ษาท่ัวไป มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี - อาจารย์สอนรายวชิ าสังคมวฒั นธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ,รายวิชาวถิ ไี ทย พ้ืนถ่ินอดุ รธานี คุณวฒุ ิประวตั กิ ารศึกษา - ศศบ.ศิลปศาสตร์บัณฑติ การพัฒนาชมุ ชน คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร พ.ศ. 2538 - ศศม. ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ. 2541 ประวัตกิ ารทางาน ๑. อาจารย์โรงเรยี นศกึ ษาพเิ ศษสุพรรณบุรี พ.ศ. 2540- 2544 ๒. อาจารย์พิเศษโรงเรียนเทคนิคบรรหาร-แจ่มใส พ.ศ. 2541-2544 ๓. อาจารย์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน ผลงานเดน่ / ผลงานวจิ ยั ๑. เรยี บเรียงเอกสารประกอบการสอน วิชาวิถไี ทย ๒. เรยี บเรียงเอกสารประกอบการสอน วิชาสงั คมวฒั นธรรมไทยและภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถ่นิ ๓. เรยี บเรยี งเอกสารประกอบการสอน วชิ าวิถีไทย พ้ืนถิ่นอุดรธานี ๔. งานวจิ ัยความสานึกในคณุ ค่าวัฒนธรรมไทยของนักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏ อดุ รธานี ปีการศึกษา 2545.หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ อุดรธานี ทีอ่ ยู่ท่ตี ดิ ตอ่ สะดวก สานักวชิ าศึกษาทว่ั ไป มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี หมายเลขโทรศัพท์ 086-4515093 E-mail: [email protected] ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นจงั หวดั อดุ รธานี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266