Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กล้วยกินได้

Description: กล้วยกินได้

Search

Read the Text Version

กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร เนือ่ งในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2561

คณะทป่ี รกึ ษา อธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตร นายสุวทิ ย์ ชัยเกยี รติยศ รองอธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร นายอุทยั นพคุณวงศ์ รองอธบิ ดกี รมวิชาการเกษตร นางสาวศิริพร บญุ ชู รองอธบิ ดีกรมวชิ าการเกษตร นายวราวธุ ชูธรรมธชั ผู้อา� นวยการสถาบนั วิจัยพืชสวน นายสมบัติ ตงเต๊า ผู้อ�านวยการสา� นักคุ้มครองพันธพ์ุ ชื นายอนันต์ อักษรศรี ผูอ้ า� นวยการศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นางเสรมิ พร กง่ึ พุทธิพงศ์ ผู้อ�านวยการกองวิจยั และพฒั นาวทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกยี่ ว นายชูชาติ วัฒนวรรณ และผลิตผลเกษตร ที่ปรึกษากรมวชิ าการเกษตรดา้ นโครงการพระราชด�าริ นางศรัณยา บุษปฤกษ์ ผู้อา� นวยการศนู ยว์ ิจยั พืชสวนสุโขทัย สถาบนั วิจัยพืชสวน นายไกรสิงห์ ชูดี ผู้อา� นวยการศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาการเกษตรปทุมธานี นายธรรมรัตน์ ทองมี บรรณาธิการ นางเพ็ญจันทร์ สทุ ธานุกลู คณะบรรณาธิการ นายทวีศักดิ์ แสงอุดม นางเบญ็ จวรรณ์ จ�ารูญพงษ์ นายพรเทพ ทว้ มสมบญุ นางวรรณา ปญั จสมานวงศ์ นายบดนิ ทร สอนสภุ าพ นางสาวปาจรีย์ อินทะชุบ นางสาวนงนชุ อนรุ กั ษ์ตระกลู นายพรี ณฐั ทองมาก นางสาวอุทยั วรรณ ทรพั ย์แกว้ นางอัครชาพรรณ กวางแก้ว นางสาวรงุ้ ลาวัลย์ อินต๊ะวงศ์ นางสาวอบุ ล ศิรวิ ฒั น์ นายนพรตั น์ ทูลมาลย์ นายเรืองเดช ศรีวัฒน์ นางสาวมนนั ญา กฎุ มณี นายสรุ ศักด์ิ แยม้ โคกสูง นายสมคั ร รตั นทิพย์ นายพงค์พิพฒั น์ ร�าพึง นายปิยะพงษ์ รชั นีกร นายจกั รกฤษณ์ โปตะวฒั น์ นายทวีศักด์ิ ขตั ยิ ศ นางสาวพชั ราภรณ์ เพช็ รมณี นางสาวนิภาพร จันทรังศรี นายชยั สิทธ์ิ บุญโปร่ง นายจงเดน่ ปานเนยี ม นายธนทร ระดมเล็ก นายประดษิ ฐ์ รตั นานพุ งศ์ ผเู้ รียบเรียงข้อมูล นายวนิ ยั สมประสงค์ ออกแบบรปู เลม่ และงานกราฟฟิก นายสมัคร รัตนทพิ ย์ พมิ พ์ที่ เกนิ ค้มุ มเี ดยี 110/24 ต�าบลมหาสวสั ด์ิ อ�าเภอบางกรวย จงั หวัดนนทบรุ ี 11130 โทร. 029851674 E–mail : [email protected] จา� นวน 1,000 เลม่ ISBN 978–616–358–359–8





ค�ำนำ� กรมวิชาการเกษตร เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจศึกษาวิจัยและพัฒนาพืช ซ่ึงมีสถาบันวิจัยพืชสวน เป็นหน่วยงานหลักในการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย ด้านการผลิต ด้านมาตรฐานการผลิตและคุณภาพ และด้านเศรษฐกิจ พืชสวน รับผิดชอบงานวิจัยพัฒนาพืชสวน จ�านวน 5 กลุ่มพืช โดยมีศูนย์วิจัยพืชสวน เครอื ขา่ ย จา� นวน 11 ศนู ย์ ในจา� นวนนนั้ มศี นู ยว์ จิ ยั พชื สวนสโุ ขทยั เปน็ หนว่ ยงาน ท่ีรับผิดชอบรับผิดชอบพืชหลัก คือ กล้วย ซ่ึงมีพันธุ์กล้วยปลูกรวบรวมพันธุ์ จา� นวน 206 ตวั อยา่ งพนั ธ์ุ สว่ นใหญเ่ ปน็ กลว้ ยกนิ ได้ ซง่ึ ใชป้ ระโยชนใ์ นการวจิ ยั และพัฒนาของศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชสวนสุโขทัยเป็นกิจกรรมหลัก และมีการ บนั ทกึ ขอ้ มลู ลกั ษณะประจา� พนั ธต์ุ ามมาตรฐานสากลในระบบขอ้ มลู พนั ธพ์ุ ชื สวนแลว้ จ�านวน 70 พันธุ์ นอกจากน้ี ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัยยังสนับสนุนพันธุ์กล้วย ใหก้ บั เกษตรกร หนว่ ยงานภาคเอกชน และภาครฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในกจิ กรรมการผลติ พันธุ์พืชและปัจจัยการผลิตตามผลผลิตท่ี 2 จึงนับว่าศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย เปน็ หนว่ ยงานทม่ี ขี อ้ มลู พนั ธก์ุ ลว้ ยมากทสี่ ดุ ของกรมวชิ าการเกษตร และเนอ่ื งใน โอกาสที่กรมวิชาการเกษตรมีการสถาปนาครบรอบ 46 ปี ในปี พ.ศ. 2561 น้ี กรมวิชาการเกษตร โดยสถาบันวิจัยพืชสวน จึงจัดท�าหนังสือ “กล้วยกินได้ ของกรมวชิ าการเกษตร” เพอ่ื เปน็ การเผยแพรข่ อ้ มลู ความรดู้ า้ นความหลากหลาย ของพันธุ์กล้วยท่ีมศี ักยภาพทางการผลติ และมีคุณค่าด้านการอนุรกั ษ์และการใช้ ประโยชนด์ า้ นอนื่ สา� หรบั ผสู้ นใจสามารถนา� ไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู อา้ งองิ ทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ ไป (นายสวุ ิทย์ ชัยเกยี รตยิ ศ) อธบิ ดกี รมวชิ าการเกษตร



สำรบญั กล้วยนิ้วจระเข้ 37 กล้วยไข่ 25 กล้วยตานี 10 43 บทที่ 1 บทน�า 9 บทท่ี 2 สถานภาพการอนุรักษ์และ 15 ใช้ประโยชน์พันธุกรรมกล้วยของกรมวิชาการเกษตร 27 บทที่ 3 ข้อมูลลักษณะทางสัณฐานของกล้วย 41 บทท่ี 4 ข้อมูลลักษณะประจ�าพันธุ์กล้วย 77 บทที่ 5 ลักษณะประจ�าพันธุ์กล้วยกินได้ของกรมวิชาการเกษตร 224 229 เอกสารอ้างอิง 233 ดัชนีชื่อสามัญ 237 ดัชนีช่ือวิทยาศาสตร์ ภาคผนวก 220 กล้วยหิน กล้วยน้�าว้าสุโขทัย 4 173 31 ผลกล้วย



เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 º··èÕ 1 º·¹íÒ กล้วยเป็นพืชท่ีชอบอากาศร้อนชื้น ถ่ินก�าเนิดของกล้วยอยู่บริเวณแถบเอเชีย ตอนใต้ ซึ่งมักจะพบกล้วยพ้ืนเมืองท้ังท่ีมีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลการ ย้ายถ่ินฐานของประชากรโลก จึงมีการอพยพของประชากรจากเอเชียตอนใต้ไปยัง หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งแต่ต้นคริสตศักราช ในการอพยพแต่ละคร้ังต้องมีการ นา� เอาพนั ธ์ุพืชตดิ ไปดว้ ย ดงั นนั้ จึงมกี ารน�าเอาหน่อกลว้ ยไปปลูกแถบหม่เู กาะฮาวาย และหมเู่ กาะทางดา้ นตะวนั ออกหมเู่ กาะตาฮติ ิ หมเู่ กาะฟจิ ิ ซง่ึ ในชว่ งทม่ี กี ารสา� รวจหมู่ เกาะโพลนี เิ ซยี พบวา่ เกาะตาฮาตมิ กี ลว้ ยอยถู่ งึ 28 ชนดิ นอกจากน้ี ยงั พบสารานกุ รม จีนบันทึกว่า มีกล้วย 12 ชนิด ที่ปลูกอยู่ในประเทศจีนระหว่างปี ค.ศ. 1622–1726 และพบวา่ มกี ลว้ ยอย่ทู กุ ภาคของประเทศจนี ทั้งกลุ่มท่มี ีดอกและไม่มีดอก ประมาณ 327 ปี ก่อนครสิ ตศักราช ไดม้ ีการน�ากล้วยจากประเทศอนิ เดียไปยัง อาหรับ และเป็นที่ช่ืนชอบของชาวอาหรับมากและเรียกชื่อกันว่า muz ซ่ึงเข้าใจว่า มาจากภาษาสันสกฤต และ Linnaeus นักพฤกษศาสตร์คนส�าคัญของโลกได้ตั้งชื่อว่า Musa เพ่ือเป็นเกียรติกับ Antonius Musa ซึ่งเป็นแพทย์ประจ�าพระองค์ของ จกั รพรรดกิ รงุ โรมและเปน็ ผนู้ า� กลว้ ยจากอนิ เดยี ไปยงั อาหรบั เนอ่ื งจากอาหรบั ทา� การคา้ กบั ประเทศแถบทวปี แอฟรกิ า ดงั น้ัน กลว้ ยจากประเทศกลุม่ อาหรบั จึงไดแ้ พร่เขา้ ไปยัง ทวีปแอฟริกาตะวันออกและตะวันตก ตามล�าดับ ช่วงดังกล่าวเป็นช่วงเดียวกับท่ีชาว โปรตุเกสค้นพบท่ีฝั่งกินี คือช่วงปี ค.ศ. 1469–1474 ชาวแอฟริกากล่าวว่า ค�าว่า banana น่าจะมาจากรากศัพท์ของภาษาในแอฟริกาตะวันตก คือค�าว่า banana ซ่ึงค�าน้ีได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายโดยชาวโปรตุเกสที่ส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นพ่อค้า และได้เดินทางไปค้าขายในแอฟริกา จึงได้มีการน�าเอากล้วยจากทวีปแอฟริกาไปยัง หมเู่ กาะแคนารจ่ี งึ ทา� ใหเ้ ขา้ ใจกนั วา่ การนา� กลว้ ยเขา้ สทู่ วปี อเมรกิ าเกดิ ขนึ้ ในชว่ งหลงั จาก โคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา และการปลูกกล้วยได้เพมิ่ ปรมิ าณข้นึ อย่างรวดเร็วจนเป็น พืชเศรษฐกจิ ในศตวรรษที่ 19 เปน็ ต้นมา กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 9

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมกี ารปลกู กลว้ ยกนั มายาวนาน กลว้ ย ท่ีปลูกมีมากมายหลายชนิด พันธุ์กล้วยท่ีใช้ปลูกใน ประเทศไทยมาต้ังแต่สมัยโบราณนั้น มีทั้งพันธุ์พื้นเมือง พันธ์ุด้งั เดมิ และพนั ธุท์ ่นี า� เขา้ มาจากตา่ งประเทศ กล้วย ทรี่ จู้ กั กนั ในสมยั สโุ ขทยั คอื กลว้ ยตานี ซง่ึ พบวา่ ในปจั จบุ นั จังหวดั สุโขทัยกย็ งั มกี ารปลกู กล้วยตานีมากทสี่ ดุ แตไ่ มม่ ี การค้นพบกล้วยตานีในป่าธรรมชาติของไทย กล้วยตานี เป็นกล้วยป่าชนิดหนึ่งท่ีมีถิ่นก�าเนิดอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศอินเดีย จีน และพม่า ดังน้ันจึงสันนิษฐานว่า กล้วยตานีน่าจะน�าเข้ามาปลูกในประเทศไทยตั้งแต่สมัย สโุ ขทยั ตอนตน้ หรอื ชว่ งการอพยพของผคู้ นทม่ี าตง้ั ถนิ่ ฐาน ทส่ี โุ ขทยั ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2236 สมยั อยธุ ยา เดอลาลแู บร์ (De La Loub`ere) อคั รราชทตู ชาวฝรงั่ เศสทเี่ ดนิ ทางมา เมอื งไทยในรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ไดเ้ ขยี น บันทึกถึงส่ิงท่ีเขาได้พบเห็นในเมืองไทยไว้ว่า ได้เห็น กลว้ ยงวงชา้ ง ซงึ่ กค็ อื กลว้ ยรอ้ ยหวใี นปจั จบุ นั ทส่ี ว่ นใหญ่ ปลกู ไวเ้ พอื่ เปน็ ไมป้ ระดบั นอกจากนยี้ งั มรี ายงานวา่ มกี าร ค้าขายกล้วยตีบ ในสมัยนั้นจึงแสดงให้เห็นว่า ได้มีการ ปลูกกล้วยท้ังเพ่ือการบริโภคและปลูกเป็นไม้ประดับ เมือ่ สมยั ก่อนแล้ว 10 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ต่อมา ปี พ.ศ. 2427 พระยาศรีสุนทรโวหาร 1,550 กิโลกรัมต่อไร่ นับเป็นแหล่งปลูกกล้วยตานี ไดก้ ลา่ วถงึ กลว้ ยหลายชนดิ เปน็ กาพยฉ์ บงั 16 ในชว่ ง เพ่ือตัดใบขายแหล่งใหญ่ท่ีสุดของประเทศ การปลูก ปี พ.ศ. 2484 เปน็ ตน้ มา ภายหลงั จากทน่ี กั วชิ าการได้ กลว้ ยตานขี องทน่ี จี่ ะมที ง้ั ทป่ี ลกู เปน็ พชื เดย่ี วและปลกู เรมิ่ จา� แนกชนดิ ของกลว้ ยตามลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เปน็ พชื แซมในสวนไมผ้ ล โดยมกี ารปลกู กนั มากในเขต โดยใช้จีโนมของกล้วยเป็นตัวก�าหนดในการแยกชนิด ต�าบลบางยม ย่านยาว ปากน�้า ท่าทอง เมือง และ ตามแนวทางของ Simmonds และ Shepherd คลองกระจง โดยเฉพาะในเขตต�าบลคลองกระจง ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น จึงกล่าวได้ว่า กล้วยที่บริโภค มีพ้ืนท่ีมากท่ีสุดกว่า 8,000 ไร่ กนั อยใู่ นปจั จบุ นั มวี วิ ฒั นาการมาจากกลว้ ย 2 ชนดิ คอื กล้วยป่า (Musa acuminata Colla) และกลว้ ยตานี กล้วยตานเี ป็นกล้วยป่าชนดิ หนงึ่ ใบมีลกั ษณะ (M. balbisiana Colla) กล้วยทีม่ ีก�าเนิดจากกลว้ ยปา่ สวย มนั เงา ขนาดใบยาว กว้าง และเหนยี ว ในอดตี มีจีโนมเป็น AA ส่วนกล้วยที่มีก�าเนิดจากกล้วยตานี นิยมน�าใบกล้วยตานีมาม้วนบุหร่ีและใช้ท�าภาชนะ มีจีโนมเป็น BB และกล้วยลูกผสมของทั้ง 2 ชนิด บรรจอุ าหาร ดว้ ยคณุ สมบตั โิ ดดเดน่ ของใบกลว้ ยตานี มจี ีโนมเป็น AAB, ABB, AABB และ ABBB จึงน�ามาใช้เพื่อบรรจุห่อขนมต่างๆ มาจนถึงปัจจุบัน สว่ นของปลี หยวก และผลออ่ นนา� มาประกอบอาหาร ปจั จบุ นั นี้ จงั หวดั สโุ ขทยั มชี อื่ เสยี งในการปลกู แต่ผลแก่ไม่นิยมรับประทานเพราะมีเมล็ดมาก มีข้อ กล้วยตานีในต�าบลคลองกระจง อ�าเภอสวรรคโลก สนั นษิ ฐานวา่ กลว้ ยตานนี า่ จะนา� เขา้ มาปลกู ในเมอื งไทย ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพปลูกกล้วยตานีขายใบตอง ตั้งแต่สมัยสุโขทัยตอนต้น หรือช่วงที่คนไทยอพยพ กันมานานประมาณ 40–50 ปีมาแลว้ มีการสบื ทอด เข้ามาต้ังถ่ินฐานที่สุโขทัย ซ่ึงในวันน้ีจังหวัดสุโขทัย อาชีพกันจากรุ่นสู่รุ่นปัจจุบัน มีพ้ืนท่ีปลูกกล้วยตานี มีการอนุรักษ์และเป็นแหล่งปลูกกล้วยตานีมากท่ีสุด เพ่ือตัดใบตองมากที่สุดในประเทศ 17,870 ไร่ ของประเทศ จงึ เปน็ แหลง่ สา� คญั ในการจา� หนา่ ยใบตอง ผลผลิตรวมท้ังจังหวัด 25,540 ตัน ผลผลิตเฉล่ีย และผลผลติ กลว้ ยตานสี ง่ ออกไปยงั ตา่ งประเทศอกี ดว้ ย กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 11

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 สา� หรบั ผลผลติ ใบตองจะมกี ารตดั ใบตองสง่ ขาย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา ปัจจุบัน มีกล้วย ทกุ วัน เฉลย่ี วนั ละ 20–30 ตนั โดยผลผลิตสว่ นใหญ่ พนั ธต์ุ า่ งๆ รวบรวมไวม้ ากกวา่ 200 พนั ธ์ุ สว่ นใหญ่ จะขายตลาดในประเทศ เช่น ตลาดปากคลองตลาด เป็นกล้วยน้�าว้า กล้วยไข่ กล้วยหอม กล้วยป่า ตลาด อตก. ตลาดไทย ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดกลาง กล้วยตานี และกล้วยพันธุ์พื้นเมือง ซึ่งแหล่ง ภาคเหนอื จงั หวดั เชยี งใหม่ ตลาดกลางภาคตะวนั ออก พันธุกรรมได้มาจากกล้วยท่ีรวบรวมพันธุ์ไว้เดิม เฉยี งเหนอื จงั หวดั ขอนแกน่ สา� หรบั ตลาดตา่ งประเทศ และจากสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ กรุงเทพฯ เชน่ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า สาธารณรัฐประชาชนจนี โครงการการคัดเลือกสายพันธุ์กล้วยน้�าว้าท่ีมี ญป่ี นุ่ ไตห้ วนั ฮอ่ งกง ประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี น และ ศักยภาพทางการค้าเพื่อการบริโภคสด อาหาร ประเทศในสหภาพยุโรป เพอื่ สขุ ภาพและการแปรรปู โครงการศกึ ษาการจดั การ เทคโนโลยีการผลิตกล้วยไข่คุณภาพในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากคุณภาพของใบตองกล้วยตานีจาก ภาคเหนือตอนล่าง และมีการขายพันธุ์เพื่อจ�าหน่าย จังหวัดสุโขทัยเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและ ให้แกเ่ กษตรกรและผูท้ ส่ี นใจในราคาถูก เพอ่ื เป็นการ ต่างประเทศ มีพ้ืนที่การผลิตกล้วยตานีเชิงพาณิชย์ กระจายสายพันธุ์กล้วยออกไปในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย มากทส่ี ุดในประเทศไทย จา� นวน 16,262 ไรค่ ดิ เปน็ และแหลง่ อื่นๆ ให้เปน็ อีกชอ่ งทางหนงึ่ เพ่อื เกษตรกร 96% ของประเทศ จากการผลิตทั้งประเทศ ปี พ.ศ. และผู้สนใจได้เลือกซื้อพันธุ์กล้วยและพันธุ์พืชท่ี 2559 มีพ้ืนท่ีปลูกกล้วยตานี 16,915 ไร่ ท�าให้ ได้คุณภาพ ราคายุตธิ รรม นอกจากกล้วยมปี ระโยชน์ สุโขทัยเป็นแหล่งปลูกกล้วยตานีที่ส�าคัญและมี ในการแปรรปู ด้านตา่ งๆ ยังมีศกั ยภาพในการแปรรูป ช่ือเสียงของประเทศ กรมวิชาการเกษตรเล็งเห็น เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพ่ือสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ท่ีมี ความส�าคัญของการวิจัยและพัฒนากล้วย จึงให้ สารประกอบแทนนินสูง ผลิตภัณฑ์อาหารประเภท ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย เป็นแหล่งวิจัยรวบรวม เสน้ แป้งเพอื่ สุขภาพ น้า� ตาลฟรุก้ แตน พนั ธก์ุ ลว้ ย และเปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นวชิ าการเกย่ี วกบั กลว้ ย 12 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 นอกจากนี้มีพันธุ์กล้วยไทยอีกหลายชนิด มีพ้ืนท่ีปลูกกล้วยที่เป็นการค้าท้ังส้ิน 173,399 ไร่ ท่ีมีศักยภาพ ท้ังในรูปกล้วยสดและแปรรูปเป็น ส่วนใหญ่เป็นกล้วยหอม 102,613 ไร่ ผลผลิต ผลิตภัณฑ์ใหม่ พันธุ์กล้วยของไทย มีเอกลักษณ์ 233,461 ตัน และกล้วยไข่ 70,786 ไร่ ผลผลิต โดดเด่น ในด้านรสชาติ กล่ิน เป็นที่ต้องการของ 168,221 ตัน ตลาดต่างประเทศ พ้ืนที่ปลูกกล้วย ปี พ.ศ. 2559



เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 º··èÕ 2 สถานภาพการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ พันธุกรรมกล้วยของกรมวิชาการเกษตร การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของกรมวิชาการเกษตร มีความส�าคัญต่อความมั่นคง ของอาหารในอนาคตเป็นอย่างยิ่ง พันธุกรรมพืชถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าและมีความ สา� คญั ตอ่ การปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื ในอนาคต ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมของทรพั ยากร เหลา่ นอ้ี าจจะสญู หายไป เนอ่ื งจากมกี ารใชท้ รพั ยากรพนั ธพ์ุ ชื เพมิ่ มากขน้ึ กรมวชิ าการ เกษตรเป็นหน่วยงานที่ส�าคัญที่สุดท่ีท�างานในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุ์พืช เศรษฐกิจและได้ท�างานต่อเน่ืองกันมาตั้งแต่ก่อต้ังกรมช่างไหมเมื่อปี พ.ศ. 2446 โดยงานในระยะแรกเป็นงานท่ีเน้นการน�าพันธุ์เข้าเพื่อการทดสอบปลูกภายในประเทศ และงานสา� รวจและรวบรวมพนั ธข์ุ า้ วทวั่ ประเทศซง่ึ เรม่ิ ดา� เนนิ การภายใตก้ รมเพาะปลกู เมอ่ื ปี พ.ศ. 2449 ในสว่ นของงานอนรุ กั ษพ์ นั ธพ์ุ ชื ของกรมวชิ าการเกษตรไดร้ บั การทบทวน อยา่ งจรงิ จงั เมอ่ื มกี ารรวมกรมการขา้ วและกรมกสกิ รรมแลว้ ตง้ั เปน็ กรมวชิ าการเกษตร ในปี พ.ศ. 2515 ซึ่งงานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชไม่มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยเฉพาะ แต่อยู่ภายใต้กองและสถาบันวิจัยพืชในขณะน้ัน ในปัจจุบันกรมวิชาการเกษตร โดย สถาบันวิจัยพืชสวนเป็นหน่วยงานหลักแห่งหน่ึงที่ปฎิบัติงานเก่ียวข้องด้านการวิจัย และพัฒนา ตลอดการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยเฉพาะไม้ผล ไม้ยืนต้นอุตสาหกรรม ไมด้ อกไมป้ ระดบั พืชผัก สมนุ ไพร และพชื เครอื่ งเทศ โดยมแี หลง่ รวบรวมข้อมูลแหลง่ พันธกุ รรมพชื สวน ในปัจจบุ ันดงั นี้ v ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย พืชหลักของศูนย์ เช่น ล้ินจี่ ล�าไย ปทุมมาและ กระเจียว v ศนู ยว์ ิจยั เกษตรหลวงเชียงใหม่ พชื หลกั ของศูนย์ เชน่ พลับ ทอ้ พืชสมนุ ไพร เขตหนาว v ศนู ย์วิจยั พชื สวนสโุ ขทยั พืชหลักของศูนย์ เช่นกล้วย มะปราง มะม่วง กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 15

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 v ศูนยว์ จิ ยั พืชเกษตรทสี่ ูงเพชรบูรณ์ พชื หลกั ของศูนย์ เชน่ กาแฟ มะคาเดเมีย v ศนู ย์วิจัยพืชสวนเลย พชื หลกั ของศนู ย์ เชน่ ท้อ กาแฟ มะคาเดเมยี v ศนู ย์วจิ ยั พืชสวนศรีสะเกษ พชื หลกั ของศูนย์ เชน่ มะขามเปรยี้ ว มะม่วงหิมพานต์ พรกิ ข้หี นู v ศนู ย์วิจยั พืชสวนจนั ทบรุ ี พืชหลักของศูนย์ เช่น ทเุ รยี น เงาะ กลว้ ยไมพ้ นื้ เมือง v ศนู ย์วิจัยพืชสวนชุมพร พชื หลักของศนู ย์ เชน่ มะพร้าว กาแฟ สละ v ศูนยว์ จิ ยั พชื สวนตรัง พืชหลกั ของศูนย์ เชน่ ส้มโอ ดาหลา ลองกอง v ศูนย์วิจยั พืชสวนยะลา พืชหลักของศูนย์ เช่น ทเุ รียน ดาหลา หนา้ วัว ส้มพืน้ เมือง ความเปน็ มาของศนู ยว์ จิ ยั พชื สวนสโุ ขทยั เดมิ สงั กดั กองการกสกิ รรมเคมี กรมกสกิ รรม กระทรวงเกษตร ต่อมา ปี พ.ศ. 2515 เปล่ียนชื่อเป็นสถานีทดลองพืชสวนท่าชัย กองพืชสวน ปี พ.ศ. 2546 เปล่ียนเป็น ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิตสุโขทัย 2 ส�านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 และ ปี พ.ศ. 2552 เปล่ียนชื่อเป็นศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย สถาบันวิจัยพืชสวน ปัจจุบันตั้งอยู่เลขท่ี 239 หมู่ 4 ตา� บลทา่ ชยั อา� เภอศรสี ชั นาลยั จงั หวดั สโุ ขทยั 64190 พกิ ดั ของหนว่ ยงาน 47 0585956 M 1924840 ความสูงจากระดับน�้าทะเล 62 เมตร รับผิดชอบงานวิจัยพืชหลักคือ กล้วย (206 พันธุ์) นอกจากน้ี ยังมีการรวบรวมพันธุ์มะม่วง (47 พันธุ์) มะปราง การเปลี่ยนแปลงบทบาทและภารกิจของหน่วยงาน (14 พันธ์)ุ พชื วงศ์สม้ (9 พันธ์ุ) พนั ธ์ุล้ินจี่ (5 พนั ธ)ุ์ ดงั กลา่ ว จงึ มกี ารเปลยี่ นยา้ ยแหลง่ อนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม ไผ่ (9ชนิด 48 พันธุ์) และไม้ผลเขตร้อนอ่ืนๆ การ กลว้ ยมาอยทู่ ศี่ นู ยว์ จิ ยั พชื สวนสโุ ขทยั ไวเ้ พยี งแหง่ เดยี ว รวบรวมพนั ธก์ุ ลว้ ยของกรมวชิ าการเกษตร เดมิ มกี าร ซึ่งปัจจุบันมีการรวบรวมพันธุกรรมกล้วย จ�านวน ปลูกรักษาพันธุ์ไว้ 2 แห่ง คือศูนย์วิจัยและพัฒนา 2 แปลง ในผังแปลง A 9 (ภาพที่ 1 2 และ 3) การเกษตร พิจิตรปลูกรวบรวมไว้จ�านวนท้ังหมด รวมทง้ั สนิ้ 206 ตวั อยา่ งพนั ธ์ุ ประกอบดว้ ยกลว้ ยกนิ ได้ 131 พันธุ์ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ 200 ตัวอย่างพันธุ์ และกล้วยกินไม่ได้หรือกล้วยท่ี ปลูกรวบรวมไว้ท้ังหมดจ�านวน 9 พันธุ์ ต่อมาเมื่อมี ไมน่ ยิ มกิน จ�านวน 6 ตวั อยา่ งพนั ธุ์ ตารางท่ี 1 16 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ตารางท่ี 1 รายชื่อพนั ธ์กุ ล้วยของศนู ยว์ ิจยั พชื สวนสโุ ขทยั สถาบนั วจิ ัยพชื สวน กรมวิชาการเกษตร ชอื่ พนธ์ ช่อื พนธ์ ชอ่ื พนธ์ กล้วยกิน ้ 2. 114 3. กระเจาะเนริ กสรุ ินทร์ 5. กล้วยโกะ๊ 6. กลว้ ยน�้าชุมพร 1. 113 8. กล้วยฟู 9. กอกหมาก 4. กรู สิรกิ ติ 11. ขม สิริกิต 12. ขา้ งกฎุ ิไสล้ าย 7. กล้วยเปลือกหนา 14. ไข่เกษตรศาสตร2์ 15. ไข่ 1 10. ก้งุ เขียว 17. ไข่ก�าแพงเพชร 18. ไข่ชัยภูมิ 13. ไข่ 20. ไขช่ มุ แพ 21. ไข่ทองรว่ ง 16. ไข่ 3 23. ไข่โนนสงู 24. ไข่โบราณ 19. ไขช่ ุมพร 26. ไขแ่ พร่ 27. ไขม่ หาสารคาม 22. ไข่ทองเอย 29. คอแข็งใต้ 30. งวง 25. ไข่พระตะบอง 32. จีนพัทลุง 33. ว้า (โชควเิ ชยี ร) 28. ครั่ง 35. ซปุ เปอร์แคระ 36. แซ่มา้ 31. จันทรเ์ พ็ญ (ลาว) 38. แดงกา� มะหยี่ 39. ตะโหลน 34. ซาบา้ 41. ตานี 167 42. ตานี A15 37. แซลอ 44. ตาน1ี 00ปลี 45. ตานกี ิง่ จนั ทร์ 40. ตานี 47. ตานีด�า สิริกติ 48. ตานดี า� ก�าแพงเพขร 43. ตานี สริ กิ ติ 50. ตานีท่าใหมจ่ ันทบรุ ี 51. ตานนี ครศรธี รรมราช 46. ตานดี ่าง 53. ตานีหอมทอง 54. ตานีอบุ ล 49. ตานีใต้ 56. ตีบคา� 57. ตีบนครสวรรค์ 52. ตานหี มอ้ 59. โตนดพัทลุง 60. ทองก�าป่ัน 55. ตบี 62. ทองดอกหมาก 63. นา้� วา้ (ทองดี) 58. ตบี มกุ ดาหาร 65. ทองเอย 66. ทองโฮ๊ะ 61. ทองข้ีแมว 68. ทิพรส 69. เทพรส 64. ทองสม้ 71. นมสวรรค์ 72. นมสาวนครศรธี รรมราช 67. ทา่ แมจ่ ันเชยี งราย 74. นมหมี 75. นาก 70. เทพรส พาโล สริ ิกิต 73. นมสาวสวนผงึ้ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 17

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ช่อื พนธ์ ชอ่ื พนธ์ ช่อื พนธ์ กลว้ ยกิน ้ 77. นากมุก 78. นากยกั ษ์ 80. นางกรายสุรินทร์ 81. นา้� กาบดา� จนั ทบรุ ี 76. นากไท 83. น้�าไท สริ กิ ิต 84. น�า้ ฝาดโตนด 79. นางกราย 86. นา�้ วา้ กาบขาว 87. น้�าวา้ ขาวแพร่ 82. น้�าเชยี งราย 89. น้า� ว้าครงั่ 90. น�า้ วา้ คอ่ ม 85. น้�าพทั ลุง 92. น�า้ ว้าแดงนครพนม 93. น�้าวา้ เตีย้ 88. น้�าวา้ เขียวเลย C 95. นา้� ว้าทา่ ใหม่จันทบรุ ี 96. นา้� ว้านครพนม 91. นา้� วา้ ดา� 98. นา�้ วา้ นวลจันทร์ 99. น้�าวา้ นวลท่าตะเกยี บ 94. นา�้ วา้ ทา่ แมจ่ นั เชยี งราย 101. น้�าว้าปากช่อง50 102. นา้� วา้ พัทลงุ 97. น้�าวา้ นครศรธี รรมราช 104. น�้าวา้ แพร่ 105. น�้าว้ามะลิออ่ ง 100. น�้าว้านวลปา่ โมกอา่ งทอง 107. น้า� วา้ ราชบรุ ี 108. น้�าวา้ ส้ม 103. น้า� วา้ เพชรบุรี 110. นา�้ ว้าสโุ ขทยั 1 111. นา�้ ว้าสุโขทยั 2 106. นา�้ วา้ ยกั ษ์ 113. น�า้ ว้าสุโขทยั 4 114. นา้� วา้ สโุ ขทัย 5 109. น้�าว้าสวนผ้ึง 116. น�า้ ว้าสุโขทยั 7 117. น้า� ว้าไส้แดง 112. นา�้ ว้าสโุ ขทัย 3 119. นา�้ วา้ ออ่ งชัยภูมิ 120. น้า� วา้ อีง้าวทา่ ช้าง 115. น้า� ว้าสโุ ขทัย 6 122. นิ้วจระเข้ 123. นิ้วมอื 118. น้า� วา้ เหลอื งบรุ ีรัมย์ 125. นพี แู วน 126. เนอื้ ทอง 121. นา้� ว้าอบุ ล 128. ปลีหาย 129. ปลีหาย พาโลจนั ทบุรี 124. น้ิวมือนาง 131. ปา่ ดอยปยุ 132. ป่าโตนดพทั ลงุ 127. บางคณฑใี น 134. ป่านาเงกิ แพร่ 135. ป่าบา้ นแครร่ ะยอง 130. ปลหี ายเชียงราย 137. ปา่ ปางสดี า 138. ป่ามเู ซอ 133. ป่านครศรีธรรมราช 140. ป่าหลังสวน 141. ปา่ อบิซิเนีย สริ กิ ติ 136. ปา่ ใบไมก่ ระ 143. ปิซงั คาปสั 144. ปซิ งั ตะรอ 139. ป่าสคุ รนิ 146. พม่าแหกคุก 147. พระยาเสวย 142. ปา่ อบิสซเิ นยี นครราชสมี า 149. พาโลกาฬสนิ ธ์ุ 150. พาโลอุบล 145. เปรยี้ วบา้ นไร่ 152. ร้อยหวี 153. ลังกานครสวรรค์ 148. พระราม 155. ลกู มากทา่ ตะเกียบ 156. ลกู ไส้ดา� กา� แพงเพชร 151. มัน 154. ลามตั 18 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ช่ือพนธ์ ชือ่ พนธ์ ชื่อพนธ์ กล้วยกิน ้ 159. เลบ็ มือนาง 162. สากกะเบอื 157. ลูกไสแั ดง 158. เลบ็ ชา้ งกุด 165. หวานทับแมว้ 168. หอมกาฬสนิ ธ์ 160. แลนดี้ 161. วลิ เล่ยี มแคระ 171. หอมจ�าปา 174. หอมตาก 163. สามเดอื น 164. สายนา้� ผง้ึ 177. หอมทองพระประแดง 180. หอมบา้ น 166. หอม 167. หอมกาบดา� เลย 183. หอมเล็กยโสธร 186. หอมอสิ ราเอล 169. หอมค่อม 170. หอมจันทร์ 189. หกั มกุ เขยี ว 192. หิน 172. หอมจนี เชยี งราย 173. หอมซเู ปอรแ์ คระ 195. อีง้าวอบุ ล 198. หก 175. หอมไตห้ วัน 176. หอมทอง 3. บัวชมพู 178. หอมทองสโุ ขทัย 179. หอมนครพนม 6. ฟลาว่าปลเี หลือง 181. หอมผลสน้ั 182. หอมพมา่ 184. หอมส้มเลย 185. หอมหนองคาย 187. หกั มุกนวล 188. หักมุกขาว 190. หักมุกสวนทา่ ยาง 191. หกั มุกสที อง 193. หนิ ยะลา 194. องี า้ วทา่ ช้าง 196. โอกนิ าวา 197. ไฮเกท 199. ป่าปลสี ม้ 200. ป่าปลีเหลอื ง กล้วยกิน ม่ ้ รือกลว้ ยที่ ม่นยิ มกนิ 1. เสือพราน 2. รุ่งอรณุ 4. บวั ม่วง 5. ทหารพราน มายเ ต พันธท์ุ ม่ี กี ารบนั ทึกลักษณะพันธุ์พชื ในฐานข้อมลู แลว้ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 19

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ภาพท่ี 1 แผนผังแปลงรวบรวมพันธุพ์ ืชของศูนยว์ จิ ัยพชื สวนสโุ ขทัย 20 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 หมายเหตุ : รายละเอยี ดแผนผงั แปลง กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 21

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ตาย 39 หนิ ยะลา หนิ ยะลา รอ้ ยหวี เทพรส ตานดี า่ ง ไข่ ม.เกษตร 58 38 57 37 หนิ ยะลา ตบี รอ้ ยหวี เทพรส ตานดี ่าง ไข่ 1 56 55 54 36 กระเจาะเนริ ก ไข่ 3 ไข่ 53 สรุ ินทร์ นา�้ วา้ ค่อม หิน ตบี 1 เทพรส พาโล สิริกติ ตานี 35 เพาะเมล็ด 52 ไขช่ ัยภูมิ 34 หก 51 33 นา�้ วา้ เตย้ี หกั มุกขาว ตบี 2 ขม สิริกิต ปลหี าย พาโล ตานี 167 ไข่ชุมพร หก 50 จนั ทบุรี 49 32 หก 48 หก 47 นา�้ วา้ ยกั ษ์ หกั มุกสที อง ตบี คา� จีนพัทลุง ปลีหายเชยี งราย ตานี A15 ไข่ชุมแพ 31 ไขท่ องรว่ ง หอมจา� ปา 46 ปซิ งั ตะรอ 30 นา�้ วา้ ปากช่อง หกั มกุ ตบี นครสวรรค์ ตะโหลน พาโลกาฬสินธ์ ตานี สริ ิกิต ไขท่ องเอย 45 29 50 44 43 28 พาโลอบุ ล ตานีด�า ไขโ่ นนสูง ปซิ งั คาปัส 42 ก�าแพงเพขร ไข่โบราณ เสอื พราน 41 นา้� วา้ ขาวแพร่ หกั มกุ เขยี ว ตีบมกุ ดาหาร นมสวรรค์ รงุ่ อรณุ 40 27 หนิ 39 26 หนิ น�า้ ว้าด�า หักมกุ น้�าพัทลงุ นมสาว ทิพรส ตานีด�า สิรกิ ิต ไขพ่ ระตะบอง ทหารพราน 38 สวนทา่ ยาง นครศรีธรรมราช 37 25 24 โชควิเชียร นา้� วา้ คร่งั บางคณฑีใน น้า� ฝาดโตนด นมสาวสวนผงึ้ ปลหี าย ตานีใต้ ไขแ่ พร่ ปา่ ดอยปยุ 36 23 ตานี 100 พระยาเสวย ป่าโตนดพทั ลุง 35 ตานีทา่ ใหม่ ไข่ 34 จนั ทบุรี กา� แพงเพชร 33 ไข่ 22 มหาสารคาม 21 จันทร์เพญ็ นา้� วา้ ออ่ งชัยภมู ิ น้า� วา้ ส้ม นา�้ ไทย ทวศี ักดิ์ น้วิ มือ 32 (ลาว) ป่า นครศรีธรรมราช 31 20 น้�าวา้ ปากช่อง นา้� ว้าอบุ ล นา�้ ว้าทา่ แม่จัน นา�้ ไท สิรกิ ติ นิว้ มอื นาง พม่าแหกคกุ ตานี ทองขี้แมว ปา่ นาเงกิ แพร่ 30 19 50 C เชียงราย เล็บชา้ งกุด นครศรีธรรมราช 29 ทองดอก ป่าบา้ นแคร่ 28 18 นา้� วา้ เพชรบุรี น้า� ว้าเหลือง น้า� วา้ ทา่ ใหม่ นา้� เชียงราย น้วิ มอื นางพะเยา ตานหี มอ้ หมาก ระยอง 17 C บุรรี มั ย์ จันทบุรี 27 ทองเอย ป่าใบไมก่ ระ 26 25 24 16 น้�าวา้ เขียวเลย นา้� วา้ ไสแ้ ดง น้�าวา้ แดง น�า้ กาบดา� ลงั กานครสวรรค์ สากกะเบือ ตานีอุบล ทองโฮ๊ะ ปา่ ปลีส้ม 23 15 C นครพนม จันทบรุ ี ทองก�าป่ัน ปา่ ปลีเหลือง 22 ทองส้ม ฟลาว่าปลเี หลือง 14 นา้� วา้ มะลอิ อ่ ง นา้� ว้าสวนผ้ึง น�า้ ว้านครพนม กลว้ ยน้�าชมุ พร นมหมี ลกู มากท่าตะเกยี บ ตานีกง่ิ จันทร์ 21 13 C 20 19 18 12 นา�้ ว้าสุโขทัย 4 นา�้ วา้ ราชบรุ ี นา�้ ว้านครศร ท่าแมจ่ นั กลว้ ยเปลอื กหนา ลกู ไสด้ า� ตานีหอมทอง เลบ็ มอื นาง ป่ามูเซอ 17 11 C ธรรมราช เชยี งราย กลว้ ยฟู ลูกไสัแดง นางกราย กรู สิรกิ ติ ป่าปางสดี า 16 กลว้ ยโกะ๊ ปา่ สุครนิ 10 15 นา�้ ว้าสุโขทัย 5 นา�้ ว้ามะลิออ่ ง น้�าว้านวลจนั ทร์ โตนดพทั ลุง 14 13 9 12 8 น้�าวา้ สโุ ขทยั 4 น�้าว้าแพร่ น้า� ว้านวลท่า 114 กอกหมาก หอม นางกรายสุรนิ ทร์ ข้างกุฎไสล้ าย หอมนครพนม ป่าหลงั สวน 11 7 ตะเกยี บ 113 คอแขง็ ใต้ หอมทองสุโขทยั 10 แซลอ เน้อื ทอง ป่าอบิซเิ นยี 9 6 สริ กิ ิต 8 7 5 น้า� วา้ สโุ ขทัย 3 น้�าว้าเพชรบุรี น�้าวา้ นวล นางกรายสรุ นิ ทร์ แดงก�ามะหยี่ ป่าอบิสซเิ นยี 6 ปา่ โมกอา่ งทอง สิริกติ นครราชสีมา 4 นีพูแวน ซาบ้า หอมทอง หอมกาฬสินธ์ เปร้ียวบา้ นไร่ 5 โอกนิ าวา สามเดือน หอมผลสนั้ แซม่ า้ 4 นา�้ ว้าสุโขทัย 2 น้า� วา้ สุโขทยั 7 น้า� ว้า 114 บัวมว่ ง 3 3 2 1 2 น�า้ ว้าสโุ ขทยั 6 นา้� วา้ สโุ ขทยั 1 นา้� วา้ พทั ลงุ 1 unknown บวั ชมพู 10 9 8 7 6 5 4 32 1 ภาพท่ี 2 แปลงรวบรวมพนั ธ์ุกลว้ ยของศนู ย์วจิ ัยพชื สวนสโุ ขทยั แปลงที่ 1 22 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 7 654 32 1 ตาย 15 16 17 18 19 20 ซุปเปอร์แคระ 31 หอมจัน หอมซูเปอร์แคระ หวานทับแม้ว งวง 30 หอมค่อม นาก 29 หอมตาก วิลเล่ียมแคระ น้ิวจระเข้ 28 นากไทย unknown 27 หอมไต้หวัน unknown 26 นากมุก 1 25 หอมกาบด�าเลย 24 นากยักษ์ 23 หอมส้มเลย หอมไต้หวัน คร่ัง 22 ทองดี 21 ไฮเกรท 20 ทองก�าปั่น 19 หอมจีน เชียงราย หอมส้มเลย 18 หอมเขียว หอมอิสราเอล 17 16 unknown หอมจีน เชียงราย ลามัต 15 14 แลนด้ี 13 12 หอมหนองคาย 11 10 สายน้�าผึ้ง กุ้งเขียว 9 8 หอมทองพระประแดง น้ิวจระเข้ พระราม 7 หอมเล็กยโสธร 6 หอมจ�าปา น�้าว้ากาบขาว 5 unknown น�้าว้า 4 หอมบ้าน อีง้าวท่าช้าง มัน 3 อีง้าวอุบล 2 หอมพม่า หอมทอง 1 น้ิวจระเข้ โชควิเชียร ตานี 100 ปลี 2 ตานีด่าง ตานี ตานี 100 ปลี 7 65432 ภาพที่ 3 แปลงรวบรวมพนั ธกุ์ ลว้ ยของศนู ย์วิจัยพืชสวนสุโขทยั แปลงท่ี 2 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 23

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 การวิจัยและพัฒนาเก่ียวกับกล้วยของศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย ศนู ยว์ จิ ยั พชื สวนสโุ ขทยั มพี นั ธกุ รรมกลว้ ยหลากหลายพนั ธท์ุ ม่ี กี ารวจิ ยั และพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ปรมิ าณและ มลู คา่ ทงั้ ตลาดในประเทศและตา่ งประเทศ การวจิ ยั และพฒั นาพนั ธก์ุ ลว้ ยทท่ี นทานโรค ใหไ้ ดพ้ นั ธท์ุ เ่ี หมาะสม ในการแปรรูปพันธุ์ท่ีมีคุณภาพดีส�าหรับรับประทานสดและอายุเก็บรักษานานข้ึน มีคุณสมบัติเหมาะสม ทงั้ ในรปู การบรโิ ภคสด หรอื ใชใ้ นการแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ ทจี่ ะนา� มาพฒั นา เพอ่ื เพม่ิ ปรมิ าณและมลู คา่ ทง้ั ตลาดในประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบัน ความก้าวหนา้ การเสนอพนั ธกุ์ ลว้ ยเป็นพันธ์รุ บั รอง ดังน้ี 1. กล้วยน�้าว้า คัดเลือกสายสายต้นกล้วยน�้าว้าจากแปลงรวบรวมอนุรักษ์ พนั ธกุ รรมกลว้ ยไดจ้ า� นวน 2 สาย ตน้ คอื สโุ ขทยั 55–4 และ 55–50 อยรู่ ะหวา่ ง การปลูกเปรียบเทียบในศูนย์วิจัยฯ ที่เป็นแหล่งปลูก 3 แห่ง คือ ศูนย์วิจัย พืชสวนสุโขทัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบุรี และศูนย์วิจัยและ พฒั นาการเกษตรเลย ในปี พ.ศ. 2558–2560 และทดสอบในแปลงเกษตรกร ปี พ.ศ. 2560–2562 เพ่อื ใหไ้ ดพ้ ันธใ์ุ หมอ่ ยา่ งน้อย 1 พันธุ์ ปี พ.ศ. 2562 24 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 2. กล้วยไข่ จากการชักน�าให้กล้วยไข่กลายพันธุ์ด้วยรังสีแกมมา แล้ว คัดเลือกสายต้นกล้วยไข่ท่ีผ่านการฉายรังสี คัดเลือกได้จ�านวน 9 สายต้น คือ M 1–11, M2 30, M 32–20, M 2–20, M 3–6, M 25–6, M 22–27, M 9–20, M 30–11 ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การขยายเพ่ิมจ�านวนเพ่ือน�ามาปลูกเปรียบเทียบเพ่ือหาสายต้นท่ีสูงไม่เกิน 2 เมตร และมคี ณุ ลกั ษณะทางการเกษตรทไ่ี มด่ ว้ ยกวา่ เดมิ คาดวา่ ปี พ.ศ. 2563 จะไดพ้ ันธุ์ใหม่เพอ่ื เสนอกรมวชิ าการเกษตรเป็นพนั ธุ์รับรองต่อไป 3. กล้วยหอม คัดเลือกสายต้นสายต้นกล้วยหอมโดยการชักน�าให้เกิด การกลายพันธุ์โดยรังสีแกมมาร่วมกับการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ พบกล้วยหอมมี ความสงู อยรู่ ะหวา่ ง 62–70 เซนตเิ มตร ปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการคดั เลอื กสายตน้ ตามเกณฑ์ท่ีก�าหนด ในปี พ.ศ. 2559 จะได้สายต้นที่คัดเลือกได้ เพื่อน�าไป ขยายเพมิ่ จา� นวนเพอื่ นา� มาปลกู เปรยี บเทยี บเพอ่ื หาสายตน้ กลว้ ยหอมทมี่ เี ปลอื ก หนาขนึ้ และมคี ณุ ลกั ษณะทางการเกษตรทไี่ มด่ อ้ ยกวา่ เดมิ คาดวา่ ปี พ.ศ. 2563 จะได้พนั ธใ์ุ หมเ่ พอ่ื เสนอกรมวิชาการเกษตรเป็นพันธ์รุ บั รองตอ่ ไป การผลิตพนั ธก์ุ ลว้ ยของศนู ย์วิจัยพืชสวนสโุ ขทัย อยใู่ นกิจกรรมการดา� เนนิ งานของการผลิตพันธ์พุ ืชและ ปัจจัยการผลิต ผลผลิตท่ี 2 ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์ผลิตพันธุ์และปัจจัยการผลิตที่ผลิตได้ เช่น การจ�าหน่าย แจกจ่าย ส�ารองพันธุ์พืช ให้กับเกษตรกร หน่วยงานภาคเอกชน และภาครัฐ โดยด�าเนินการจัดการผลิต พันธุ์พืชและปัจจัยการผลิต โดยมีผลการด�าเนินงานในปี พ.ศ. 2559 ในการผลิตพันธุ์กล้วย กล้วยน้�าว้า กลว้ ยไข่ กลว้ ยหอม นอกจากนี้ ยงั มงี านวจิ ยั ทด่ี า� เนนิ การเกย่ี วกบั กลว้ ย ในปี พ.ศ. 2559 จา� นวน 8 การทดลอง



เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 º··Õè 3 ¢ŒÍÁÙÅÅѡɳзҧÊѳ°Ò¹¢Í§¡ÅŒÇ ลัก ะ ระจาวงศ์กล้วย ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ล�าต้นเทียมเหนือดินเกิดจากกาบใบแผ่ออกหุ้มซ้อนกัน มีจุดก�าเนดิ จากต้นสะสมอาหารทีอ่ ย่ใู ตด้ นิ ล�าตน้ เทียมสงู 2–5 เมตร มนี า�้ ยางใส หรือ สีขาวแบบน้�านม หรือสีแดง ยางกล้วยเม่ือสัมผัสอากาศและแห้งจะเป็นเป็นสีน�้าตาล ใบเป็นใบเดย่ี ว เรยี งสลับเวยี นทีส่ ่วนปลายของกาบ แผเ่ ป็นลา� ตน้ กา้ นใบยาว แผ่นใบ กวา้ ง เสน้ ของใบขนานกนั จากแกนกา้ นใบปลายใบมนมตี ง่ิ ผวิ ใบเรยี บ สเี ขยี ว บางชนดิ มปี นสแี ดง ผวิ ใบมนี วลหรอื ไขปกคลมุ เสน้ และขอบใบเรยี บ ขนาดและความยาวของใบ ขึ้นอยกู่ บั แต่ละพนั ธุ์ ช่อดอกแบบชอ่ เชิงลดมีกาบ บางชนิดเปน็ แบบช่อกระจะ ห้อยลง ยาว 60–130 เซนติเมตร มีกาบรองดอกขนาดใหญ่สีสดรองรับดอกย่อยแต่ละกลุ่ม กาบหุ้มสีแดง ส้ม เหลือง เขียว หรือม่วงแดงตามชนิดและพันธุ์ กาบรองดอก ยาว 15–30 เซนติเมตร ก้านช่อเกิดท่ีบริเวณปลายยอดตรงกลางกลุ่มก้านใบ กรณีของ กล้วยปลูก จะแทงช่อดอกหรือปลีเมื่อแตกใบได้ ประมาณ 27 ใบ ดอกสมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง กลีบเล้ียง 3 กลีบ บางและค่อนข้างใส แยกหรือติดกัน กลีบดอก 3 กลีบ บางใส แยกหรือติดกัน เกสรเพศผู้ 6 เกสร เป็นหมัน 1 เกสร เกสรเพศเมีย มีรังไข่อยู่ใต้วงกลีบดอก มี 3 ช่องเช่ือมกัน ดอกที่อยู่ตอนปลายช่อมีเกสรเพศเมีย เป็นหมัน พลาเซนตารอบแกนร่วม ออวุลจ�านวนมากส่วนใหญ่มักลีบ ผลเป็นแบบ ผลกล้วย เมล็ดขนาดใหญ่ปานกลาง มีเอนโดสเปิร์ม ดอกแต่ละดอกเม่ือเจริญเต็มท่ี จะกลายเป็นผลกล้วยเรียกว่า หวี ในหน่ึงช่อดอกเม่ือติดผลแล้ว เรียกว่าเครือ ขนาด และสีของกล้วยจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิด มีผลสีเขียว เหลือง แดง เมล็ด มีลักษณะกลมขรุขระ หรือผิวเรียบ เปลือกหุ้มเมล็ด มีสีด�า หนาเหนยี วเน้ือในเมล็ดสีขาว กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 27

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ความหลากหลายพชื พชื วงศก์ ลว้ ยระดบั โลกประมาณ 2 สกลุ ประมาณ 50 ชนดิ ความหลากหลายพชื ระดบั ประเทศ มี 2 สกลุ ประมาณ 17 ชนิด พชื วงศก์ ล้วยกลว้ ยในประเทศไทยจา� แนกเปน็ 2 สกลุ คือ สกลุ Ensete Bruce ex Horan สกลุ Musa L. 1. กลว้ ยแตกกอ มกี ารแตกหน่อ ลา� ตน้ เทยี มเกดิ เป็นกอ มอี ายุหลายปี 2. กล้วยโทน ไมแ่ ตกหนอ่ ลา� ต้นเทยี ม เกิดเปน็ ล�าต้นเดยี่ ว มอี ายุราว 2 ปี หรอื หลายปี ต้นมักตาย หลังจากออกผลแลว้ กลว้ ยสกลุ Musa แบง่ ออกเป็น 5 หมู่ (Section) คือ 1. หมู่ Australimusa ทีถ่ินก�าเนินอยู่ในแถบรัฐควีนส์แลนด์ถึงฟิลิปปินส์ ใช้ประโยชน์จาก เส้นใย ผล เช่น M. textlis e ใช้ท�าเชือกมนิลา เสื้อผ้า หรือกล้วยฟีไอ ( ei) เป็นกล้วยท่ีมีแป้งมาก เป็นอาหารคนในแถบหมูเ่ กาะแปซิฟิก 2. หมู่ Callimusa มถี ิ่นกา� เนดิ ในอินโดจนี และอนิ โดนีเซีย เช่นกลว้ ยรตั นกทั ลี (ไม้ประดับ) 3. หมู่ Eumusa มถี นิ่ กา� เนดิ ในอนิ เดยี ตอนเหนอื อนิ โดจนี หมเู่ กาะชามวั เปน็ กลว้ ยกนิ ไดท้ งั้ หมด นอกจากนยี้ งั ใช้ประโยชนจ์ ากกาบห้มุ ล�าต้นเทียมทา� เส้นใย 4. หมู่ hodochlam s มถี น่ิ กา� เนดิ ในอนิ เดยี ตอนเหนอื อนิ โดจนี เปน็ ไมป้ ระดบั เชน่ กลว้ ยบวั 5. หมู่ nggentimusa มีถ่ินก�าเนิดในปาปัวนิวกินีบนที่สูง ระหว่าง 1,000–2,100 เมตร เป็น ไมป้ ระดบั 28 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ลัก ะทางสั านของพืชสกุลกล้วย Musa พืชสกุลกล้วยมีล�าต้นใต้ดิน ล�าต้น มีลักษณะเป็นหัว หรอื เป็นเหง้า บางชนดิ มลี ักษณะกลมคลา้ ยหวั เผือก บางชนดิ เป็นไหลสั้นหรือยาว หน่อเจริญมาจากเหง้าใต้ดิน ระบบราก แบบรากแขนงแผก่ วา้ งออกดา้ นขา้ ง 4–5 เมตร ลงลกึ ประมาณ 75 เซนติเมตร หน่อทเี่ กดิ จากตาทเ่ี หง้าอาจอยูช่ ดิ ตน้ แม่ หรือ อาจหา่ งเลก็ นอ้ ย หรอื อาจหา่ งมากเปน็ เมตร โคนกลว้ ยของหนอ่ ส่วนท่ีอยู่ใต้ดินจะเริ่มขยายตัวข้ึน จนมีขนาดใหญ่เรียกว่าเหง้า การเจริญเติบโตของล�าต้น จะมีลักษณะ ใบ รูปร่าง ในกล้วย แต่ละพันธุ์ แตกต่างกันหรือแม้แต่กล้วยพันธุ์เดียวกันท่ีพบ ความแตกต่างของรูปร่างและลักษณะใบได้ ซึ่งรูปร่างและ ลักษณะของใบกล้วยจะข้ึนอยู่กับอายุของกล้วยหรือต�าแหน่ง ของตาที่ให้ก�าเนิดใบน้ัน เมื่อกล้วยอายุน้อยตาของเหง้าจะ อยู่ลึกลงไปในเหง้า ตาใบแรกที่เจริญเติบโตมักเป็นใบเกล็ด เมอ่ื กลว้ ยมอี ายมุ ากขน้ึ ตาประเภทนจี้ ะเจรญิ เปน็ ใบทม่ี ลี กั ษณะ เปน็ ใบแคบ ซงึ่ อยใู่ นชว่ งแรกของการเจรญิ เตบิ โต และตาจะอยู่ ใกลก้ บั ผวิ ดนิ ซง่ึ ตาเหลา่ นจ้ี ะใหใ้ บทเี่ จรญิ เปน็ ใบกวา้ งในชว่ งหลงั ของการเจรญิ เตบิ โต ในระยะนส้ี ว่ นทอ่ี ยเู่ หนอื ผิวดินจะเจริญเติบโตข้ึนจนกระทั่งเป็นหน่อ จนกระท่ังมีขนาดสูงประมาณ 60–120 เซนติเมตร หน่อกล้วย จะเร่ิมคลี่ใบออกมา หลังจากนั้นใบเหล่านี้เจริญและมีใบขนาดใหญ่แตกเป็นใบจริงได้ประมาณ 4–6 ใบ และ ที่โคนของหนอ่ บวมเต่ง มกั เป็นระยะทสี่ ามารถแยกหนอ่ กลว้ ยออกจากตน้ แม่เพื่อน�าไปปลกู ได้ ใบ เปน็ ใบเดยี่ วมลี กั ษณะเปน็ แผน่ ยาว เกดิ จาก เจริญข้ึนมาสู่ด้านบนโดยแผ่ใบม้วนแน่น ใบเกิดใหม่ ใจกลางของลา� ตน้ และกา้ นใบชว่ งทเ่ี กดิ จากลา� ตน้ ใหม่ แผ่ขยายใบขนาดใหญ่รูปขอบขนาน กว้าง 60– จะมีขนาดใหญ่และแทงขึ้นเหนือดิน ในระยะแรก 110 เซนติเมตร ยาว 140–400 เซนติเมตร ของการโผลพ่ น้ เหนอื ดนิ ใบจะมว้ นและคอ่ ยๆ คลใี่ บ มีแกนกลางใบขนาดใหญ่ เส้นใบขนานกัน การอัด ในระยะเวลาประมาณ 10 วัน มีการพัฒนาเพ่ือ กันแน่นนี้ท�าให้เกิดลักษณะคล้ายล�าต้น เรียกว่า หอ่ หมุ้ ใบทเ่ี กดิ ใหม่ ทา� ใหก้ า้ นใบอดั กนั แนน่ ซง่ึ กา้ นใบ ลา� ต้นเทยี ม ใบของกลว้ ยซ่ึงประกอบดว้ ยก้านใบและ สว่ นดงั กลา่ วเรยี กวา่ กาบใบ ใบเกดิ ใหมเ่ กดิ จากเหงา้ แผน่ ใบ กา้ นใบจะมีลกั ษณะโคง้ เข้าแกนกลาง จะโคง้ มากหรอื นอ้ ยแลว้ แตช่ นดิ หรอื พนั ธข์ุ องกลว้ ย แผน่ ใบ มีลักษณะรูปแถบ เส้นกลางใบเป็นร่อง มีเส้นใบ ขนานกันและต้ังฉากกับแกนกลาง เส้นใบมีจ�านวน มาก ด้านบนของแผ่นใบเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีไข ใบตอ่ ตน้ ประมาณ 36 ใบ ใบกลว้ ยทเ่ี จรญิ ในระยะแรก มักมขี นาดเล็กและขยายใหญข่ ึ้นเมอ่ื เจริญเตม็ ที่ และ มีใบธงก่อนท่ีจะเกิดช่อดอก ในระยะออกดอกและ ตดิ ผลใบมกั มขี นาดเล็กลง กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 29

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 อกกลว้ ย เปน็ ชอ่ แบบชอ่ เชงิ ลด ในแตล่ ะตน้ มีช่อดอกเพียง 1 ช่อ เจริญมาจากส่วนเหง้าใต้ดิน ส่วนก้านช่อมีการเจริญเติมโตมีความยาวเพิ่มข้ึน ผ่านส่วนกลางของล�าต้น และโค้งงอลงเมื่อโผล่พ้น ปลายยอด มีการเรียงตัวเป็นกลุ่ม ดอกรูปกรวย เรียงตัวแนน่ แตล่ ะกลุ่มแยกอยู่ในกาบปลีขนาดใหญ่ รูปไข่ ปลายแหลม สีม่วงแดง ประกอบด้วยดอก เรียงตัวเป็น 2 แถว กาบปลีโค้งงอพร้อมกับการ พัฒนาของดอกและหลุดร่วงเมื่อผลเริ่มพัฒนาดอก เพศเมียมกี ารพัฒนาในสว่ นโคนช่อไปยงั ปลายช่อ อกเพศผู้ อยู่บริเวณส่วนปลายของช่อดอก อกเพศเมยี มรี งั ไขอ่ ยใู่ ตว้ งกลบี เกสรเพศเมยี บางครั้งมีดอกท่ีเรียกว่า neuter เกิดขึ้นในแต่ละข้อ มี 3 ชอ่ งตดิ กนั แตล่ ะสว่ นมลี กั ษณะคลา้ ยรปู สามเหลย่ี ม ในช่อดอก โดยปกตมิ ีดอก 12–20 ดอก และมีดอก ส่วนปลายมีกลีบดอกส้ันๆ 5 อันเช่ือมกัน และ เพศเมยี ในสว่ นของชอ่ ดอก 5–15 ขอ้ ดอกแตล่ ะกลมุ่ 1 อันแยกกัน รวมตัวกันเป็นท่อล้อมรอบก้านเกสร ประกอบด้วยดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย ใบประดับ เพศเมียและเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ยอดเกสร จะหลุดร่วงไปเหลือไว้แค่ร่องรอย ดอกของกล้วย เพศเมียมี 3 พู เกสรเพศผูท้ ่เี ป็นหมนั 5 อัน เกสร ประกอบดว้ ยดอก 3 ประเภทเรยี งกนั อยตู่ ามความยาว มกั ไมม่ ลี ะอองเรณู เกสรเพศเมยี เปน็ หมนั มขี นาดเลก็ บริเวณด้านบนของช่อดอก ส่วนที่อยู่ติดกับต้นเป็น ประกอบด้วย ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน ก้านเกสร ดอกเพศเมยี สว่ นตอนกลางบางครงั้ เปน็ ดอกกระเทย เพศผู้ 5 อัน และกา้ นเกสรเพศผู้ท่ีลดรูปแล้ว 1 อัน และปลายของช่อดอกเป็นดอกเพศผู้ การเจริญของ มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นหลอดเรียกว่า ชอ่ ดอกทยอยจากดอกเพศเมยี เรอื่ ยลงมาสู่ปลายชอ่ กลีบรวม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ กลีบรวม เกสรเพศเมยี ช่อดอกย่อย เกสรเพศผู้ 30 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ขนาดใหญ่ 1 อนั กลบี รวมขนาดเลก็ 1 อนั ปลายกลบี เป็นช่อดอกเพศผู้เรียกว่า ปลี ดอกเพศเมียมีรังไข่ หยักแหลม มีสีเหลือง กลีบรวมขนาดใหญ่ มีสีขาว อย่ใู ต้วงกลีบมเี กสรเพศเมยี 3 อันตดิ กัน แต่ละสว่ น หรอื สชี มพู กลีบรวมขนาดเล็ก ลกั ษณะบางใส ไม่มสี ี มลี กั ษณะคล้ายรูปสามเหลยี่ ม สว่ นปลายมีกลบี ดอก จนถึงสีม่วงอ่อนแล้วแต่ชนิดของพันธุ์ ปลายกลีบ สนั้ 5 กลบี เชอื่ มกนั และ 1 อนั แยกกนั รวมตวั กนั เปน็ เป็นหยักซ่ฟี นั บางพันธุเ์ ป็นรอยหยักและยน่ ช่อดอก ท่อล้อมรอบก้านเกสรเพศเมียและเกสรเพศผู้ท่ี เจรญิ เปน็ ผล จะปรากฎผลทโ่ี คนของชอ่ ดอก ชอ่ ดอก เป็นหมันยอดเกสรเพศเมียมี 3 พู เกสรเพศผู้ท่ี เมอื่ เจรญิ เปน็ ชอ่ ผลเรยี กวา่ เครอื ดอกทเี่ จรญิ เปน็ ผล เปน็ หมนั 5 เกสร มกั จะไมม่ ลี ะอองเรณู เกสรเพศเมยี เรียกว่า หวี ส่วนท่ีอยู่ทางด้านปลายเครือหรือช่อผล เป็นหมนั มีขนาดเล็ก ผล เป็นผลแบบผลกล้วย กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด เน่ืองจากผลกล้วยสามารถ เกิดการพัฒนาจากรังไข่ โดยที่เซลล์ของผนังรังไข่จะขยายใหญ่ข้ึนกลายเป็นเนื้อผล ซึ่ง ไม่มีการผสมพันธุ์ ดอกก็สามารถเจริญเป็นผลได้ ผลของกล้วยมีหลายขนาดต้ังแต่เล็ก จนถงึ ผลขนาดใหญ่ รปู รา่ งของผลกลว้ ยกม็ คี วามแตกตา่ งกนั บางชนดิ โคง้ งอ บางชนดิ ตรง นอกจากนป้ี ลายผลบางชนดิ มน บางชนดิ มจี กุ การเปลย่ี นแปลงของสแี ละลกั ษณะ เนื้อในผลขณะที่ผลกล้วยดิบจะมีเปลือกเป็นสีเขียวและลักษณะเน้ือแข็ง สีขาว เมื่อผลเร่ิมสุกจะมีเปลือกสีเขียวอ่อนและลักษณะเนื้อเริ่มอ่อนตัว มีสีขาวซีด เนื้อจะเริ่มนุ่มมาจากข้างในจากแกนกลางผล และผลสุก จากสว่ นปลายผลไปหาสว่ นโคน สขี องเปลอื กผลจะเปลย่ี นเปน็ สเี หลอื ง แกมเขียว จนกระทั่งเนื้อผลนุ่มทั้งผล หลังจากน้ันสีเปลือกจึงค่อย เปลย่ี นเปน็ สีเหลือง ยกเว้นสว่ นปลายและกา้ นผลยงั คงเปน็ สเี ขยี ว เมล กล้วยในสกุล Musa และ Ensete เมล็ดของกล้วยมีเปลือกเมล็ดแข็ง เนอื่ งจากมสี ารควิ ตนิ (cutin) สว่ นทต่ี ดิ อยกู่ บั เนอ้ื ผลเรยี กวา่ ไมโครโพลาร์ (microp lar plug) ส่วนดา้ นตรงขา้ มเรยี กว่า เรฟี (raphe) เมลด็ ของกลว้ ยในสกุล Musa มกั มี เปลือกเมล็ดขรขุ ระ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 31

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 นิเวศวิทยา พบในเขตร้อนชื้นของเอเชียตะวัน อัลฟองส์ เดอ กองโดลล์ (Alphonse de ออกเฉยี งใต้ และแปซิฟิก Candolle) นักพฤกษศาสตร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ บันทึกหลักฐานไว้เม่ือปี พ.ศ. 2426 ว่าพบพืชสกุล การกระจายพนธ์ บรเิ วณเขตพรรณพฤกษชาติ กลว้ ยบรเิ วณคาบสมทุ รมาเลย์ และบนเกาะอบู ิ ( ulau อินโดมาลายา ซึ่งเป็นศูนย์กลางของพันธุกรรมพืช bin) ทางตอนใตส้ ดุ ของประเทศสยาม ซง่ึ ปจั จบุ นั คอื สกุลกล้วย โดยเฉพาะในบรเิ วณตอนล่างของภมู ิภาค เกาะอูบนิ ( ulau bin) ทางใต้ของประเทศสงิ คโปร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี พ.ศ. 2426 วิลเลียม ไรน์ ( illiam hind) นักพฤกษศาสตร์ ชาวสก็อตแลนด์ รายงานว่ากล้วย เดิมกล้วยยุคก่อนประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่า จากเขตร้อนที่มีการน�ามาปลูกไว้ในโรงเพาะช�า เป็นกล้วยปา่ ท่มี ผี ลเล็ก มีเมลด็ มาก มีการขยายพันธ์ุ ของอังกฤษ ปี พ.ศ. 2532 ผู้แต่งหนังสือเกี่ยวกับ ตามธรรมชาตโิ ดยสตั ว์ป่า ท่ชี ว่ ยแพร่กระจายพนั ธไ์ุ ป ประวัติศาสตร์อาหารชาวฝร่ังเศส แมกเกอลอน ไดไ้ กล ตอ่ มามกี ารผสมพันธโุ์ ดยธรรมชาตเิ ป็นกล้วย ทอเซนต์ซามัท (Maguelonne oussaint–Samat) พันธุ์ปลูกหรือพันธุ์ลูกผสมที่มีผลขนาดใหญ่ ไม่มี ระบวุ า่ ตน้ กา� เนดิ กลว้ ยมาจากเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เมล็ด ท่ีมีลักษณะพันธุ์ท่ีดี ท�าให้มนุษย์น�าพันธุ์ไป จากหลักฐานทางโบราณคดีของซากเกสร เมล็ด และ ในการอพยพย้ายถิ่นสู่ดินแดนและหมู่เกาะต่างๆ ที่ เนือ้ เย่อื กล้วยทีก่ ลายเปน็ หินในสมยั โบราณมอี ายรุ าว เชอื่ มตอ่ กนั ในทะเลจนี ใต้ มหาสมทุ รอนิ เดยี และแปซฟิ กิ 6,440–6,950 ปี ในประเทศปาปัวนิวกินีบริเวณ คุกสวอมพ์ ( u s amp) พบข้อมูลสนับสนุนว่า มนุษย์มีการปลูกกล้วยเพื่อบริโภคในแถบประเทศ ปาปัวนิวกินีมาก่อน นอกจากหลักฐานเก่าแก่ท่ีกล่าวข้างต้นแล้ว ปัจจุบันได้มีการศึกษาด้านชีวโมเลกุลเพื่อค้นหา วิวัฒนาการชาติพันธุ์ของกล้วยพันธุ์ต่างๆ พบว่า ถิ่นฐานด้ังเดิมของกล้วยในบริเวณคาบสมุทรมาเลย์ เกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะบอร์เนียว ฟิลิปปินส์ และปาปวั นวิ กนิ ี มาจากกลว้ ยปา่ (Musa acuminata Colla) และชนิดใกล้เคียง ซึ่งสามารถจ�าแนกตาม ถน่ิ กา� เนิด ดังนี้ 1) ชนิดท่ีมีถิ่นก�าเนิดที่ปาปัวนิวกินี พบ กลว้ ยป่า Musa banksii . Muell. 2) ชนิดที่มีถิ่นก�าเนิดที่คาบสมุทรมาเลย์ พบกลว้ ยปา่ M. acuminata subsp. malaccensis ( idl.) . . Simmonds กล้วยปา่ 32 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 3) ชนิดท่ีมีถิ่นก�าเนิดท่ีเกาะชวา และ กลว้ ยเทพรส บอร์เนียว พบกล้วยป่า M. acuminata subsp. microcarpa (Becc.) . . Simmonds และ ปิซังหอมค่อม เวียดนามเรียกกล้วยหอมทองว่า M. acuminata var. zebrina ( an outte e จอยเซยี ม หมายถึงกลว้ ยสยาม ฟลิ ิปปนิ ส์เรยี กกลว้ ย lanch.) asution เทพรสชนดิ มปี ลที บั ศพั ทว์ า่ ทพิ รส ( iparot) เขมรนนั้ เรยี กกลว้ ยนา้� วา้ วา่ เจกนา้� วา้ และเรยี กกลว้ ยหกั มกุ วา่ 4) ชนดิ ทม่ี ถี น่ิ กา� เนดิ ทไี่ ทยและเมยี นมาร์ เจกสนับมุข ในท�านองกลับกันกล้วยจากประเทศ รวมถึงตอนเหนือของอินเดียและจีนตอนใต้ พบ เพื่อนบ้านบางส่วนก็มีการน�าเข้ามาปลูกในเมืองไทย กล้วยปา่ M. acuminata subsp. burmanica . . เชน่ กลว้ ยลงั กา กลว้ ยไขม่ าเลเซยี การขยายพนั ธข์ุ อง Simmonds กลว้ ยและการแลกเปลย่ี นระหวา่ งกนั ในดนิ แดนแถบนี้ ตลอดจนความหลากหลายและซับซ้อนของสายพันธุ์ จากผลการความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ กล้วยที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถ่ินในประเทศไทย ชาตพิ นั ธ์ุ พบวา่ กลว้ ยมถี น่ิ กา� เนดิ ดง้ั เดมิ ในคาบสมทุ ร น่าจะเป็นส่ิงยืนยันได้ว่ากล้วยเป็นพืชท้องถ่ินของ มาเลยแ์ ลว้ กระจายพนั ธไ์ุ ปสปู่ ระเทศบรเิ วณภาคพน้ื และ ดินแดนประเทศไทยมาแต่ดึกด�าบรรพ์ และจาก หมเู่ กาะแปซฟิ กิ กลว้ ยกนิ ไดจ้ า� นวนหลากหลายพนั ธ์ุ ววิ ฒั นาการสายพนั ธก์ุ ลว้ ยทม่ี ตี อ่ เนอ่ื งจงึ มกี ลว้ ยพนั ธ์ุ ส่วนใหญ่มีบรรพบุรุษที่เปน็ กลว้ ยป่า Musa banksii แปลกใหม่ลักษณะดีเด่นเกิดขึ้นมา . Muell. จากปาปัวนิวกินี กระจายพนั ธ์ไุ ปยังเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ และกระจายพันธุ์ไปอินเดียและ แอฟริกาตะวันตก อีกทั้งกระจายพันธุ์ในทางทิศ ตะวันออกของปาปัวนิวกินี ไปยังหมู่เกาะต่างๆ ใน แปซิฟิกตามทศิ ทางตามการอพยพยา้ ยถน่ิ ของมนุษย์ เม่ือหลายพันปี การเคล่ือนย้ายและเกิดพันธุ์ใหม่ เช่น กล้วยทิพรสของไทยเป็นกล้วยที่มีถ่ินก�าเนิดใน ประเทศไทยโดยแท้ เพราะเป็นท่ีประจักษ์ว่าไม่พบ กล้วยทพิ รสในแหล่งก�าเนิดอื่น ความเป็นมาของกล้วยไทยมีการกระจายพันธุ์ โดยการแพรข่ ยายนน้ั ๆ แลกเปลยี่ นกนั ไปมาในภมู ภิ าค เอเชียแปซิฟิกมายาวนาน ทั้งมีการขยายออกสู่ ประเทศเพอ่ื นบา้ นดว้ ยเหตเุ พราะมกี ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธ์ กนั อยเู่ สมอ ประกอบกบั กลว้ ยพนั ธป์ุ ลกู ของไทยหลาย พันธุ์มีรสชาติดี ทนทานต่อโรค จึงได้รับการยอมรับ ในแหลง่ อ่นื เชน่ ประเทศอินโดนเี ซยี มีกลว้ ยบางพันธุ์ ทร่ี ะบวุ า่ เปน็ กลว้ ยไทย เชน่ ปซิ งั สยาม มาเลเซยี เรยี กวา่ ปิซังเคลัทสยาม กล้วยทิพรสเรียกว่าปิซังอาบูสยาม กลว้ ยหอมทองเรยี กวา่ ปซิ งั ไทย กลว้ ยหอมคอ่ มเรยี กวา่ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 33

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 การจาแนกกลุ พัน ุ์กล้วยกิน ้ กลว้ ยกนิ ไดท้ งั้ หมดจา� แนกอยใู่ นหมู่ Eumusa เกดิ จากกลว้ ยปา่ 2 ชนดิ คอื กลว้ ยปา่ (Musa acuminata Colla) และกล้วยตานี (M. balbisiana Colla) ซ่ึงกล้วยท้ังสองชนิดนี้มีลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เนอื่ งจากวา่ ทกุ พนั ธน์ุ น้ั เปน็ ตน้ ทเ่ี กดิ จากการผสมระหวา่ งกลว้ ยปา่ กบั กลว้ ยตานี ความหลากหลายทางชวี ภาพ ของกล้วยที่ปลูกอยู่ทั่วไปมีต้นก�าเนิดจากกล้วยป่า เป็นกลุ่มจีโนม A และกล้วยตานีเป็นกลุ่มจีโนม B กล้วยสองกลุ่มนี้มีบทบาทต่อการกระจายพันธุ์ และการพัฒนาพันธุ์ที่เกิดประโยชน์ในการวิวัฒนาการพันธุ์ จนเกิดพันธุ์กล้วยมากมาย กล้วยป่าอบิสซิเนยี กลว้ ยตานี (Musa balbisiana Colla) การจ�าแนกกล้วยกินได้โดยใช้ลักษณะทางพันธุกรรมตามแนวทางของ Simmonds และ Shepherd ซง่ึ การจา� แนกกลมุ่ พนั ธต์ุ ามพนั ธกุ รรมโดยใชจ้ โี นมหรอื สารพนั ธกุ รรมหรอื กรดนวิ กรดนวิ คลอี กิ ทง้ั หมดในเซลล์ สง่ิ มชี วี ติ โดยกลว้ ยทม่ี กี า� เนดิ จากกลว้ ยปา่ มจี โี นมเปน็ AA และกลว้ ยทมี่ กี า� เนดิ จากกลว้ ยตานมี จี โี นมเปน็ BB ส่วนกล้วยที่เกิดจากลูกผสมของกล้วยท้ังสองชนิดจะมีจีโนมแตกต่างกันไป โดยสามารถจ�าแนกกลุ่มพันธุ์ โดยใช้การระบุพันธด์ุ ้วยเปน็ คะแนนสา� หรบั บ่งชี้ความสมั พนั ธ์ของกลว้ ยป่าท่เี ป็นบรรพบุรษุ ทง้ั 2 ชนิด โดยใช้ ลกั ษณะภายนอก 15 ลกั ษณะ คอื สขี องกาบใบ รอ่ งของกาบใบ กา้ นชอ่ ดอก กา้ นดอก ออวลุ ไหลข่ องกาบปลี การม้วนของกาบปลี รูปร่างของกาบปลี ปลายของกาบปลี การซีดของกาบปลี รอยแผลของกาบปลี กลีบรวมเด่ียว สีของดอกเพศผู้ สีของยอดเกสรเพศเมีย สขี องกาบปลี ดังนั้น จงึ กา� หนดเกณฑ์ของกลมุ่ จีโนม กล้วยได้ดงั น้ี – กลว้ ยทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ย M. acuminata เป็นพันธุกรรมท่ีมาจากกล้วยป่า มี 1 คะแนน ให้มี จโี นมในกลุ่ม A – กล้วยทม่ี ลี กั ษณะคล้าย M. balbisiana เป็นพันธุกรรมทม่ี าจากกลว้ ยตานี มี 5 คะแนน ให้มี จโี นมในกลมุ่ B – ในกรณีที่มลี ักษณะของกลว้ ยเป็นพนั ธุกรรมทม่ี าจากระหวา่ ง 2 ชนดิ มีคะแนน 2, 3 หรอื 4 ขน้ึ อยกู่ ับจโี นมของกล้วยทง้ั สองชนดิ ดงั นี้ 34 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 v 15–23 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มจีโนม AA, AAA เป็นพันธุกรรมที่มีลักษณะของ M. acuminata เท่ากบั 100 v 26–46 คะแนน จดั อยใู นกลมุ่ จโี นม AAB เปน็ พนั ธกุ รรมทมี่ ลี กั ษณะของ M. acuminata เท่ากับ 66 v ประมาณ 49 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มจีโนม AB เป็นพันธุกรรมท่ีมีลักษณะของ M. acuminata เท่ากับ50 v 59–63 คะแนน จดั อยใู่ นกลมุ่ จโี นม ABB เปน็ พนั ธกุ รรมทมี่ ลี กั ษณะของ M. acuminata เท่ากบั 33 v ประมาณ 67 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มจีโนม ABBB เป็นพันธุกรรมที่มีลักษณะของ M. acuminata เทา่ กับ 25 v 70–75 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มจีโนม BB, BBB เป็นพันธุกรรมที่มีลักษณะของ M. balbisiana เท่ากบั 100 กล้วยกินได้พันธุ์ต่างๆ มีการพัฒนาพันธุ์มาจากกล้วยป่า มีสัญลักษณ์จีโนมคือ A และกล้วยตานี มีสัญลักษณ์จีโนม B ซึ่งกล้วยท้ังสองชนิด มีความแตกต่างกัน กลุ่มกล้วยป่า ขนาดล�าต้นเล็กมีปนสีด�า ใบสีเขียวอ่อนกว่ากลุ่มกล้วยตานี ใบมีจุดประ ร่องก้านใบเปิด บริเวณโคนก้านใบเปิดกว้าง ปลีมีสีม่วงแดง แกมชมพู รูปร่างเรียวแหลม กาบปลีม้วนขึ้น ส่วนกล้วยตานี ล�าต้นแข็งแรงสูง ใบสีเขียวเข้ม ร่องก้านใบปิด ปลสี มี ว่ งเขม้ มนี วลสขี าวปกคลมุ รปู ไข่ กาบปลไี มม่ ว้ นขน้ึ กล้วยที่มีจีโนม A เช่น กล้วยหอม เมื่อสุกสามารถ แบ่งเน้ือผลเป็นสามส่วนได้ง่าย ส่วนกล้วยท่ีมีจีโนม B ปนอยู่ เนอ้ื มกั แนน่ เหนยี ว ไมส่ ามารถแบง่ ใหเ้ ปน็ สว่ นได้ เนื่องจากเนื้อผลติดแน่นเป็นเน้ือเดียวกัน กล้วยกินได้ใน ปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นลูกผสม กล้วยปลูกหรือกล้วยบ้าน ที่ไม่มีเมล็ด เกิดจากการผสมระหว่างกล้วยป่าชนิด A ดว้ ยกนั เชน่ กลว้ ยหอม กลว้ ยไข่ กลว้ ยเลบ็ มอื นาง เปน็ ตน้ จะมีลักษณะของกล้วยจีโนม A ชัดเจน หรือหากมีการ ผสมข้ามพันธุ์ระหว่างกล้วยป่าจีโนม A กับกล้วยตานี จีโนม B จะได้ลูกผสมเป็น AB ซ่ึงหากลูกผสมมีการ กลายพันธุ์ด้วยการเพิ่มชุดของโครโมโซมจะได้จีโนม ของกล้วยกลุ่มโครโมโซม 3 ชุด เช่น กล้วยเปรี้ยว AAB กล้วยน�้าว้า ABB กล้วยพม่าแหกคุก ABB หรือกลุ่ม โครโมโซม 4 ชุด เช่น กล้วยเทพรส ABBB กล้วยเงิน AABB เป็นต้น การจ�าแนกกลุ่มพันธุ์กล้วยกินได้จึง จ�าแนกตามจีโนมเปน็ กลมุ่ หลกั ได้ 8 กลมุ่ ดงั น้ี กลว้ ยพม่าแหกคุก กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 35

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 1. กล่ม เป็นกล้วยที่มีก�าเนิดมาจากกล้วยป่าซ่ึงอาจเกิดจากการผสมภายในชนิดย่อยหรือ ระหวา่ งชนดิ ยอ่ ย หรอื อาจเกดิ จากการกลายพนั ธ์ุ พบในประเทศอนิ โดนเี ซยี ปาปวั นวิ กนิ ี มาเลเซยี เมยี นมาร์ และไทย ประมาณ 20 พนั ธ์ุ กลว้ ยกลมุ่ นเี้ ปน็ กลว้ ยสว่ นใหญท่ พี่ บในประเทศไทย เปน็ กลว้ ยกนิ ไดร้ บั ประทาน ผลสด รสชาติหวาน มีกล่ินหอม ผลมีขนาดเล็กเปลือกผลสีเหลืองทอง เน้ือแน่น สีส้มอ่อน มี 5–9 หวี ในแต่ละเครือ ผลไม่มีเมล็ด เช่น กล้วยไข่ กล้วยไข่จีน กล้วยไข่ทองร่วง กล้วยทองกาบด�า กล้วยน�้านม กลว้ ยไล กลว้ ยเลบ็ มอื นาง กลว้ ยสา กลว้ ยหอม กลว้ ยหอมจนั ทร์ กลว้ ยหอมจา� ปา นอกจากนใี้ นระดบั นานาชาติ มีการจ�าแนกตามรสชาตเิ รยี กกล้วยกลุม่ พันธ์นุ ี้วา่ กลมุ่ กล้วยหวาน (Sucrier) กลว้ ยเลบ็ มอื นาง กล้วยหอมจันทร์ กล้วยไขท่ องรว่ ง 2. กล่ม เป็นกล้วยท่ีมีก�าเนิดคล้ายกับกลุ่ม AA แต่ได้มีการเพ่ิมจ�านวนโครโมโซมข้ึนเป็น สามเท่า พบในประเทศอนิ โดนเี ซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ ปาปวั นิวกินี มาเลเซีย เมยี นมาร์ และไทย เนอ่ื งจากมจี �านวน โครโมโซม 2n 33 ผลจึงมีขนาดใหญ่กวา่ กลุม่ AA และไมม่ เี มล็ด รูปร่างผลเรียวยาว มเี น้อื นุ่ม รสหวาน กลิ่นหอม รับประทานสด เปลือกผลหนา สีเขียวอ่อนจนถึงสีเหลืองแกมเขียว เนื้อสีขาวครีมหรือสีครีม เนื้อแนน่ ปานกลาง มกี ลนิ่ หอมเลก็ น้อยหรอื มีกลิน่ หอม รสชาตหิ วาน เครือมี 8–20 หวี เช่น กลว้ ยหอมทอง กลว้ ยหอมเขียว กล้วยหอมดอกไม้ กล้วยนาก กล้วยครั่ง กลว้ ยกุ้งเขยี ว กลว้ ยหอมแมว้ กลว้ ยไขพ่ ระตะบอง กล้วยหอมคลองจัง นอกจากน้ีในระดับนานาชาติมีการจ�าแนกกลุ่มพันธุ์ตามประเภทของผู้ท่ีน�าพันธุ์ไปปลูก เปน็ พืชเศรษฐกิจและสผี ล เป็น 4 กลมุ่ คอื 2.1 กล่มุ กล้วยคาเวนดชิ ค่อม (D ar Ca endish) เช่น กล้วยหอมเขียวค่อม กลว้ ยหอมค่อม 2.2 กลุ่มกลว้ ยคาเวนดิชยกั ษ์ ( iant C endish) เช่น กลว้ ยหอมคลองจัง 2.3 กลมุ่ กลว้ ยโกสล์ มิเชล ( ros Michel) เชน่ กล้วยหอมทอง 2.4 กลมุ่ กล้วยแดง ( ed/ reen ed) เชน่ กล้วยกุง้ เขียว กลว้ ยนาก กลว้ ยครั่ง กลว้ ยหอมค่อม กล้วยหอมทอง กล้วยครงั่ 36 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 . กล่ม เป็นกล้วยลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี โดยมีเชื้อของกล้วยป่า 2 ใน 3 และมีเช้ือของกล้วยตานี 1 ใน 3 พบในประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย พันธุ์ส่วนใหญ่มีแป้งเป็น องคป์ ระกอบจงึ เหมาะสา� หรบั ทา� ให้สุกกอ่ นรับประทาน บางชนิดหรอื บางพนั ธุร์ บั ประทานสดได้ เปลอื กผล สีเหลือง เน้ือผลสีส้ม แกม ครีมอ่อน เน้ือแน่นละเอียด เหนียว แต่ละเครือมี 2 หวี มีรส เช่น กล้วยน�้า กล้วยน�้าฝาด กล้วยนมสวรรค์ กล้วยน้ิวมือนาง กล้วยไข่โบราณ กล้วยทองเดช กล้วยศรีนวล กล้วยขม กล้วยนมสาว กล้วยกล้าย กล้วยงาช้าง กล้วยน้ิวจระเข้ กล้วยหิน กล้วยพม่าแหกคุก นอกจากนี้ในระดับ นานาชาตมิ กี ารจา� แนกกลมุ่ พนั ธก์ุ ลมุ่ นต้ี ามชอ่ื เมอื งในประเทศอนิ เดยี เรยี กวา่ กลมุ่ กลว้ ยเปรยี้ ว (M sore) เชน่ กล้วยน้า� กล้วยกระบุง และ กล่มุ เพลนเทน ( lantain) เชน่ กล้วยกลา้ ย กลว้ ยงาช้าง กลว้ ยนิ้วจระเข้ กลว้ ยนมสวรรค์ กลว้ ยน้วิ จระเข้ กล้วยขม 4. กล่ม เป็นกล้วยลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานีเช่นกัน แต่มีลักษณะพันธุกรรม ของกล้วยป่าอยู่น้อยกว่ากล้วยตานี ซึ่งมีลักษณะของกล้วยป่า 1 ใน 3 และลักษณะของกล้วยตานี 2 ใน 3 พบในประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เมียนมาร์ และไทย เปลือกผลหนาสีเหลือง หรือเม่ือสุกสีน�้าตาล เนื้อสีส้มแกมสีครีมหนาปานกลาง สีขาวหรือสีครีม เนื้อแน่น เหนียว รับประทานสดหรือท�าให้สุก เครือมี 8–10 หวี เนื้อของกล้วยในกลุ่มพันธุ์นี้จะมีแป้งมาก โดยเฉพาะในระยะผลดิบ ผลท่ีสุกแล้วในบางชนิด สามารถรับประทานสดได้ บางชนิดอาจมีรสฝาด จึงนิยมน�ามาท�าให้สุกด้วยความร้อนก่อนบริโภค เช่น กล้วยหักมุก กล้วยหักมุกนวล กล้วยเปลือกหนา กล้วยส้ม กล้วยนางพญา กล้วยนมหมี กล้วยน�้าว้า กล้วยตีบ นอกจากน้ีในระดับนานาชาติมีการจ�าแนกกลุ่มพันธุ์กลุ่มน้ีตามภาษาถิ่นมาเลเซีย เรียกกลุ่มกล้วย บลกั โก (Bluggoe) เชน่ กลว้ ยหกั มุก กลว้ ยหกั มกุ นวล กลมุ่ กล้วยอวัค (A a ) เชน่ กล้วยน้า� วา้ พันธ์ตุ า่ งๆ และกลมุ่ กลว้ ยทพิ รส ( hip harot) เช่น กลว้ ยเทพรส หรือ กลว้ ยทพิ รส กล้วยหกั มุกเขยี ว กลว้ ยหกั มุกนวล กล้วยน้�าวา้ ดา� กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 37

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 5. กล่ม เป็นกลุ่มพันธุ์กล้วยที่กลายพันธุ์มาจากกล้วยตานีป่า 2 กลุ่ม คือ กลุ่มกล้วยตานี จากภาคเหนือและภาคใต้ท่ีมีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับกลุ่มกล้วยตานีป่าจากจังหวัดน่าน และ กลุ่มกล้วยตานีจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงมีลักษณะพันธุกรรมกล้วยตานีป่าจากประเทศแถบแปซิฟิก เชน่ กลว้ ยตานขี าว กล้วยตานีดา� กลว้ ยตานกี งิ่ จันทน์ กล้วยตานีหม้อ กลว้ ยตานีหอมทอง กลว้ ยตานีกง่ิ จนั ทน์ กลว้ ยตานีหมอ้ กลว้ ยตานีหอมทอง กลว้ ยหิน 6. กล่ม เป็นกล้วยที่มีก�าเนิด มาจากกล้วยตานี กล้วยกลุ่มน้ีอาจเกิดจากการผสม ระหว่างชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน และอาจ เกิดจากการกลายพันธุ์ พบในประเทศอินโดนีเซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และไทย ผลมขี นาดกลางจนถงึ ขนาดใหญ่ ป้อมสั้น เป็นเหลี่ยม เปลือกหนา สีเหลือง เน้ือผล สีขาวครีม เน้ือละเอียด แน่นและนุ่ม มีแกนกลาง ของผล มีรสหวาน แต่ละเครือมี 10–16 หวี กล้วยกลุ่มพันธุ์น้ีมีปริมาณแป้งมากในระยะผลดิบ จึงมีรสชาติฝาด และเมื่อผลสุกไม่มีรสชาติหวาน เหมาะส�าหรับน�ามาต้มหรือย่าง นอกจากนี้สามารถ นา� ผลออ่ นมาปรงุ อาหารใสแ่ กงเผด็ ทา� สม้ ตา� ไมน่ ยิ ม รับประทานผลแก่ เน่ืองจากมีเมล็ดจ�านวนมาก นอกจากนี้สามารถรับประทานปลีและหยวกได้ เช่น กล้วยหิน นอกจากน้ีในระดับนานาชาติมีการจ�าแนก กลุ่มพันธุ์กลุ่มน้ีตามภาษาถ่ินฟิลิปปินส์ เรียกว่า กลุ่มกล้วยชาบา (Saba) เช่น กล้วยหิน และกลุ่ม กลว้ ยเล็บช้างกุด (Lep Chang ut) 38 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 กล้วยเทพรส . กล่ม เป็นกล้วยที่เกิดจากการ ผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี เป็นกล้วยที่มี จ�านวนโครโมโซมเปน็ เททราพลอยด์ ผลมขี นาดใหญ่ กล้วยในกลุ่มนี้มี 1 พันธุ์ คือ กล้วยเทพรส กล้วย ชนิดนี้จะมีลักษณะทางพันธุกรรมของกล้วยป่า 1 ใน 4 และ ลักษณะทางพันธุกรรมกล้วยตานี 3 ใน 4 จึงมีแป้งมาก ผลสุก มีรสชาติหวาน การปรากฎปลี บางครงั้ ไมม่ ี ในกรณไี มพ่ บดอกเพศผู้ จะไม่เห็นปลี และมีผลขนาดใหญ่ ในกรณีพบดอก เพศผู้ ผลจะมขี นาดเลก็ กวา่ มหี ลายหวแี ละหลายผล ก า ร มี ป ลี แ ล ะ ไ ม ่ มี ป ลี น้ี เ กิ ด จ า ก ก า ร ก ล า ย พั น ธุ ์ แบบกลับไปกลับมาได้ ซึ่งในกอเดียวกันอาจมีทั้ง กลว้ ยเทพรสมปี ลี และไมม่ ปี ลี หรอื บางครงั้ มี 2–3 ปลี ในสมยั โบราณเรยี กกลว้ ยเทพรสทม่ี ปี ลวี า่ กลว้ ยทพิ รส กลว้ ยเทพรสทส่ี กุ งอมมรี สชาตหิ วาน แตห่ ากนา� ไปตม้ จะมีรสชาติฝาด ปัจจุบันมีข้อมูลทางชีวโมเลกุลว่า กลว้ ยเทพรส อยู่ในกลุ่มจีโนม BBB . กล่ม กล้วยกลุ่มน้ีเกิดจากการผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี โดยมีลักษณะ ทางพันธุกรรมของกล้วยป่าอยู่ครึ่งหน่ึง และกล้วยตานีอีกคร่ึงหนึ่ง เป็นกล้วยท่ีมีจ�านวนโครโมโซมเป็น เททราพลอยด์ ผลมีขนาดใหญ่ กล้วยในกลุ่มพันธุ์นี้มีชนิดเดียวในประเทศไทย คือ กล้วยเงิน ผลมีรูปร่าง คลา้ ยกลว้ ยไข่ ผลสุกมีผิวสีเหลอื งสด เน้อื ในผลสีส้ม นอกจากน้ี ยังมกี ล้วยหก หรือกล้วยอ่างขาง ซ่ึงเกิดจากการผสมระหว่าง Musa acuminata และ M. itinerans Cheesman ส�าหรับกล้วยป่าท่ีเป็นกล้วยประดับใน กล่มุ พันธน์ุ ี้คอื เชน่ กล้วยบัวสีสม้ และกลว้ ยบวั สีชมพู กล้วยบัวสชี มพู กล้วยบวั สีส้ม



เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 º··èÕ 4 ข้อมลลักษ ะประ าพันธุ์กล้วย การบนั ทกึ ลกั ษณะประจา� พนั ธข์ุ องกลว้ ยของศนู ยว์ จิ ยั พชื สวนสโุ ขทยั ในระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2547–2550 ใชแ้ นวทางการจา� แนกของ Simmonds และ Shepherds (1955) ซ่ึงมีการจ�าแนกชนิดหรือพันธุ์ของกล้วยตามลักษณะพันธุกรรมโดยแบ่งเป็นกลุ่มพันธุ์ โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาท่ีส�าคัญ 15 ลักษณะเพื่อบ่งชี้ความสัมพันธ์ของกล้วย พนั ธุ์ต่างๆ ต่อมา ปี พ.ศ. 2550–2553 ได้ใช้แบบบันทึกลักษณะประจ�ากล้วยของ ส�านักคมุ้ ครองพันธุ์พืช จา� นวน 77 ลกั ษณะ ซ่ึงพัฒนาและดัดแปลงมาจากหลักเกณฑ์ การตรวจลักษณะประจ�าพนั ธ์กุ ลว้ ยของ est uidelines ( he nternational nion or the rotection o e arieties o lants : ) และข้อมูลลักษณะ พนั ธก์ุ ลว้ ยของ nternational lant enetic esources nstitute Descriptors or Banana (Musa spp.) ลกั ะ ระจาพนั ท์ุ ี่ ช้ นการ รวจสอบ ุ ส บั ขิ องพนั พ์ุ ชื การเลอื กลกั ษณะเปน็ สงิ่ จา� เปน็ สา� หรบั การตรวจสอบ D S ประกอบดว้ ย ลกั ษณะ การแสดงออกทางพนั ธกุ รรมของพนั ธพ์ุ ชื ความแตกตา่ งอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั (Distinctness) ซง่ึ สามารถจะจา� แนกไดจ้ ากพนั ธพ์ุ ชื อนื่ ๆ มคี วามสมา่� เสมอไมว่ า่ จะอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มใด สามารถแสดงลักษณะที่แน่นอนและเห็นได้เด่นชัด มีความคงตัว ซ่ึงหมายความว่า ผลผลติ จะต้องมีความสม่า� เสมอและมผี ลเหมอื นกนั ในทุกวงจรของการเพาะปลูก หรอื เมอ่ื สนิ้ สดุ แตล่ ะวงจรการเพาะปลกู โดยปกตลิ กั ษณะเดน่ หรอื ทดี่ มี คี ณุ คา่ ทางเศรษฐกจิ จะไมน่ �ามาพจิ ารณาในกรณีดังกลา่ ว อย่างไรก็ตามหากมีลกั ษณะที่อยใู่ นหลกั การหรอื มาตรฐานทก่ี �าหนดกส็ ามารถนา� มาพิจารณาตามลักษณะท่วั ไปโดยปกติ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 41

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 การจั กลุ พัน ุ์ที่ ช้ นการ รวจสอบ กา� หนดวธิ กี ารจา� กดั ลกั ษณะของพนั ธพ์ุ ชื ทจี่ ะทา� การตรวจสอบในคมู่ อื การตรวจสอบเพอ่ื อธบิ ายหรอื จา� กดั ลกั ษณะของพนั ธพ์ุ ชื นจ้ี ะใชต้ วั เลขเปน็ ตวั แทนในแตล่ ะนยิ ามของลกั ษณะและใหย้ กตวั อยา่ งแตล่ ะลกั ษณะพนั ธ์ุ ในพนั ธ์ุพืชแต่ละชนิดประกอบในค่มู ือด้วย ชนิ ของลัก ะที่พัน ุ์พืชแส งออก เนื่องจากคุณสมบัติต่างๆ ลักษณะประจ�าพันธุ์แต่ละลักษณะมีความส�าคัญมากต่อการทดสอบ D S จงึ ได้จ�าแนกคณุ สมบตั ดิ ังกลา่ วไว้ 3 ลักษณะ ดังนี้ – ลักษณะทางคุณภาพ ( ualit Characteristics : L) เป็นลักษณะท่ีแสดงความแตกต่างกัน อยา่ งชดั เจน เชน่ เพศ สามารถจา� แนกได้ 4 ชนดิ คอื (1) มเี พศเมยี แยกกนั เดน่ ชดั (2) มเี พศผแู้ ยกกนั อยา่ งชดั เจน (3) มีเกสรเพศผู้เพียงเพศเดียว (4) มีเกสรตัวผู้และตัวเมียในดอกเดียวกัน ซ่ึงคุณสมบัติเหล่าน้ีจะจ�าแนก อยา่ งชดั เจนโดยตวั มนั เองอยแู่ ลว้ และในแตล่ ะคณุ สมบตั จิ ะตอ้ งบอกถงึ ชว่ งของลกั ษณะไดแ้ ละลกั ษณะแตล่ ะชนดิ จะตอ้ งบอกคณุ สมบตั ไิ ดด้ ว้ ย และสงิ่ สา� คญั คอื ลกั ษณะเหลา่ นจี้ ะตอ้ งไมม่ อี ทิ ธพิ ลของสง่ิ แวดลอ้ มมาเกย่ี วขอ้ ง – ลักษณะทางปริมาณ ( uantit Characteristics : ) เปน็ ลกั ษณะทแ่ี สดงครอบคลุมเปน็ ช่วง ซึ่งสามารถบันทึกได้ตั้งแต่ 1 มิติ บันทึกต่อเน่ือง หรือบันทึกไม่ต่อเนื่องเป็นช่วงๆ การแสดงลักษณะของ แตล่ ะชว่ งใหใ้ ชต้ วั เลขเปน็ ตัวกา� กับ เชน่ ความยาวของล�าตน้ สามารถแยกเปน็ 5 ช่องหลัก คอื ส้ันมากใช้เลข 1 กา� กับข้างท้าย สัน้ ใช้เลข 3 ก�ากบั ข้างท้าย ปานกลางใช้เลข 5 ก�ากบั ยาวใช้เลข 7 ก�ากบั ยาวมากใชเ้ ลข 9 ก�ากับ การแบง่ ชว่ งเปน็ 1, 3, 5, 7, 9 เปน็ การกา� หนดทที่ �าใหส้ ามารถน�าไปสู่การปฏบิ ัติไดส้ ะดวกที่สดุ และคุณสมบัติของคุณภาพเหล่านี้มีผลต่อการประเมิน D S การที่ก�าหนดเป็นเลขทั้งช่วงไว้เพ่ือให้เม่ือมีการ ปฏิบัติงานจริง อาจมีพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่งไม่มีคุณสมบัติตกอยู่ในช่วงท่ีก�าหนดก็สามารถที่จะจัดให้ไปอยู่ในช่วง 0, 2, 4, 6, 8 ซึ่งความแตกตา่ งตรงนี้เป็นช่วงท่ีถอื วา่ มีน้อยท้งั ส้นิ – ลกั ษณะทางคณุ ภาพเทยี ม ( seudo– uantitati e Characteristics : ) ลกั ษณะทางคณุ ภาพเทยี ม เปน็ ลกั ษณะทางคณุ ภาพทม่ี คี วามตอ่ เนอ่ื งเปน็ บางสว่ นแตจ่ ะผนั แปรมากกวา่ 1 มติ ิ เชน่ รปู รา่ งของผล หรอื ใบ สามารถมีได้หลายลักษณะ คือ รูปไข่ (o ate) ก�าหนดเป็นเลข 1 รูปรี (elliptic) ก�าหนดเป็นหมายเลข 2 รูปกลม (circular) ก�าหนดเป็นหมายเลข 3 รูปไข่กลับ (obo ate) ก�าหนดเป็นหมายเลข 4 ซ่ึงลักษณะ เหล่านี้ไม่สามารถจะก�าหนดเป็นช่วงๆ ของค่าเริ่มต้นและค่าส้ินสุดได้ คือ ไม่สามารถจ�าแนกอย่างเด็ดขาดได้ ซง่ึ ลกั ษณะทางคณุ ภาพกเ็ ชน่ เดยี วกนั จงึ เรยี กวา่ ลกั ษณะทางคณุ ภาพเทยี ม โดยลกั ษณะแตล่ ะชว่ งจะตอ้ งนยิ าม อย่างเหมาะสมเพ่ือให้เห็นภาพได้ชัดเจน ดังน้ัน ตัวเลขจึงใช้ 1–4 ต่อกันไป ถ้ามีลักษณะใดแตกต่างกันอีก ก็ให้ต่อไป เชน่ 5, 6, 7 .... จนถงึ 9 การพิจารณาจ�าแนกชนิด/พันธุ์ ใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยารวมท้ังหมด 15 ลักษณะเป็นเกณฑ์ คือ สีของกาบใบ (pseudostem colour) ร่องของกาบใบ (petiolar canal) ก้านช่อดอก (peduncle) กา้ นดอก (pedicel) ออวลุ (o ule) ไหลข่ องกาบปลี (bract shoulder) การมว้ นของกาบปลี (bract curling) รูปร่างของกาบปลี (bract shape) ปลายของกาบปลี (bract ape ) การซีดของกาบปลี (colour ading) รอยแผลของกาบปลี (bract scar) กลบี รวมเดยี่ ว ( ree tepal o male bud) สขี องดอกเพศผู้ (male o er colour) สขี องยอดเกสรเพศเมีย (stigma colour) และสีของกาบปลี (bract colour) 42 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ดก้ า� หนดชนดิ พชื มาตรฐานของ มีการประชุมคณะทา� งานจาก ใหเ้ ปน็ พนั ธพ์ุ ชื ใหม่ ทไี่ ดร้ บั การคมุ้ ครองตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกล้วยจากหน่วยงาน จ�านวน 75 ชนิด ซ่ึงกล้วยเป็นพืชชนิดหนึ่งที่ได้รับ ความคุ้มครองตามกฎหมาย เนื่องจากมีผู้ปลูกเป็น ภายในกรมวิชาการเกษตร สถาบันการศึกษา การค้าทั้งในประเทศและส่งเป็นสินค้าออกไปยัง ต่างประเทศ นอกจากน้ีกล้วยยังมีความหลากหลาย ภาคเอกชน และเกษตรกร เพื่อปรับร่างหลักเกณฑ์ ของพันธุ์มากจนเป็นท่ีสนใจของนักปรับปรุงพันธุ์ ในการหาพนั ธท์ุ ม่ี ศี กั ยภาพเพอื่ นา� มาปรบั ปรงุ พนั ธใ์ุ หไ้ ด้ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ลั ก ษ ณ ะ ป ร ะ จ� า พั น ธุ ์ พื ช ก ล ้ ว ย พนั ธใ์ุ หม่ การสรา้ งหลกั เกณฑก์ ารตรวจสอบลกั ษณะ ประจา� พนั ธพ์ุ ชื กลว้ ย โดยจดั ทา� ขอ้ มลู บนั ทกึ ลกั ษณะ ให้สามารถใช้ได้ตามมาตรฐานการตรวจสอบของ พันธุ์พืช (passport data) มีท้ังหมด 109 ลักษณะ เพ่ือน�ามาศึกษาการยกร่างหลักเกณฑ์การตรวจสอบ ประเทศไทย จนไดห้ ลกั เกณฑก์ ารตรวจสอบลกั ษณะ ลักษณะประจ�าพันธุ์พืชกล้วย (Musa spp.) ตาม ประจา� พนั ธพ์ุ ชื กลว้ ย ทใ่ี ชป้ ระเมนิ ลกั ษณะพนั ธก์ุ ลว้ ย 77 ลกั ษณะ (descriptor) ประกอบดว้ ย ลา� ตน้ เทยี ม ประกอบด้วย ลักษณะท่ีต้องตรวจสอบ 7 ลักษณะ ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ลกั ษณะพนั ธพ์ุ ชื คอื ใบ 18 ลกั ษณะ ช่อดอก 9 ลักษณะ ใบประดับ 8 ลกั ษณะ ดอกเพศผู้ 16 ลักษณะ และลักษณะผล 19 ลักษณะ ซึ่งน�าไป ใช้ทดสอบในภาคสนาม และความถูกต้องของพันธุ์ กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 43

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร ส�านักวิจัย ลักษณะพันธุ์กล้วยเพื่อการด�าเนินงานการบันทึก และพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 2 กองการสัตว์และ ข้อมูลลักษณะพันธุ์พืชได้ 80 ลักษณะประกอบด้วย เกษตรกรรมที่ 1 อ�าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ล�าต้นเทียม 7 ลักษณะ ใบ 18 ลักษณะ ช่อดอก และแหลง่ เพาะปลกู ของเกษตรกรในอา� เภอแปลงยาว หรือปลีกล้วย 11 ลักษณะ ใบประดับหรือกาบปลี จังหวัดฉะเชิงเทรา จากการประเมินลักษณะประจ�า 8 ลักษณะ ดอกเพศ ผู้ 16 ลักษณะ และผล พันธุ์พชื กลว้ ย 77 ลกั ษณะ 20 ลักษณะ โดยมีลักษณะพันธุ์กล้วยท่ีบันทึก เพิ่มเติมจากลักษณะพันธุ์กล้วยของส�านักคุ้มครอง ในปี พ.ศ. 2555 ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย พันธุ์พืช 3 ลักษณะ คือ ขนาดเส้นรอบวงปลี สถาบันวิจัยพืชสวน ได้น�าข้อมูลลักษณะพันธุ์พืช : ความกว้างปลี และความกว้างผล ดังนี้ ตารางท่ี 2 กล้วย ของส�านักคุ้มครองพันธุ์พืช ซึ่งได้ก�าหนด ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บลักษณะพนั ธ์กุ ล้วยของสา� นกั คุม้ ครองพนั ธ์ุพืชกับศนู ย์วิจยั พืชสวนสโุ ขทยั ลา� บ ลกษณะพนธพ์ ืช ส�านกค้มครองพนธ์พชื ศนู ยว์ ิจยพชื สวนสโขทย ล�าตน้ เทยี ม üü 1 ลักษณะวสิ ยั ของใบ üü 2 ความสูงลา� ตน้ เทยี ม üü 3 เส้นรอบวงล�าตน้ เทยี ม üü 4 สลี �าตน้ เทียม üü 5 ไขบนล�าต้นเทยี ม/การปรากฏ üü 6 จ�านวนหนอ่ üü 7 ตา� แหน่งของหนอ่ ขา้ ง üü ใบ üü 8 ลักษณะปนบนโคนกา้ นใบ/การปรากฏ üü 9 สีของปนบนโคนก้านใบ üü 10 รอ่ งของกา้ นใบ üü 11 สีของขอบกา้ นใบ üü 12 ความกวา้ งของขอบก้านใบ üü 13 ความยาวของแผน่ ใบ üü 14 ความกว้างของแผน่ ใบ üü 15 ความยาวของกา้ นใบ 16 ลักษณะของแผน่ ใบ 44 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร

เนื่องในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ล�า บ ลกษณะพนธ์พืช ส�านกค้มครองพนธพ์ ืช ศูนย์วิจยพชื สวนสโขทย ใบ üü 17 สขี องแผน่ ใบดา้ นบน üü 18 ความมันของแผ่นใบด้านบน üü 19 สขี องแผ่นใบด้านล่าง üü 20 ความมันของแผน่ ใบด้านลา่ ง üü 21 ไขด้านล่างของแผ่นใบ üü 22 รูปร่างของปลายใบ üü 23 รปู รา่ งของโคนใบ üü 24 สผี วิ ดา้ นบนของเสน้ กลางใบ üü 25 สผี วิ ดา้ นลา่ งของเสน้ กลางใบ üü ชอ่ อก üü 26 ความยาวของก้านชอ่ ดอก üü 27 ความกว้างของกา้ นชอ่ ดอก üü 28 สกี ้านของช่อดอก üü 29 การมีขนบนก้านช่อดอก üü 30 ต�าแหนง่ ของเครอื กล้วย üü 31 รปู รา่ งของเครือกล้วย üü 32 ลกั ษณะปรากฏของเครือ 33 รปู รา่ งของปลีกลว้ ย ü 34 ขนาดเส้นรอบวงปลี ü 35 ความกวา้ งของปลี üü 36 ความยาวของปลีกลว้ ยในระยะเกบ็ เก่ียว üü ใบประ บ üü 37 รูปร่างโคนใบประดบั üü üü 38 รูปร่างปลายใบประดบั 39 สีผิวดา้ นนอกของใบประดบั นอก 40 สีผิวดา้ นในของใบประดบั ใน กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร 45

เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 46 ปี การสถาปนากรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2561 ลา� บ ลกษณะพนธ์พืช สา� นกค้มครองพนธพ์ ืช ศนู ย์วจิ ยพชื สวนสโขทย ใบประ บ ü ü 41 รอยแผลใบประดับบนแกนกลาง ü ü 42 พฤตกิ รรมของใบประดับก่อนรว่ ง ü ü 43 ไขบนใบประดับ ü ü 44 ลักษณะรอ่ งบนใบประดับ ü ü อกเพศผู้ ü ü 45 พฤติกรรมของดอกเพศผู้ ü ü 46 สพี นื้ ฐานของกลบี รวมเชงิ ประกอบ ü ü 47 สีพูของกลีบรวมประกอบ ü ü 48 สขี องกลบี รวมอิสระ ü ü 49 รปู ร่างของกลบี รวมอิสระ ü ü 50 การพฒั นาตรงสว่ นปลายของกลบี รวมอสิ ระ 51 รปู ร่างตรงสว่ นปลายของกลบี รวมอิสระ ü ü 52 การยื่นของอับเรณูตรงระดับฐานพบู น ü ü กลีบรวมเชิงประกอบ ü ü ü ü 53 สีของกา้ นชูอับเรณู ü ü 54 สขี องอบั เรณู ü ü 55 สพี นื้ ของก้านเกสรเพศเมีย ü ü 56 รปู รา่ งของก้านเกสรเพศเมีย ü ü 57 สขี องยอดเกสรเพศเมีย ü ü 58 รปู รา่ งรงั ไข่ 59 สพี น้ื ของรังไข่ ü ü 60 สขี องดอกเพศผู้ ü ü ü ผล 61 จ�านวนผลตอ่ หวี 62 ความยาวผล 63 ความกวา้ งผล 46 กล้วยกินได้ ของกรมวิชาการเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook