Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore malaysia

Description: malaysia

Search

Read the Text Version

รายชือ่ กระทรวง ข้อมูลติดต่อ กระทรวงกิจการสตรี ท่อี ยู่ : No.55, Persiaran Perdana, ครอบครัว และการพฒั นาสังคม Precint 4, 62100 PUTRAJAYA. (Ministry of Women, Family and อเี มล : [email protected] Society Development) กระทรวงโยธาธิการ ท่อี ยู่ : Level 5, Block A, Kompleks (Ministry of Works) Kerja Raya, Jalan Sultan Salahuddin, 50580 KUALA LUMPUR. อีเมล : [email protected] กระทรวงเยาวชนและกฬี า ทอี่ ยู่ : Level 17, KBS Tower, (Ministry of Youth and Sports) Precint 4, Federal Government Administrative Centre, 62570 PUTRAJAYA อีเมล : [email protected] 100

4.3 หจำ�ลนักวหนรขือ้ารคาุณชลกัการษทณ่ัวะปหรละักเทในศกพารรเ้อขม้าคสุณู่ปรละักชษาณคมะ อาเซียน 4.3.1 จำ�นวนขา้ ราชการทั่วประเทศ ประเทศมาเลเซยี มขี า้ ราชการทห่ี นว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (Public Service Department: PSD) รับผิดชอบท้ังหมดในปี พ.ศ. 2555 จ�ำนวน 1,118,392 คน แบ่งเป็นต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงจ�ำนวน 1,711 คน (รอ้ ยละ 0.15) ผู้บริหารระดับกลางและนักวิชาการจ�ำนวน 224,794 คน (ร้อยละ 20.09) และต�ำแหนง่ สนับสนุนจ�ำนวน 891,917 คน (ร้อยละ 79.75) ใน พ.ศ. 2556 จ�ำนวนข้าราชการท้ังหมด 1.3 ล้านคน และใน พ.ศ. 2557 เพิม่ จ�ำนวนเป็น 1.4 ล้านคน จากประชากร ทง้ั หมด 29.30 ล้านคน ซง่ึ เป็นอัตราข้าราชการที่เพมิ่ ขึ้นอย่างตอ่ เนอ่ื ง เม่อื เทียบกับสถิติอัตราข้าราชการพลเรอื นในอดีต 4.3.2 คณุ ลกั ษณะหลกั ของขา้ ราชการ มาเลเซียได้ก�ำหนดคุณลักษณะหลักของข้าราชการทั้งในด้าน ความเปน็ เลศิ ของผลการปฏบิ ตั งิ าน และดา้ นจรยิ ธรรมและความซอื่ ตรง ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ในดา้ นความเปน็ เลศิ ของผลการปฏบิ ตั งิ าน ขา้ ราชการมาเลเซยี ทกุ คน ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 101

ตอ้ งมีคณุ ลักษณะหลกั ดงั ต่อไปน้ี w มงุ่ มน่ั สูค่ วามเปน็ มืออาชีพ w เนน้ ความฉลาดล้�ำ และความน่าเชื่อถอื w มุ่งการท�ำงานเป็นทีม w มงุ่ มนั่ การปฏบิ ตั งิ านท่ตี รงต่อเวลา w หม่นั ศึกษาหาความรอู้ ยเู่ สมอ ส่วนในด้านของจริยธรรมและความซื่อตรง จากค�ำกล่าวของอดีต นายกรัฐมนตรี Badawi ทไี่ ด้กล่าวไว้เมอื่ ปี พ.ศ. 2547 ว่า “มาเลเซียประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาประเทศ และก�ำลัง กา้ วไปสปู่ ระเทศพฒั นาดว้ ยการกำ� หนดรปู แบบในการพฒั นาตนเอง และ การบรหิ ารจดั การ เพอ่ื แกจ้ ดุ ออ่ นและขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ ซง่ึ ความทา้ ทายหลกั คือ ต้องพยายามสร้างความเข้มแข็งในเร่ืองจริยธรรมและความซ่ือตรง (Ethic and Integrity) ใหเ้ กิดขน้ึ กบั ข้าราชการ” [12] การมุ่งเน้นความซื่อตรงในการบริหารจัดการ โดยมีการก�ำหนด เปา้ หมายในการพฒั นาใหม้ าเลเซยี เปน็ “สงั คมแหง่ ศลี ธรรมจรรยา” และ ไดก้ �ำหนดคา่ นยิ มหลกั ของประเทศ เพอื่ พฒั นาลกั ษณะนสิ ยั ของคนในชาติ 6 ประการ ดังน้ี 1. ความซ่อื สตั ย์ 2. ความนา่ ไว้วางใจ 3. ความมสี ตปิ ญั ญา 4. ความเปน็ ธรรม 5. ความโปร่งใส 102

6. ความกตัญญู แผนพฒั นา “คน” 5 ปีแรกของมาเลเซยี (พ.ศ. 2541 - 2546) มุง่ เนน้ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐทั้งข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจก่อน ด้วยการจัดตั้ง “คณะกรรมการบริหารแผนพัฒนาความซื่อตรง” ในทุกสว่ นราชการ โดยยงั ไมม่ กี ารเชือ่ มโยงไปยังภาคสว่ นตา่ งๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ได้จัดท�ำแผนพัฒนา “คน” ฉบับท่ี 2 โดยเปลี่ยนเป็นจัดท�ำแผนพัฒนาความซ่ือตรงแห่งชาติ (National Integrity Plan) ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2547 - 2551 เพ่อื เปน็ แผนหลกั ในการ ชนี้ �ำทกุ ภาคสว่ นกา้ วไปสเู่ ปา้ หมายของชาตริ ว่ มกนั ในลกั ษณะบรู ณาการ และประสานงานขบั เคลอื่ นการสรา้ งความซอื่ ตรงของชาติ โดยเปา้ หมาย ส�ำคญั ของแผนฉบบั ดังกลา่ ว มี 5 ประการ ดงั นี้ [12] 1. ลดการทุจริตประพฤติมิชอบ และการฉ้อราษฎร์บังหลวง อย่างไดผ้ ล 2. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรกิ ารในภาครฐั และลดกระบวนการท�ำงาน ทม่ี หี ลายขั้นตอนซ้ำ� ซอ้ นกัน 3. สร้างประมวลจริยธรรมในภาครฐั และเอกชน 4. เสรมิ สร้างความเข้มแข็งของสถาบนั ครอบครัว 5. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและความเป็นอย่ขู องประชาชนใหด้ ีขึ้น ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 103

4.3.3 คุณลกั ษณะหลักของข้าราชการในการเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น มาเลเซียได้เน้นคุณลักษณะส�ำคัญของข้าราชการ เพ่ือเตรียม ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยข้าราชการต้องมีทักษะ ในการปรับตัวทางวัฒนธรรม และการฝึกฝนตนเองให้เป็นผู้เรียน อยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากนโยบายการศึกษาที่ต้องการพัฒนาบุคลากร ที่มีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในด้านวิชาการ ความกระหาย ทจ่ี ะเรยี นรพู้ ฒั นาตนเองไปตลอดชวี ติ และมกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั เปิดใจพร้อมรับวัฒนธรรมต่างๆ พร้อมๆ ไปกับส่งเสริมให้มีคุณธรรม จริยธรรม มาเลเซียเองตระหนักดีว่าเมื่อแรงงานสามารถเคล่ือนย้ายได้ อย่างเสรีภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาชนภายในประเทศ จะตอ้ งพบกบั การแขง่ ขนั ในตลาดงานจากแรงงานฝมี อื ตา่ งชาตทิ ไี่ หลเขา้ มา ในประเทศ ดังนั้นเพ่ือให้ข้าราชการและประชาชนของมาเลเซีย พร้อมส�ำหรับการแข่งขันในตลาดงาน ยกตัวอย่างเช่น งานด้านบริการ รฐั บาลมาเลเซยี ไดบ้ รรจหุ ลกั สตู รดา้ นการใหบ้ รกิ าร และการสรา้ งเสรมิ จติ ใจ รักบริการลงไปในทุกหลักสตู รทเ่ี ปดิ สอนในวทิ ยาลยั 104

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจ ของแต่ละกระทรวงและหน่วยงานหลกั ทร่ี ับผดิ ชอบงานท่เี ก่ยี วกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย 105

5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะกระทรวง ส�ำหรับยุทธศาสตร์และภารกิจแต่ละกระทรวงของมาเลเซีย สามารถสรปุ ได้ ดงั นี้ 1. ส�ำนักนายกรัฐมนตรี วสิ ัยทศั น์ เพ่อื สง่ เสรมิ การท�ำงานตามวิสยั ทัศนข์ องนายกรฐั มนตรี ทจี่ ะมงุ่ สกู่ ารเปน็ รฐั บาลเชงิ นวตั กรรมทเ่ี ปน็ เลศิ และซอื่ สตั ย์ เพอื่ ใหบ้ รกิ าร ประชาชนและประเทศ ตารางที่ 1 ยทุ ธศาสตรแ์ ละภารกจิ ของกระทรวงแตล่ ะกระทรวง ยุทธศาสตร์ ภารกจิ w สร้างมาเลเซียให้เป็นชาติท่ีมี w การจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื อ�ำนวย ความเปน็ นำ�้ หนงึ่ ใจเดยี ว มคี วามส�ำนกึ ตอ่ นายกรฐั มนตรใี นการด�ำเนนิ งานตาม และจุดมุ่งหมายร่วมกัน เป็นชาติท่ีมี บทบาทและหนา้ ทอ่ี ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ความสงบ มีบูรณาการด้านดินแดน และประสทิ ธผิ ลตามเวลาท่ีเหมาะสม มีความสามัคคี มคี วามรกั และเสยี สละ ตอ่ ชาติบา้ นเมอื ง w สร้างสังคมที่มีความเป็นอิสระ ม่ันคงและพัฒนา ซึ่งเป็นสังคมท่ีมี ความเชอ่ื มนั่ ศรทั ธาและมนั่ ใจในตนเอง มีความภาคภูมิใจในสิ่งท่ีเป็นอยู่และ ความส�ำเร็จท่ีได้รับ มีความแข็งแกร่ง พอที่จะเผชิญกับปัญหาอุปสรรคตา่ งๆ แสวงหาความเป็นเลิศ ตระหนัก 106

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ในศกั ยภาพของตน ไมต่ กอยใู่ ตอ้ �ำนาจ ของผหู้ นงึ่ ผใู้ ด และเปน็ ทยี่ อมรบั นบั ถอื จากประชาชนชาติต่างๆ w สรา้ งสงั คมประชาธปิ ไตยทสี่ มบรู ณ์ เต็มรูปแบบ เป็นสังคมประชาธิปไตย ท่ีมีความเจริญก้าวหน้าอย่างเต็มท่ี เป็นประชาธิปไตยแบบมาเลเซีย ทยี่ ดึ ถอื ชุมชนเปน็ ส�ำคญั และสามารถ เป็นแบบอย่างใหก้ ับประเทศอืน่ ๆ w เสริมสร้างสังคมที่มีความเจริญ งอกงามทงั้ ดา้ นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม อย่างสมบรู ณ์ ท�ำใหพ้ ลเมืองเครง่ ครดั ต่อศาสนาและค่านยิ มท่ดี ี w สร้างสังคมที่มีความอดทนและ เสรภี าพ ท่ใี ห้ชาวมาเลเซยี ทุกเชอื้ ชาติ และศาสนามีอิสระที่จะปฏิบัติและ ด�ำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม และความเชอ่ื ทาง ศาสนา โดยมจี ติ ส�ำนกึ ในความเปน็ ชาติ เดียวกัน w สร้างมาเลเซียให้เป็นสังคมวิทยา ศาสตรแ์ ละมคี วามก้าวหนา้ เปน็ สงั คม ที่ มี น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ รู ้ จั ก ก า ร ม อ ง ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 107

ยุทธศาสตร์ ภารกจิ ไปในอนาคต โดยมิใช่เป็นแต่เพียง ผู้บริโภคเทคโนโลยีเท่าน้ัน แต่ร่วม เสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำหรับ อนาคต w ส ร ้ า ง สั ง ค ม ที่ มี วั ฒ น ธ ร ร ม ความเป็นอยู่ท่ีเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน เป็นระบบสังคมที่ค�ำนึงถึงส่วนรวม มากกวา่ ส่วนตวั มีการสร้างสวัสดกิ าร ทางสังคมท่ีมใิ ชแ่ คก่ ารให้ แต่มงุ่ สร้าง สงั คมใหแ้ ขง็ แกรง่ และฟน้ื ฟสู ภาพสงั คม ใหด้ ีข้นึ w สรา้ งสงั คมทมี่ คี วามเทย่ี งธรรมทาง เศรษฐกจิ มหี ลกั ประกนั การเปน็ สงั คม ท่ีมีความยุติธรรมและความเท่าเทียม ในการกระจายความมงั่ คง่ั ของประเทศ ให้ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการ พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมใหเ้ ปน็ ระบบ เศรษฐกจิ ทีไ่ มม่ กี ารแบ่งแยกเชอ้ื ชาติ w สรา้ งสังคมให้มีความม่ังคัง่ มกี าร เคล่ือนไหวทางเศรษฐกิจ การแข่งขัน ความแข็งแกรง่ และยดื หยนุ่ 108

2. กระทรวงเกษตรและอตุ สาหกรรมการเกษตร วิสยั ทศั น์ การปฏริ ปู การเกษตรใหอ้ ยูใ่ นระดับแนวหน้า ยุทธศาสตร์ ภารกจิ w เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดย w เปลี่ยนแปลงภาคการเกษตรและ การมีส่วนรว่ มของภาคเอกชนมากข้นึ อุตสาหกรรมการเกษตรให้ทันสมัย อย่างเป็นพลวัต และสามารถสร้าง w ขยายกิจกรรมหรือกระบวนการ ความได้เปรียบดา้ นการแข่งขนั ทางการเกษตรและผลผลิตที่มีความ w มาเลเซียเป็นผู้ส่งออกอาหารท่ี หลากหลายยิง่ ขนึ้ ส�ำคัญของโลก w เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ w พัฒนาภาคการเกษตรให้เติบโต ตลาดและสรา้ งเครอื ขา่ ยทั่วโลก เป็นก�ำลงั หลักของประเทศ w เพม่ิ รายไดข้ องเกษตรกรรายยอ่ ย ชาวนา และชาวประมง w ปรบั ปรงุ ระบบการใหบ้ รกิ ารจดั สง่ ผลผลติ ทางการเกษตร 3. กระทรวงกลาโหม วสิ ยั ทศั น์ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ องคก์ ารทน่ี า่ เชอ่ื ถอื ภายใตน้ โยบายการปอ้ งกนั ประเทศระดับสากล ยุทธศาสตร์ ภารกิจ w กลยุทธ์เชิงพาณชิ ย์ w เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ การบรหิ ารจดั การ 1) ความรว่ มมอื ดา้ นการผลติ กบั ป้องกันประเทศมีความเป็นเลิศและ บริษทั ต่างชาติ สามารถแข่งขันได้ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 109

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ 2) การใชง้ านรว่ มกนั 3) เพิ่มความสามารถของภาค อตุ สาหกรรมการผลติ ในทอ้ งถน่ิ 4) การซื้อคนื 5) การลงทุน 6) การแลกเปล่ียนเทคโนโลยี 7) การช่วยเหลือดา้ นเทคนคิ 8) การชว่ ยเหลือด้านการตลาด ระหว่างประเทศ 9) การซือ้ ชิ้นสว่ นการผลติ w กลยุทธเ์ ส้นทางนำ�้ และทางอากาศ 1) เสน้ ทางนำ้� และอากาศเปน็ เสน้ ทางการเช่อื มโยงระหวา่ ง คาบสมุทรมาเลเซีย กบั รัฐซาบาห์และรฐั ซาราวคั 2) การเขา้ ถงึ ชอ่ งแคบมะละกา 3) การเข้าถงึ ชอ่ งแคบสิงคโปร์ w กลยทุ ธ์ดา้ นงบประมาณ 1) การจดั จา้ งกจิ กรรมหรอื บรกิ าร สนบั สนุนจากหน่วยงาน ภายนอก (โดยภาคเอกชนจะ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม) และจะมงุ่ ที่ 110

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ กจิ กรรมหลกั (การป้องกนั ประเทศ) เท่าน้นั 2) การรกั ษาก�ำลงั หลกั และขยาย ก�ำลงั ส�ำรอง (กลยทุ ธใ์ นการ ปรับก�ำลังพลทีเ่ หมาะสม) 3) คา่ ใชจ้ า่ ยการปอ้ งกนั ประเทศ ส�ำหรบั เงินค่าตอบแทน บคุ ลากร ซง่ึ ไมใ่ ชเ่ งนิ เดอื นสว่ น บคุ คล แตจ่ ะเปน็ คา่ รกั ษาแบบ 40:60 หมายความวา่ เงนิ ทไ่ี ด้ รบั จะถูกจดั สรรไวส้ �ำหรับ เสรมิ สร้างความสามารถ ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ การเปล่ียนแปลงเพ่ือผลกั ดนั ความรพู้ น้ื ฐานและคณุ ภาพชวี ติ ของทหาร 4) รปู แบบนวตั กรรมทางการเงนิ เหมอื นกบั การรเิ รม่ิ นวตั กรรม ทางการเงินของภาคเอกชน ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 111

4. กระทรวงการค้าภายใน สหกรณ์ และการคุม้ ครองบริโภค วิสัยทัศน์ เป็นผู้น�ำในการพัฒนาการค้าภายใน สหกรณ์ และ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ยุทธศาสตร์ ภารกิจ w เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาค w เตรยี มการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทาง การค้าในประเทศเพื่อผลิตภัณฑ์มวล ธรุ กจิ เพ่ือพัฒนาการค้าภายใน รวมภายในประเทศ w น�ำประเทศไปสู่การเอ้ือประโยชน์ w ดแู ลและตระหนกั ถึงผบู้ รโิ ภค w สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวย ตอ่ ชมุ ชนผ้บู ริโภคท่มี ีจติ ส�ำนึกในความ ถูกต้องของสิทธิและอ�ำนาจท่ีมีอยู่ใน ต่อธรุ กจิ แต่ละบุคคล w มุ่งสู่การเปดิ ตลาดอยา่ งเสรี w พัฒนาการแข่งขันความก้าวหน้า w มงุ่ มนั่ เพอื่ ความเปน็ เลศิ ขององคก์ าร ด้วยสหกรณท์ ย่ี ืดหยนุ่ โดยมุ่งเน้นด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ การจัดการด้านการเงินอย่างรอบคอบ w สนับสนุนการสร้างสรรค์และ และมีประสิทธิภาพในการบริหาร การด�ำเนนิ งาน นวัตกรรม ตลอดจนการคุ้มครองสิทธิ ทางปัญญา w สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และปลกู ฝงั ความ เปน็ สากล w โครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายท่ี เขม้ งวดและระบบการบรหิ ารทเ่ี ครง่ ครดั เกีย่ วกบั ทรัพย์สนิ ทางปัญญา 112

5. กระทรวงศกึ ษาธิการ และอดุ มศึกษา วิสยั ทศั น์ คณุ ภาพของการศึกษาจะท�ำใหผ้ ู้ศกึ ษาเจรญิ ก้าวหน้า ยุทธศาสตร์ ภารกิจ w กลยุทธ์ด้านการขยายโอกาสการ w พัฒนาและเสริมสร้างสถาบันการ เข้าถึงและการเพ่ิมความเท่าเทียมกัน ศึกษาในระดับสูงขึ้น เพื่อผลิตบุคคลที่ ทางการศกึ ษา มีความสามารถในการแข่งขันและ 1) รอ้ ยละ 50 ของประชากรท่มี ี นวตั กรรมทมี่ คี ณุ คา่ ทางศลี ธรรมสงู และ การเข้าถงึ การศกึ ษาระดบั ตอบสนองความปรารถนาของประเทศ อดุ มศกึ ษา และรอ้ ยละ 33 ของแรงงานทีม่ วี ฒุ ิการศึกษา ระดับอดุ มศึกษา 2) ทุนส�ำหรับการพฒั นา ทรัพยากรมนุษย์ระดบั อดุ มศกึ ษา ทนุ อนั ทรงเกยี รติ (ส�ำหรับนกั เรียนท่มี ีผลการ ศกึ ษาอยใู่ นเกณฑด์ เี ยย่ี ม) และ ทนุ การศึกษาพเิ ศษ (ส�ำหรับ กลุ่มเฉพาะในสาขาต่างๆ) w กลยุทธ์ด้านการปรับปรุงคุณภาพ การเรียนและการสอน 1) นโยบายแห่งชาตสิ �ำหรับการ ฝกึ งานส�ำหรับนกั เรยี นและ การฝึกสอนของอาจารย์ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 113

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ 2) ปรบั ปรุงระยะเวลาของ หลกั สตู ร วธิ กี ารเรยี นรูใ้ นรูป แบบโตต้ อบ และการใช้งาน ภาษาองั กฤษทมี่ ากขึ้น 3) ผูส้ �ำเรจ็ การศึกษามคี วาม สามารถตรงตามความตอ้ งการ ของตลาด 4) จ�ำนวนผสู้ �ำเรจ็ ปรญิ ญาเอกหรอื เทียบเทา่ 100,000 คน w กลยทุ ธด์ า้ นการสง่ เสรมิ งานวจิ ยั และ นวัตกรรม 1) พัฒนานกั วจิ ยั กลมุ่ ส�ำคัญ (100 นักวจิ ัยต่อ 10,000 แรงงาน) 2) มหาวิทยาลยั ด้านการวิจยั 6 แห่ง 3) ผู้เรยี นมีวัฒนธรรมการเรียนรู้ เชงิ นวัตกรรม 4) ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ เ่ี ปน็ เลศิ ระดบั โลก 20 แห่ง 5) ร้อยละ 10 ของงานวจิ ัยทีถ่ ูก พบในเชงิ พาณชิ ย์ w กลยุทธ์ด้านการเสริมสร้างสถาบัน ระดบั อุดมศกึ ษา 114

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 1) สถาบันระดับอดุ มศกึ ษา 3 แหง่ ตดิ 100 อนั ดบั แรก และ เปน็ หนงึ่ ใน 50 อนั ดบั แรกของ มหาวิทยาลยั ทีม่ ีช่อื เสียงของ โลก 2) ร้อยละ 75 ของผสู้ อน ต้องมี คณุ สมบัตริ ะดบั ปริญญาเอก 3) การจดั อนั ดบั ของสถาบนั อยู่ บนพนื้ ฐานของตวั ชว้ี ดั (KPIs) w กลยทุ ธ์ดา้ นความเปน็ สากลยิง่ ขน้ึ 1) สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื กบั สถาบันตา่ งชาติ 2) คา่ เฉลยี่ โดยรวมรอ้ ยละ 10 ของการลงทะเบียนต้อง ประกอบดว้ ยนกั ศกึ ษาตา่ งชาติ โดยเฉพาะในสถาบันเอกชน 3) รอ้ ยละ 5 นกั ศึกษาต่างชาต ิ ในบางหลกั สตู รตอ้ งมี การแข่งขนั สอบเขา้ เรียน 4) การสง่ นกั ศกึ ษาหลงั จบระดบั ปรญิ ญาเอกไปยงั มหาวทิ ยาลยั ตา่ งชาตทิ มี่ ีชอ่ื เสียง 5) รอ้ ยละ 15 ของผสู้ อนตอ้ งเปน็ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 115

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ ชาวต่างชาตสิ �ำหรับ มหาวทิ ยาลยั ดา้ นวจิ ยั 6) นกั ศึกษาสามารถเทยี บโอน หน่วยกิจได้ 7) ทุนการศกึ ษาต่างประเทศ w กลยทุ ธด์ า้ นวฒั นธรรมการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ 1) ตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 2) การระลึกถงึ ชว่ งเวลาของ ประสบการณแ์ หง่ การ เรยี นรู้ 3) เพ่มิ การมสี ่วนรว่ มการ เรยี นรู้ตลอดชวี ิตของผู้ใหญ่ 4) โปรแกรมทางเลอื ก w กลยุทธ์ด้านเสริมสร้างระบบการ ศึกษา 1) หน่วยงานการศึกษาต้องมี บทบาทเสมือนผ้เู ออ้ื อ�ำนวย 2) ระบบการส่งมอบทด่ี ีทส่ี ดุ 3) การควบคมุ และการน�ำไป ปฏบิ ัติอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) การวดั ผลบนพืน้ ฐาน 116

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ของตวั ช้วี ัด 5) การใชจ้ า่ ยอยา่ งรอบคอบของ รฐั บาล 6) การแตง่ ตงั้ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของสถาบนั ดว้ ยความโปรง่ ใส 6. กระทรวงพลงั งาน เทคโนโลยเี พอ่ื สง่ิ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรนำ�้ วิสัยทัศน์ ทรัพยากรน�้ำและพลังงานที่ยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดล้อมของ มาเลเซีย ยุทธศาสตร์ ภารกจิ w แผนและนโยบายระหวา่ งประเทศ w คดิ คน้ และจดั การทรพั ยากรอยา่ ง ด้านพลังงาน เทคโนโลยีสีเขียว และ มกี ลยทุ ธ์ เพอื่ ท�ำใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจ นา่ อุตสาหกรรมน้�ำ ซง่ึ เป็นทย่ี อมรับ เชื่อถือ และสามารถจัดหาพลังงาน ทรัพยากรน�้ำ และเป็นผู้น�ำในการ w กลยุทธ์การค้าระหว่างประเทศ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสีเขียวเพ่ือ สนบั สนนุ เศรษฐกจิ และวถิ ชี วี ติ สเี ขยี ว ด้านพลังงาน เทคโนโลยีสีเขียว และ ทรัพยากรน�้ำ รวมท้งั การเปิดเสรกี าร ตลาดด้านเทคโนโลยีสีเขียว และ ทรัพยากรน�้ำในระดับองค์การการค้า โลก (WTO) อาเซยี น และ เขตการค้า เสรี (FTA) ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 117

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ w แผนการใช้พลงั งานเทคโนโลยี สีเขยี ว และทรัพยากรน้�ำ ร่วมกับ หน่วยงานในโครงการความร่วมมอื ระหว่างประเทศ 7. กระทรวงกจิ การดนิ แดนสหพันธรฐั วสิ ยั ทัศน์ เพ่อื ความกา้ วหนา้ และความเจรญิ รุ่งเรอื งของกิจการดิน แดนสหพันธรฐั ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ w แผนการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นดินแดน w การน�ำความก้าวหน้าและการ สหพนั ธรฐั ของกวั ลาลมั เปอรใ์ หเ้ ปน็ เมอื ง พัฒนากิจการดินแดนสหพันธรัฐ การ ระดบั โลก ยกระดับคุณภาพชีวิตของสังคม และ แผนการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นดินแดน w แผนการพัฒนาที่มุ่งเน้นดินแดน สหพนั ธรฐั ของกวั ลาลมั เปอรใ์ หเ้ ปน็ เมอื ง ระดบั โลก สหพนั ธรฐั ปตุ ราจายา เขตปกครองพเิ ศษ ที่สร้างข้ึนเพื่อเป็นศูนย์กลางการ ปกครองแห่งใหม่ w แผนการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นดินแดน สหพันธรัฐลาบวน เป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจท่ีรุ่งเรือง น้�ำมันและก๊าซ ศนู ยก์ ลางดา้ นการเงนิ และการทอ่ งเทยี่ ว w ด�ำเนนิ โปรแกรมดา้ นสขุ อนามยั ของ 118

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ดินแดนสหพนั ธรัฐ w เสรมิ สรา้ งและพฒั นาดา้ นการกฬี า ของดนิ แดนสหพนั ธรฐั w วางแผนจัดตั้งและพัฒนาความ สมดุลของศูนย์กลางด้านธุรกิจและ อุตสาหกรรมในเขตเศรษฐกิจของ ประเทศ (Klang Valley) 8. กระทรวงการคลัง วิสัยทัศน์ บริหารเชิงกลยุทธ์ชั้นน�ำทางการเงินและผลลัพธ์ทาง เศรษฐกจิ เพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ เศรษฐกจิ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งและยง่ั ยนื ส�ำหรบั ประชาชนและประเทศ ยุทธศาสตร์ ภารกิจ w กลยุทธ์การเป็นผู้ประกอบการ w ท�ำใหม้ นั่ ใจวา่ การเจรญิ เตบิ โตทาง แห่งชาติ การจัดสรรเงินทุน และ เศรษฐกิจมีความต่อเนื่องและยงั่ ยนื การประสานงาน การประเมินผล โปรแกรมผปู้ ระกอบการภาครัฐ w เสริมสร้างความสามารถในการ w สรา้ งเขตพิเศษ “มาเลเซยี การคิด แข่งขันระดับชาติและความยืดหยุ่น ทางเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ระดับโลกและศูนย์กลาง นวัตกรรม” (Malaysia Global w ท�ำให้มั่นใจว่าการจัดการด้าน Creativity and Innovation การเงนิ มีประสทิ ธภิ าพและรอบคอบ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 119

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ Centres - MaGIC)” w สร้างโปรแกรม “ผู้ประกอบการ โครงการทดลองน�ำล่อง” ท่ีช่วยให้ ทุกคนได้ทดลองกิจกรรมทางธุรกิจ ขนาดเล็กออนไลน์และออฟไลน์ท่ีมี คา่ ใชจ้ ่ายและความเสี่ยงต่�ำ w ริเริ่มโครงการ “5K Youth Start- ups” เพอื่ สรา้ งผปู้ ระกอบการหนมุ่ -สาว 5,000 รายทกุ ๆ ปี 9.กระทรวงการตา่ งประเทศ วิสัยทัศน์ บริการด้านต่างประเทศท่สี นับสนุนต่อความส�ำเร็จอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพของมาเลเซีย ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ w การรักษาความสัมพันธ์อย่างสันติ w การบรู ณภาพดนิ แดนเพอ่ื สง่ เสรมิ กบั ทกุ ประเทศ โดยไม่ค�ำนึงถงึ และปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ อุดมการณ์และระบบทางการเมือง และการขยายบรกิ ารทม่ี ปี ระสิทธิภาพ ของตน และประสิทธิผลไปยังผู้มีส่วนได้ส่วน เสียของกระทรวงผา่ นการทูตเชงิ รุก w การปรบั เปลยี่ นความไมส่ อดคลอ้ ง และกฎเกณฑก์ จิ กรรมทางการทตู ระดบั ภมู ภิ าคและสากล 120

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ w การกระชบั ความสมั พนั ธแ์ ละการ มสี ว่ นรว่ มทางเศรษฐกจิ กบั ทกุ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มประเทศใน อาเซยี นและประเทศในระดบั ภมู ภิ าค w การส่งเสริมสันติภาพและความ ม่ันคงในภูมิภาค ตลอดจนการสร้าง ศกั ยภาพและมาตรการแกป้ ญั หาความ ขดั แย้ง w การเล่นบทบาทผู้น�ำที่มีอิทธิพล และการประชุมองค์การอิสลาม (มาเลเซยี ไดท้ �ำในช่วง 2 ปที ีผ่ ่านมา) w การมีส่วนร่วมอย่างจริงจังใน สหประชาชาติ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ความพยายามในการยุติความไม่ ยตุ ธิ รรม การกดขเี่ อาเปรยี บ และการ สนบั สนุนกฎหมายระหวา่ งประเทศ 10. กระทรวงสาธารณสุข วสิ ัยทัศน์ การท�ำงานของชาตริ ่วมกนั เพ่อื สุขภาพท่ดี ขี นึ้ ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ w บทบาทในการสนับสนุนและ w การเอื้ออ�ำนวยและสนับสนุน ร่วมมือกับภาคส่วนอ่ืน ๆ ท่ีจะท�ำให้ ประชาชนเพื่อให้ ระบบบริหารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 121

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม โดย 1) บรรลผุ ลส�ำเร็จอยา่ งมี การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีสนับสนุน ศักยภาพเก่ยี วกับสขุ ภาพ การใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี บนพ้ืนฐาน 2) เหน็ คณุ คา่ ของสขุ ภาพวา่ เปน็ ดังน้ี สินทรัพย์ทมี่ คี ่า 1) การป้องกันและสนบั สนนุ 3) ความรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะคน 2) การจดั การสถานพยาบาล และการปฏบิ ัตทิ างบวก 3) การบรหิ ารจดั การการเพ่ิม ส�ำหรับสุขภาพ ขน้ึ ของผูป้ ่วย 4) การปฏบิ ตั กิ บั NGOs และผู้ w ท�ำให้มั่นใจถึงระบบสุขภาพที่มี เกี่ยวข้องต่างๆ 5) การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ คุณภาพสงู 6) นโยบายและการก�ำกบั ดูแล 1) ลกู คา้ เป็นศูนย์กลาง การแทรกแซง 2) ความเสมอภาค 3) สามารถเข้าถงึ ได้และราคา เหมาะสม 4) ความมีประสิทธภิ าพ 5) เทคโนโลยที เี่ หมาะสม 6) การปรบั ตวั ตามสภาพ แวดล้อมท่ีเปล่ยี นแปลง 7) การมีนวัตกรรม w การเนน้ ยำ�้ และใหค้ วามส�ำคญั กบั 1) ความเปน็ มอื อาชพี และการ ท�ำงานเปน็ ทีม 2) การเคารพในศกั ดศิ์ รีความ เปน็ มนุษย์ 3) การมีส่วนร่วมกับชุมชน 122

11. กระทรวงสวสั ดิภาพชุมชนเมือง การเคหะ และการปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ วิสัยทัศน์ เพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยอย่างย่ังยืนและ ต่อเนื่องส�ำหรับประชาชนทุกระดับของสังคมมาเลเซียเพื่อสอดรับกับ วสิ ยั ทศั น์ พ.ศ. 2563 ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 1) สรา้ งและด�ำเนนิ การทางกายภาพ สงั คม การวางแผนทางเศรษฐกจิ และ w การวางแผน การประสานงาน และ สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ในเขตเมอื งและชนบท เพอ่ื สรา้ งสภาพ การด�ำเนินงานการจัดต้ังถ่ินฐานของ แวดลอ้ มท่ีอยูอ่ าศยั ทีม่ คี ุณภาพ ประชาชนท่ดี ี ตลอดจนโครงการทีอ่ ยู่ 2) สร้างสังคมท่ีสงบสุขและสามัคคี อาศัย สิง่ อ�ำนวยความสะดวกพ้ืนฐาน โดยท�ำใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจในการจดั หา ตา่ งๆ และการบรกิ ารอยา่ งสรา้ งสรรค์ อาคารพาณิชย์และที่อยู่อาศัยที่มี เพ่อื มงุ่ สกู่ ารสรา้ งสังคมแบบพลวตั คุณภาพเพ่ือปรับปรุงเศรษฐกิจและ ความยงั่ ยืนของคุณภาพชีวติ 3) ให้ความช่วยเหลือและปรับปรุง มาตรฐาน การก�ำกบั ดแู ลรฐั บาล ท้องถ่ินในการให้บริการท่ีมีคุณภาพ และมีความปลอดภยั 4) เพอื่ บรหิ ารจดั การระบบท�ำความ สะอาดสาธารณะ การจัดเก็บขยะ มูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาและการอนุรักษ์คุณภาพ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 123

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ของภมู ิทัศน์ สวนสาธารณะ และ สถานทพ่ี กั ผอ่ นหยอ่ นใจ เพอื่ ใหบ้ รรลุ เป้าหมายในการท�ำให้มาเลเซียเป็น ชาตแิ ห่งสวน (Garden Nation) 6) เพอื่ ท�ำใหม้ น่ั ใจถงึ ความปลอดภยั ของชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม จากความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภัย วัสดอุ นั ตราย และภัยพบิ ตั ติ ่างๆ ผ่าน การป้องกันอัคคีภัย การกู้ภัย ที่มี ประสิทธภิ าพ 7) เพอ่ื สง่ เสรมิ และควบคมุ เงนิ กแู้ ละ การกเู้ งนิ กจิ กรรมอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 8) กระจายอ�ำนาจไปยังส่วนสนับ สนนุ เพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถภายใน 12. กระทรวงทรัพยากรมนุษย์ วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานช้ันน�ำในการพัฒนาและการจัดการ ก�ำลังพลระดบั โลก ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 1) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม w พัฒนาก�ำลังพลด้านผลิต ข้อมูล ของแรงงานและโลกาภิวัตน์ 2) การสรา้ งสรรคส์ ภาพแวดลอ้ มการ ข่าวสาร วินัย และการตอบสนอง ตอ่ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลง 124

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ลงทนุ ใหน้ า่ ดงึ ดดู และการรกั ษาความ สามารถดา้ นการแข่งขนั w เพ่ือการเจริญเติบโตและสร้าง 3) การสรา้ งตลาดแรงงานอยา่ งเปน็ พลวัต ซ่ึงการจ้างงานต้องการทักษะ โอกาสในการท�ำงานมากขึน้ ใหม่ๆ ทีม่ ีความหลากหลาย 4) การสร้างความสมดุลระหว่าง w เพ่ือสนับสนุนและรักษาความ ความยืดหยุ่นและความปลอดภัยใน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ สัมพันธ์ในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน 5) การเคลื่อนย้ายแรงงานจะส่งผล ระหวา่ งนายจา้ ง ลูกจา้ ง และสหภาพ ต่อแรงงานทอ้ งถ่นิ ซึ่งจะไดร้ ับค่าจ้าง การค้า เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและ ต่�ำกว่าความเหมาะสมของทกั ษะ สวัสดภิ าพของประชาชน 6) สภาพแวดลอ้ มการท�ำงานทมี่ กี าร ประสานความร่วมมือกนั w เพื่อสนับสนุนความยุติธรรมทาง 7) สมรรถนะและความสามารถใน การจ้าง สังคมและความเป็นอันหน่ึงอันเดียว 8) ระบบความปลอดภัยทางสังคม กันของภาคอุตสาหกรรม ตลอดจน แห่งชาติ การแก้ปัญหาความขัดแย้งในโรงงาน 9) การลดอบุ ตั เิ หตใุ นสถานทที่ �ำงาน ระหวา่ งนายจา้ งและลกู จา้ ง รวมถงึ ขอ้ ตกลงร่วมกันถงึ เงินรางวลั w เพอื่ ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ สหภาพทางการ คา้ มแี นวทางปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ ประชาธปิ ไตย และสามารถรบั ผดิ ชอบ ช่วยเหลือให้ บรรลุวัตถุประสงคข์ ององค์การได้ w เพื่อจะเป็นผู้น�ำในการพัฒนา ทรพั ยากรมนษุ ยข์ องชาติ w เพอื่ ใหม้ น่ั ใจถงึ ความปลอดภยั และ สุขภาพของก�ำลังพล w เพอื่ พฒั นาทกั ษะ ความรู้ และการ แขง่ ขนั ของแรงงานในกลมุ่ อตุ สาหกรรม ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 125

13. กระทรวงการสื่อสาร และมัลตมิ ีเดีย วสิ ยั ทศั น์ เพอื่ เปน็ ผนู้ �ำในการสรา้ งชาติ กรอบการด�ำเนนิ 1 Malaysia และหลักการปรองดองแหง่ ชาตผิ ่านทางขอ้ มลู ข่าวสาร การสอ่ื สาร และ วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) พัฒนานโยบายและแผนการ w เสรมิ สรา้ งความสามคั คแี ละความ ด�ำเนินงาน รวมทั้งการจัดการความ สัมพันธ์ของรฐั บาลท้องถ่ินและ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติบน ตา่ งประเทศ พ้ืนฐานหลักการปรองดองแห่งชาติ 2) เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ การบรกิ ารผา่ นสอ่ื ผ่านทางข้อมูลข่าวสาร การส่ือสาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ การสอื่ สาร และวัฒนธรรม ต่อหน้า สามารถตอบสนองความ ตอ้ งการของชาตแิ ละสงั คมไดส้ อดคลอ้ ง w การสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ กับการพฒั นาในปจั จุบนั 3) การจัดการพัฒนาโปรแกรมการ และความภาคภูมิใจในชาติผ่าน ออกอากาศสู่สาธารณะและความ ศลิ ปวฒั นธรรมและมรดกแหง่ ชาติ บนั เทงิ รวมทง้ั การชว่ ยเหลือ หน่วยงานรัฐด�ำเนินการรณรงค์การ w พฒั นาและเสรมิ สรา้ งอตุ สาหกรรม ออกอากาศในสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ สื่อส่ิงพิมพ์ และการส่ือสารแบบต่อ การสื่อสาร หน้า w กระตนุ้ เศรษฐกจิ ของชาตผิ า่ นการ พัฒนาอุตสาหกรรมเชงิ สร้างสรรค์ 14. กระทรวงมหาดไทย วสิ ยั ทศั น์ ผูน้ �ำการรักษาความปลอดภยั ภายใน 126

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 1) การรักษาความปลอดภัยของ ประชาชน w ดูแลรักษาความปลอดภยั ภายใน 2) การจัดการลงทะเบยี นประชากร ตามรฐั ธรรมนญู การอพยพและแรงงาน เพื่อให้ม่ันใจว่าประชาชนมีความสงบ ต่างชาติ การจัดการความปลอดภัย และสวัสดภิ าพทดี่ ี ทางสังคม 3) การป้องกันพลเรอื น 4) การตอ่ ต้านยาเสพติด 5) การควบคมุ การตีพมิ พแ์ ละการ กระจายของส่อื ว่ามีความถกู ตอ้ ง และป้องกนั การบิดเบอื นขอ้ ความ 6) การควบคุมการผลิตภาพยนตร์ และกิจกรรมการเผยแพร่ 7) การจดั การของอาสาสมคั ร 8) ด�ำเนนิ การลงโทษและฟ้นื ฟู ผกู้ ระท�ำผิด 15. กระทรวงการค้าระหวา่ งประเทศ และอุตสาหกรรม วิสัยทัศน์ การท�ำให้มาเลเซียเป็นแหล่งลงทุนและสามารถแข่งขัน ระดบั สากลได้มากทีส่ ดุ กอ่ นปี พ.ศ. 2563 ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 1) การวางแผน ก�ำหนด และด�ำเนนิ w ส่งเสริมกลยุทธ์ความสามารถใน ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 127

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ นโยบายการพัฒนา การแข่งขันระดับสากลของมาเลเซีย 2) อตุ สาหกรรมการคา้ และการลงทนุ เรื่องการคา้ ระหวา่ งประเทศ โดยการ ระหว่างประเทศ ผลติ สนิ คา้ ทมี่ มี ลู คา่ สงู และการบรกิ าร 3) ส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ เพิม่ และในประเทศ 4) สง่ เสรมิ การสง่ ออก การผลติ สนิ คา้ w พฒั นากจิ กรรมดา้ นอตุ สาหกรรม และบรกิ าร โดยความรว่ มมอื ทางการ ค้าแบบทวิภาคี พหุภาคี และระดับ ท่ีมีผลต่อการเสริมสร้างความเจริญ ภมู ภิ าค เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของมาเลเซยี เพอ่ื ให้บรรลุเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วใน ปี พ.ศ. 2563 16. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม วสิ ยั ทศั น์ เพอื่ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ ดว้ ยการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื และ การจัดสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) ปรบั ปรุงพืน้ ฐานความรทู้ าง วิทยาศาสตร์ w ด�ำเนินการและใช้ประโยชน์จาก 2) เสริมสร้างการใช้ประโยชน์อย่าง ยง่ั ยนื ขององค์ประกอบความ หลักปฏิบัติท่ีดีที่สุด เพ่ือบูรณาการ หลากหลายทางชวี ภาพ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และลด 3) พัฒนาศูนย์กลางแห่งความเป็น ผลกระทบจากการจัดการทรัพยากร เลิศในอุตสาหกรรมการวิจัยความ ธรรมชาติอย่างยั่งยืน หลากหลายทางชวี ภาพในเขตรอ้ นชนื้ 128

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ 4) เสริมสร้างกรอบแนวคิดสถาบัน ส�ำหรับการจัดการความหลากหลาย ทางชีวภาพ 5) เสรมิ สรา้ งและบรู ณาการโปรแกรม การสนทนา 6) บูรณาการความหลากหลายทาง ชีวภาพโดยพิจารณาถึงการวางแผน กลยุทธ์ระดับภาคส่วน 7) เสริมสร้างทักษะ ศักยภาพ และ ความสามารถ 8) สนับสนุนความร่วมมือจากภาค เอกชน 9) ทบทวนการออกกฎหมายเพ่ือ สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการความ หลากหลายทางชีวภาพ 10) ลดผลกระทบจากกิจกรรมของ มนุษย์เก่ียวกับความหลากหลายทาง ชีวภาพ 11) พฒั นานโยบาย กฎเกณฑ์ และการ สร้างศักยภาพความปลอดภัยทาง ชวี ภาพ 12) เพิ่มสถาบันการเรียนและสร้าง ความตระหนกั ให้แก่ประชาชน ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 129

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 13) สนับสนุนความร่วมมือระหว่าง ประเทศ 14) แลกเปลย่ี นข่าวสารขอ้ มูล 15) จัดตัง้ กองทุน 17. กระทรวงอตุ สาหกรรมการเพาะปลกู และโภคภณั ฑ์ วิสัยทัศน์ เพื่อให้มาเลเซียเป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศภาคสินค้า โภคภัณฑ์ และเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของผลิตภัณฑ์ที่เพ่ิมมูลค่าในตลาด ระดับสากล ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 1) เพมิ่ การมสี ว่ นรว่ มในอตุ สาหกรรม โภคภัณฑ์ เพื่อน�ำไปสู่รายได้มวลรวม w ท�ำให้ม่ันใจถึงความสามารถด้าน ของชาติ (GDP) และผลก�ำไรจาก ต่างชาติ การแขง่ ขนั ระดบั สากลของมาเลเซยี ใน 2) ท�ำให้มาเลเซียเป็นศูนย์กลางแห่ง อตุ สาหกรรมโภคภณั ฑ์ เพอ่ื มงุ่ ไปสกู่ าร ความเป็นเลศิ ดา้ นการวิจยั และพฒั นา พฒั นาประเทศ เทคโนโลยี และบรกิ ารในอตุ สาหกรรม โภคภณั ฑ์ 3) เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ผลติ ผล คณุ ภาพ และความยง่ั ยนื ของอตุ สาหกรรมหลกั ด้วยระบบเศรษฐกิจบนฐานความรู้ 130

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 4) การเสริมสร้างความสามารถ ทางการตลาด รวมทง้ั เพมิ่ สว่ นแบง่ การ ตลาด โดยเฉพาะอย่างย่ิงในตลาด เฉพาะกล่มุ 18. กระทรวงการพฒั นาชนบทและภมู ิภาค วสิ ัยทศั น์ เป็นผรู้ ิเรมิ่ ในการพัฒนาชนบทและภมู ิภาค ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 1) เพ่ิมก�ำไรของประชาชนในชนบท ร้อยละ 80 จากอัตราประชากรเขต w ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง เมอื งกอ่ นปี พ.ศ. 2563 2) สร้างคุณภาพหมู่บ้านก่อนปี ประชาชนในชนบทอย่างท่ัวถึงและมี พ.ศ. 2559 ประสทิ ธภิ าพ 3) ขยายเป้าหมายร้อยละ 30 ของ ประชาชนในชนบท เพอ่ื ใหอ้ ยใู่ นกจิ การ ของการเป็นผู้ประกอบการก่อนปี พ.ศ. 2563 4) สร้างสรรค์สังคมอุดมปัญญาและ ทกั ษะ 5) เร่งด�ำเนินการตามแนวคิดและ บูรณาการโปรแกรมการพฒั นา ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 131

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ 6) เพ่มิ สวสั ดิการชมุ ชนในชนบท 7) บรรลุผลร้อยละ 100 ส�ำหรับ สาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ก่อนปี พ.ศ. 2563 8) ท�ำใหม้ น่ั ใจวา่ ประชาชนในชนบท บรรลผุ ลรอ้ ยละ 100 ในเรอื่ งเทคโนโลยี สารสนเทศ และประโยชน์ของการ ส่อื สารกอ่ นปี พ.ศ. 2563 9) ขจัดปัญหาความยากจน และลด อตั ราความยากจนโดยรวมรอ้ ยละ 2.8 10) เพ่ิมรายได้และโอกาสในการ ท�ำงานในพ้ืนท่ีชนบท 11) พัฒนาเส้นทางคมนาคมทางถนน และพ้ืนทีท่ รุ กันดาร 12) เพิ่มการครอบคลุมการใช้ไฟฟ้า ส�ำหรับพ้ืนท่ีชนบทในซาบาห์ร้อยละ 81 และในซาราวัครอ้ ยละ 90 ก่อนปี พ.ศ. 2556 13) เพิ่มการครอบคลุมการใช้น้�ำ ส�ำหรบั พื้นท่ีชนบทในซาบาห์และ ซาราวคั รอ้ ยละ 70 กอ่ นปี พ.ศ. 2556 14) ท�ำใหม้ น่ั ใจวา่ ทกุ พนื้ ทภี่ ายในรศั มี 30 กิโลเมตร จากศนู ยก์ ลางเมอื ง ได้ 132

ยุทธศาสตร์ ภารกจิ รบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานครอบคลมุ รอ้ ยละ 100 ก่อนปี พ.ศ. 2559 15) ด�ำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการลด ช่องว่างและเพ่ิมบริการอินเทอร์เน็ต บอรด์ แบนดต์ ามแผนบอรด์ แบนดแ์ หง่ ชาติ 16) ท�ำใหม้ นั่ ใจวา่ ความสมดลุ ของการ กระจายโอกาสด้านคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถสร้างรายได้ โอกาสในการ ท�ำงาน และการศึกษา 19. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วิสัยทัศน์ การพัฒนาและการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ส�ำหรับความรทู้ ่วั ไป การสร้างมลู ค่า และสวสั ดภิ าพทาง สงั คม เพอ่ื ใหป้ ระสบผลส�ำเรจ็ มรี ายไดท้ างเศรษฐกจิ ระดบั สงู และสามารถ แขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ 1) การพัฒนาทุนมนุษย์ด้านวิทยา- w เพ่ือขับเคลื่อนและจัดการด้าน ศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม เพอ่ื วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม สรา้ งและเพ่มิ ความรเู้ ชงิ นวตั กรรม ส�ำหรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ระบบบริหารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 133

ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 2) เพิ่มการเจริญเติบโตด้านการวิจัย และสังคม โดยมีการสร้างสรรค์และ และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม นวัตกรรม รวมท้ังส่งเสริมการ ทางการตลาด ขับเคล่ือนทางการตลาดวิจัยและ 3) การให้ความส�ำคัญกับการคิดเชิง พัฒนา การกระจายเทคโนโลยใี หมๆ่ สร้างสรรคแ์ ละการคิดเชงิ นวตั กรรม ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ดึ ง ดู ด ผู ้ มี ค ว า ม 4) กลยุทธ์การเพิ่มและส่งเสริม สามารถสูง และการส่งเสริมความ พันธมิตร (ความรว่ มมอื การประสาน- ร่วมมอื กบั คคู่ า้ ทางธุรกิจ งาน และคคู่ ้าทางธุรกจิ ) 5) สง่ เสริมกองทนุ RDC 6) ควบคมุ และเขม้ งวดในเชงิ พาณชิ ย์ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาส�ำหรับ สร้างสรรค์ผลงาน 7) กระจายความเท่าเทียมทางสังคม ผ่านนวัตกรรมเพ่ือการพฒั นาท่ียงั่ ยนื 8) ความเปน็ สากล 9) เสริมสร้างความสามารถและ ศักยภาพของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 20. กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและวัฒนธรรม วิสัยทัศน์ การพัฒนาประเทศมาเลเซียเป็นสถานท่ีท่องเท่ียว ระดบั โลก 134

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ 1) ก�ำหนดนโยบายการทอ่ งเทย่ี วและ กลยทุ ธส์ �ำหรบั การพฒั นาอตุ สาหกรรม w ท�ำงานร่วมกับทุกอุตสาหกรรม การทอ่ งเทยี่ วของประเทศ 2) ตรวจสอบการด�ำเนินงานตาม เพื่อวางต�ำแหน่งอุตสาหกรรมการ นโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติที่ ท่องเท่ียว เป็นตัวกระตุ้นการเจริญ เก่ียวข้องกับด้านโครงสร้างองค์การ เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างย่ังยนื ผลติ ภณั ฑ์ การตลาด ก�ำลงั คน การขนสง่ ตวั บง่ ชกี้ ารทอ่ งเทย่ี ว สงั คม วฒั นธรรม และเศรษฐกจิ มหภาค 3) แ ผ น ก า ร พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ การทอ่ งเทย่ี วแนวใหม่ เชน่ การทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื สขุ ภาพ การทอ่ งเทย่ี วดา้ นการศกึ ษา การท่องเที่ยวด้านกีฬา การท่องเที่ยว ลอ่ งเรอื การทอ่ งเทย่ี วในชนบท เปน็ ตน้ 4) การพฒั นาฐานขอ้ มลู การทอ่ งเทย่ี ว 21. กระทรวงการขนส่ง วิสัยทศั น์ เปน็ ผนู้ �ำระดบั โลกในระบบการขนส่ง ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) การเปล่ียนแปลงระบบการขนส่ง w เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ ทกุ รปู แบบการขนสง่ ทางบก (JPJ) เปน็ การด�ำเนนิ การท�ำงาน มีประสิทธิภาพ การบูรณาการ ความ รปู แบบใหม่ นอกเหนอื จากกระบวนการ ปลอดภยั ความมง่ั คง และใชง้ านไดง้ า่ ย ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 135

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ท�ำงานปกติ ดว้ ยแนวคดิ แบบระดบั ชนั้ หนึ่ง และโครงสร้างพ้นื ฐานช้นั หนง่ึ 2) ด�ำเนนิ การประเมนิ ผลทค่ี รอบคลมุ สถานการณ์การขนส่งในปัจจุบันของ อาเซยี น และด�ำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั ิ การเพอ่ื ระบชุ อ่ งวา่ งและจดั ล�ำดบั ความ ส�ำคัญในชว่ ง พ.ศ.2554-2558 3) ระบกุ ารปฏบิ ตั งิ านตามกลยทุ ธเ์ พอ่ื สนับสนุนการจัดต้ังประชาคมอาเซียน กอ่ นปี พ.ศ.2558 ซงึ่ จะสนบั สนนุ ระบบ การขนสง่ ทม่ี อี ยู่ 4) ระบุวิสัยทัศน์ระยะยาวของการ ร่วมมือด้านระบบขนส่งในประชาคม อาเซียน 22. กระทรวงกิจการสตรี ครอบครวั และการพฒั นาสงั คม วิสัยทัศน์ เป็นผู้น�ำในการสร้างความเท่าเทียมทางเพศ ครอบครัว และการพัฒนาชมุ ชนให้เหมอื นประเทศทม่ี กี ารพฒั นาแล้ว ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) ท�ำให้มั่นใจได้ว่ามุมมองทางเพศ w บรู ณาการในมติ ทิ างสงั คมและสตรี ครอบครัว และชุมชน ถูกบูรณาการ ไปสกู่ ารพฒั นาของชาติ พรอ้ มทง้ั เสรมิ ตามการก�ำหนดนโยบาย การวางแผน สร้างสถาบันครอบครัวเพื่อปรับปรุง 136

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ และน�ำโปรแกรมไปปฏิบตั ิ สวสั ดภิ าพทางสงั คม 2) การเสรมิ สรา้ งการด�ำเนนิ การของ ครอบครัวที่มีคุณค่าในสังคมด้วยการ ท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยงานภาค รฐั และเอกชน 3) การตรวจสอบกฎเกณฑ์และน�ำ เสนอเพ่ือออกกฎหมายใหม่ โดยให้ มน่ั ใจวา่ เปน็ การปอ้ งกนั สตรี ครอบครวั และชมุ ชน 4) การด�ำเนนิ โครงการวจิ ยั และพฒั นา เรื่องเพศ ประชากร ครอบครัว และ ชุมชน เพ่ือส่งเสริมนวัตกรรมในการ วางแผนและพัฒนาโปรแกรม 5) พัฒนาและเสริมสร้างฐานข้อมูล ทางสงั คมเพอื่ ใหค้ รอบคลมุ และวางแผน บูรณาการ การควบคุม และประเมิน กลมุ่ เป้าหมายของโครงการ 6) เพิ่มทักษะ ความรู้ และกระจาย กลมุ่ เปา้ หมายใหส้ ามารถมสี ว่ นรว่ มใน การพฒั นาประเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) เพิ่มโอกาสท่ีหลากหลายส�ำหรับ กลมุ่ เปา้ หมาย เพื่อปรับปรงุ โปรแกรม พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม 8) เพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายและ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 137

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ แบ่งปันขอ้ มูลข่าวสารระดับสากล 9) สรา้ งการควบคมุ และการประเมนิ ผลเพ่อื ปรับปรงุ โครงการและนโยบาย 10) การขยายการเข้าถึงข้อมูลและ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ส่ื อ ส า ร ข อ ง ส ต รี ครอบครวั และชุมชน 11) เสริมสร้างการส่งมอบบริการทุก ระดบั ดว้ ยการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ การเงิน และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม อยา่ งมืออาชพี 12) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับส่ิง อ�ำนวยความสะดวกและการบริการท่ี มีอยใู่ นหนว่ ยงานตา่ งๆ และองคก์ ารท่ี จะชว่ ยใหส้ ตรี ครอบครวั และชมุ ชนได้ รบั บริการทีจ่ �ำเปน็ 23. กระทรวงโยธาธิการ วิสัยทัศน์ เป็นองค์การน�ำในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และ กระตุ้นการพัฒนาอุตสาหกรรมให้มีความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น ในตลาดโลก ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) การเสริมสร้างเส้นทางถนนของ w สร้างความม่ันใจในการพัฒนา 138

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ สหพันธรัฐระหว่างเส้นทางเมืองหลัก สมรรถนะและความสามารถในการท�ำ กับเสน้ ทางข้ามประเทศ สญั ญาอยา่ งมอื อาชพี และแรงงานภาค 2) การเสริมสร้างเส้นทางถนนของ การกอ่ สรา้ งถกู จดั การตามนโยบายแหง่ สหพนั ธรัฐในอาณาเขต ชาติ 3) การด�ำเนินการเส้นทางถนนใน ซาราวัคและซาบาห์ w พฒั นา ขยาย และสรา้ งความ 4) การเสรมิ สรา้ งถนนของสหพนั ธรฐั ไปยังชนบท เข้มแข็งใหภ้ าคอุตสาหกรรมและ 5) ปรบั ปรุงเส้นทางหลักใน การบริการอย่างมืออาชีพเพ่ือการ ประเทศมาเลเซยี ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ แขง่ ขนั ในตลาดโลก 6) การบ�ำรุงรักษาถนนให้ได้ตาม มาตรฐาน w สร้างความม่ันใจในการสร้าง 7) ปรับปรุงระบบภูมิบุตรา เพื่อการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม โครงสร้างพ้ืนฐานด้วยการจัดท�ำแผน การก่อสรา้ งแห่งชาติ ปฏบิ ตั กิ าร 24. กระทรวงเยาวชนและกีฬา วิสัยทัศน์ เพ่ือตอบสนองแรงบันดาลใจและความต้องการ ของเยาวชน เสริมสร้างศักยภาพเยาวชนส�ำหรับอนาคตท่ีดีกว่า และ ส่งเสริมวฒั นธรรมกฬี าในหมู่ประชาชน ยุทธศาสตร์ ภารกจิ 1) การปลูกฝังการกีฬา โดยด�ำเนิน w เพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมและการ ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย 139

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ โครงการและกิจกรรมท่ีท�ำให้เกิดการ กระท�ำทกี่ ระตนุ้ และเออ้ื อ�ำนวยส�ำหรบั มสี ่วนรว่ มของทกุ ฝา่ ย ส่งเสริมและพัฒนาเยาวชนและกีฬา 2) ส่งเสริมการพัฒนากีฬาท่ีมีความ ตงั้ แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ ระดบั ชาติ ไปจนถงึ สามารถสูง โดยมีการใชโ้ คช้ ระดับโลก ระดับสากล มาชว่ ยฝกึ สอนและจัดโปรแกรม ฝกึ อบรมใหแ้ ก่โคช้ หรือผูฝ้ ึกสอน ชาวมาเลเซีย 3) การพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬา มีการสร้างสรรค์อุตสาหกรรมกีฬา ทเี่ ขม้ แขง็ จนสามารถกระตนุ้ เศรษฐกจิ และ GDP 140

5.2 หนว่ ยงานหลักทีร่ บั ผดิ ชอบงานเก่ียวกบั ASEAN มาเลเซียได้จัดต้ังส�ำนักเลขาธิการแห่งชาติมาเลเซีย-อาเซียน (ASEAN-Malaysia National Secretariat - AMNS) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ดงั น้ี [29] 1. เพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ในการดูแลความสงบ ความมั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดข้ึน ในภูมิภาค โดยอยู่บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์และหลักการส�ำคัญ ในกฎบตั รอาเซยี น 2. เพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน และความร่วมมือในด้าน ความปลอดภัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ระหว่างสมาชิกอาเซียนด้วยกัน และประเทศคู่ค้าระดับภูมิภาคและ ระดับโลก 3. เพอื่ สง่ เสรมิ อตั ลกั ษณข์ องอาเซยี น และความตระหนกั ในระดบั ชาติ ท่ีมตี อ่ การสร้างประชาคมอาเซยี นกอ่ นปี พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักเลขาธิการแห่งชาติมาเลเซีย-อาเซียน (AMNS) มีการด�ำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี w บทบาทของภาพรวมระดับชาติ และการประสานงานเรื่อง นโยบายท่เี กยี่ วขอ้ งกบั อาเซียน w บทบาทของการเปน็ ศนู ยร์ วมขอ้ มลู เกยี่ วกบั อาเซยี นในระดบั ชาติ w ประสานการด�ำเนินงานของอาเซียนท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ หรอื กิจกรรมในระดบั ชาติ w สง่ เสรมิ เอกลักษณอ์ าเซียน และความตระหนกั ในระดบั ชาติ ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 141

w บทบาทในภาพรวมส�ำหรับการเจรจาความสัมพันธ์ในอาเซียน ตลอดจนความสมั พนั ธข์ องอาเซยี นกบั องคก์ ารระดบั ภมู ภิ าคและ ระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั กลมุ่ ภายนอกอื่นๆ w สนับสนุนการท�ำงานของคณะท�ำงานมาเลเซีย-อาเซียน ในกรุงจาการ์ตา w ประสานงานการเปน็ ตวั แทนของประเทศมาเลเซยี ในเวทอี าเซยี น เชน่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจดั เวทีสัมมนา เปน็ ตน้ 142

6 ระบบการพัฒนาขา้ ราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 143

6.1 ภาพรวมของการพฒั นาข้าราชการ จากยุทธศาสตร์ของประเทศมาเลเซียท่ีได้มุ่งเน้นในมิติต่างๆ ของการปฏิรูปประเทศตามวิสัยทัศน์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) การปฏริ ปู ระบบรฐั บาลไปสกู่ ารปฏริ ปู ประเทศมาเลเซยี (Governement Transformation Programme to Transform Malaysia) ถือเป็น แผนกลยทุ ธห์ น่ึงท่จี ะขับเคล่อื นประเทศมาเลเซยี ไปสู่เป้าหมายท่ีวางไว้ โปรแกรมการปฏิรูปของรัฐบาล (Governement Transformation Programme - GTP) เป็นนโยบายปรับปรงุ และปฏริ ูปการท�ำงาน และ การให้บริการของภาครัฐให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชน รฐั บาลจงึ ตอ้ งมงุ่ เนน้ การพฒั นาขา้ ราชการ ทั่วประเทศให้มีประสิทธิภาพ เพื่อจะปฏิบัติงานตามแผนการพัฒนา และปฏริ ูปตาม GTP ในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี [25] 1. อตั ราคา่ ครองชีพทส่ี งู ขน้ึ 2. การตอ่ ต้านการคอรัปชั่น 3. การลดปญั หาอาชญากรรม 4. การปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพของนกั เรยี น 5. มาตรฐานค่าครองชีพของครวั เรือนทม่ี รี ายได้ตำ�่ 6. การปรับปรงุ โครงสรา้ งพื้นฐานในชนบท 7. การปรับปรุงคมนาคมในตัวเมือง ส�ำหรบั แนวทางการปฏริ ปู ของรฐั บาล(GovernmentTransformation Programe - GTP) มีหลกั การส�ำคัญ 4 ประการ คอื [42] 144

1. ด�ำเนนิ งานและส่งมอบอยา่ งสร้างสรรค์ มนี วัตกรรมโดยกระตุ้น ให้ข้าราชการมีความคิดนอกกรอบ ใช้กระบวนการความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรมในการด�ำเนนิ งาน ไมว่ า่ จะเปน็ ระบบนโยบายและผลลพั ธ์ เพือ่ ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในยคุ โลกาภวิ ตั น์ 2. เน้นการตัดสินใจ และการด�ำเนินงานที่รวดเร็ว เพ่ือให้ทัน ตอ่ ความต้องการ และอย่บู นพ้ืนฐานของฐานขอ้ มลู 3. ด�ำเนินงานและส่งมอบอย่างคุ้มค่าโดยขจัดงานท่ีไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์ การด�ำเนินงานจะต้องมีการวางแผนและประเมินผลลัพธ์ เพื่อใหเ้ กดิ ความคุ้มคา่ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 145

4. ยึดหลักคุณธรรมและความซ่ือสัตย์ 5. นอกจากนกี้ ารปฏริ ปู ของรฐั บาล(GovernementTransformation Programe - GTP) มสี ิง่ ส�ำคญั ทต่ี อ้ งน�ำไปปฏิบตั ิ 5 ประการ ดงั นี้ [42] 1. ออกแบบงานบริการสาธารณะ โดยมุ่งเน้นประชาชนและธุรกิจ เพอื่ ใหเ้ ทยี บเทา่ กบั ภาคเอกชน มงุ่ เนน้ ในการเปน็ ทปี่ รกึ ษาแกป่ ระชาชน ให้อ�ำนาจการตัดสินใจผู้ปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในเร่ืองเวลา มีกระบวนการแข่งขันและประยุกต์การท�ำงานจากตัวอย่างภาคอ่ืนๆ เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ 2. มอบงานด้วยความโปร่งใสและรับผิดชอบในผลลัพธ์ โดยมี การก�ำหนดตวั ชวี้ ดั (KPIs) 3. วางภาครัฐให้เป็นภาคท่ีมีประสิทธิภาพในการช่วยภาคเอกชน เพอื่ การเตบิ โต โดยสรา้ งความเขม้ แขง็ แกผ่ มู้ อี �ำนาจตดั สนิ ใจดา้ นนโยบาย เพิ่มบทบาทการลงทุนในภาคเอกชน ลดการเป็นเจ้าของในทรัพย์สิน ทไ่ี ม่ใช่ทรัพยส์ ินหลกั 4. ขบั เคลอื่ นผลผลติ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณของรฐั อยา่ งรอบคอบ โดยท�ำการวิเคราะห์ดา้ นคณุ คา่ และราคาในการจดั ซอ้ื จัดจ้าง การจัดซ้ือ จดั หาในลกั ษณะรวมศูนย์ 5. การใช้ตรรกและสร้างความสามารถของรัฐบาล มีการก่อต้ัง หน่วยงานติดตามผลการปฏิบัติงานของราชการ ดึงผู้มีความสามารถ เข้าสภู่ าครัฐ 146

6.2 กลยทุ ธก์ ารพัฒนาข้าราชการ หนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (Public Services Department: PSD) ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาข้าราชการมาเลเซีย เพื่อพัฒนา ขา้ ราชการใหส้ ามารถด�ำเนนิ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนผลกั ดนั แนวทางการปฏิรูปของรัฐบาล (GTP) ให้บรรลุผลส�ำเร็จ ซึ่งมีแนวทาง การพฒั นา ดงั นี้ หนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (PSD) จะท�ำการสรรหาและคดั เลอื ก บุคลากรทั้งภายในและภายนอก การสรรหาบุคลากรจากภายนอก มขี บวนการตั้งแต่การคดั กรอง การสอบขอ้ เขียน การประเมนิ ศักยภาพ การทดสอบดา้ นจติ วทิ ยา และการสมั ภาษณ์ ในสว่ นของการสอบขอ้ เขยี น จะมกี ารทดสอบความรทู้ วั่ ไป คณติ ศาสตร์ ภาษามาเลย์ และภาษาองั กฤษ นอกจากนี้ จะมีการทดสอบการน�ำเสนอ การแสดงบทบาทสมมติ [24] หากผ่านกระบวนการเหล่านี้แล้ว จะถูกส่งต่อไปยังคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรอื น (Public Service Commission: PSC) เพอื่ สมั ภาษณ์ รอบสุดท้าย นอกจากนี้แล้วหน่วยงานข้าราชการพลเรือน (Public Services Department: PSD) ไดม้ กี ารกอ่ ตง้ั หนว่ ยวางแผนการบรหิ ารการจดั การ และความทนั สมยั ในการบรหิ ารชาวมาเลเซยี (Malaysian Administrative Modernization and Management Planning Unit: MAMPU) ในปี พ.ศ. 2540 ภายใตก้ ารจัดการโดย MAMPU พบว่า การให้บรกิ าร ภาครัฐมีคุณภาพและเที่ยงตรงมากขึ้น นอกจากน้ี MAMPU ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 147

148

ยังได้จัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) แก่ภาครัฐ [25] เน่ืองจาก ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศก�ำลังพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ความ ตอ้ งการวฒุ บิ ตั รเพมิ่ เตมิ หลงั จบการศกึ ษามมี ากขน้ึ ไดม้ กี ารสง่ ขา้ ราชการ สว่ นหนง่ึ ไปศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในตา่ งประเทศด้านการจัดการภาครฐั (Public Administration) ภายหลังได้มีการเปิดการเรียนการสอนในประเทศ เพ่ือเป็นการประหยัดงบประมาณ เนื่องจากความต้องการข้าราชการ ทมี่ คี วามรมู้ ากกวา่ อนปุ รญิ ญามากขนึ้ จงึ ไดม้ กี ารเปดิ โอกาสใหข้ า้ ราชการ ศึกษาต่อปริญญาตรีและปริญญาโทด้านการบริหารภาครัฐ (Public Administration) ท�ำใหม้ มี หาวทิ ยาลยั หลายแหง่ เปดิ การศกึ ษาภาคพเิ ศษ มีการจัดต้ังสถาบันการบริหารรัฐกิจแห่งชาติ (National Institute of Public Administration: INTAN) และศนู ยก์ ารอบรมภาครฐั ซง่ึ แนวทาง การพฒั นาขา้ ราชการมาเลเซยี ของหนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (Public Services Department: PSD) สามารถสรปุ สาระส�ำคัญได้ดังน้ี การอบรมและการพัฒนา ในปี พ.ศ. 2552 หน่วยงานขา้ ราชการพลเรอื น (Public Services Department: PSD) ได้วางงบประมาณสูงถึง 105.2 ล้านริงกิต เพอื่ ใชใ้ นการอบรมและพฒั นาขา้ ราชการ โดยไดว้ างเปา้ หมายใหข้ า้ ราชการ ทุกคนได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย 7 วัน และหน่วยงานราชการ ตอ้ งแบง่ สรรงบประมาณรอ้ ยละ 1 ของงบประมาณทงั้ หมดเพอื่ ใชส้ �ำหรบั การอบรม และได้มีข้าราชการเข้ารับการอบรมท้ังหมด 3,320 คน และมีจ�ำนวนข้าราชการท้ังหมด 2,188 คนเข้ารับการศึกษาหลักสูตร ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook