Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore malaysia

Description: malaysia

Search

Read the Text Version

ระบบบริหารราชการของ มาสหเพลันเธซรฐั ีย

ระบบบรหิ ารราชการของ สหพนั ธรัฐมาเลเซยี จัดท�ำ โดย : สำ�นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ก.พ.) 47/111 ถนนติวานนท์ ต�ำ บลตลาดขวญั อำ�เภอเมือง นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท์ 0 2547 1000 โทรสาร 0 2547 1108 หัวหน้าโครงการ : รศ.ดร.จิรประภา อคั รบวร ท่ีปรกึ ษาโครงการ : นายสรุ พงษ์ ชยั นาม ผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นระบบราชการใน ASEAN บรรณาธกิ าร : ดร.ประยูร อคั รบวร นกั วิจยั : นายวัฒนชัย สงวนวงศ์ นายสพุ ฒั น์พทิ ย์ เทยี นเกษม ผปู้ ระสานงานและตรวจทานค�ำ ผดิ : นางสาวเยาวนุช สมุ น เลขมาตรฐานประจ�ำ หนังสอื : 978-616-548-153-3 จำ�นวนพมิ พ์ : 5,400 เล่ม จำ�นวนหน้า : 200 หน้า พมิ พท์ ี่ : กรกนกการพมิ พ์

ค�ำ นำ� สำ�นักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม สงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี นในการเพม่ิ ขดี ความสามารถของทรพั ยากรบคุ คล ในระบบราชการ จากการด�ำ เนนิ การทผ่ี า่ นมาแมว้ า่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ไดด้ �ำ เนนิ การจดั อบรม หลกั สตู รความรเู้ กย่ี วกบั อาเซยี นใหแ้ กข่ า้ ราชการหลายครง้ั แตก่ ย็ งั ไมค่ รอบคลมุ บุคลากรภาครัฐซ่ึงมีจำ�นวนมากกว่า 2 ล้านคน สำ�นักงาน ก.พ. จึงเห็นควร พฒั นาชดุ การเรยี นรู้ “อาเซยี น กรู ”ู เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ระบบราชการ ซง่ึ มคี วามหลากหลายของประเทศสมาชกิ อาเซยี นทง้ั 10 ประเทศ ให้แก่บุคลากรภาครัฐซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ภาครฐั ท้ังน้ีทางสำ�นักงาน ก.พ. จึงทำ�ความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) จัดทำ�หนังสือเรื่อง “ระบบบริหารราชการของ ประเทศอาเซียน” เพื่อเสริมทักษะความรู้เก่ียวกับการบริหารราชการให้แก่ บุคลากรภาครัฐทุกระดับ หวังว่าท่านผู้อ่านคงได้รับความรู้และเพลิดเพลิน ไปกับหนังสอื ชดุ น้ี สำ�นกั งาน ก.พ.

ขอ้ คดิ จากบรรณาธกิ าร หนังสือเร่ือง “ระบบบริหารราชการของประเทศอาเซียน” เป็นหนังสือ ท่ีจัดทำ�ข้ึนเพ่ือเสริมทักษะความรู้แก่ข้าราชการไทย เพ่ือเรียนรู้และเข้าใจ ระบบการบรหิ ารงานภาครฐั ของประเทศตา่ งๆ ในอาเซยี น อนั จะเปน็ ประโยชน์ ในการติดต่อประสานงานกับข้าราชการของประเทศเหล่าน้ีในอนาคต โดยรปู แบบของหนังสอื ไดป้ ูความรู้ให้ผู้อ่านตงั้ แตป่ ระวตั ิ ขอ้ มูลเกี่ยวกับ ประเทศ วิสยั ทศั น์ รวมถงึ ความเปน็ มาของระบบราชการ นโยบายการเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น และทน่ี า่ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรรู้ ะบบราชการของ ประเทศเหล่าน้ีคือเนื้อหาในส่วนของยุทธศาสตร์และภารกิจของแต่ละ กระทรวง ระบบการพัฒนาข้าราชการ ท้ายเล่มผู้เขียนได้รวบรวมกฎหมาย และลักษณะเด่นของระบบราชการทนี่ า่ เรยี นร้ไู ว้ไดอ้ ย่างน่าสนใจ หนังสือระบบบริหารราชการของประเทศในอาเซียนทั้ง 10 น้ี อาจมี เนื้อหาแตกต่างกันไปบ้าง เน่ืองจากผู้วิจัยไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของ บางประเทศได้ด้วยข้อจำ�กัดด้านภาษาและบางประเทศยังไม่มีการจัดทำ� ยุทธศาสตร์ของรายกระทรวง ทางคณะผู้จัดทำ�หนังสือหวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะมสี ว่ นในการตดิ อาวธุ องคค์ วามรภู้ าครฐั ใหแ้ กข่ า้ ราชการไทย ไมม่ ากกน็ ้อย สดุ ทา้ ย ขอขอบคณุ เจา้ ของรปู ภาพและเวบ็ ไซตท์ ช่ี ว่ ยเผยแพรอ่ าเซยี นให้ เป็นหนึง่ เดียวร่วมกนั ดร.ประยูร อัครบวร บรรณาธิการ

สารบัญ 1. ประวตั ิและขอ้ มูลประเทศและรัฐบาลโดยยอ่ 11 1.1 ประวัตแิ ละขอ้ มูลประเทศโดยยอ่ 12 1.1.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป 12 1.1.2 ลักษณะทางภมู ศิ าสตร ์ 18 1.1.3 ประวัตศิ าสตร์ 20 1.1.4 ลักษณะประชากร 27 1.1.5 ข้อมลู เศรษฐกจิ 28 1.1.6 ขอ้ มูลการเมืองการปกครอง 29 1.1.7 ลกั ษณะทางสงั คมและวัฒนธรรม 41 1.1.8 โครงสร้างพ้ืนฐานและระบบสาธารณปู โภค 43 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ 49 1.1.10 ระบบการศึกษา 52 1.1.11 ระบบกฎหมาย 54 1.1.12 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งไทยกับสหพันธรัฐมาเลเซยี 56 1.2 ประวตั ิและขอ้ มลู รัฐบาลโดยยอ่ 59 63 2. วสิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ 64 2.1 วิสัยทัศน์ 64 2.2 เป้าหมาย 65 2.3 ยุทธศาสตร์

3. ประวตั ิความเปน็ มาของระบบราชการ 69 3.1 ระบบราชการของมาเลเซียภายใตก้ ารปกครอง ขององั กฤษ (พ.ศ. 2367 - 2500) 70 3.2 ระบบราชการของมาเลเซยี หลงั การสถาปนาเปน็ เอกราช (พ.ศ.2500 - ปัจจบุ ัน) 75 4. ภาพรวมของระบบราชการ 83 4.1 รัฐบาล นโยบายรัฐบาล และนโยบายการเข้าส่ปู ระชาคมอาเซียน 84 4.1.1 นโยบายหลักในการปฏริ ปู และพฒั นามาเลเซีย 88 4.2 จำ�นวน และรายชอื่ กระทรวงพร้อมทตี่ ิดต่อ 93 4.3 จ�ำ นวนขา้ ราชการทวั่ ประเทศ พรอ้ มคุณลกั ษณะหลัก หรือคณุ ลักษณะหลกั ในการเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี น 101 4.3.1 จ�ำ นวนขา้ ราชการทั่วประเทศ 101 4.3.2 คุณลกั ษณะหลักของข้าราชการ 101 4.3.3 คุณลักษณะหลักของข้าราชการในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 104 5. ยุทธศาสตร์ และภารกจิ ของแตล่ ะกระทรวงและหน่วยงานหลัก 105 ทรี่ ับผดิ ชอบงานท่เี กีย่ วกับ ASEAN 106 5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกจิ ของแต่ละกระทรวง 141 5.2 หน่วยงานหลักที่รับผดิ ชอบงานที่เกี่ยวกบั ASEAN 6. ระบบการพฒั นาขา้ ราชการ 143 6.1 ภาพรวมของการพัฒนาข้าราชการ 144 6.2 กลยทุ ธ์การพัฒนาข้าราชการ 147 6.3 หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบดา้ นการพัฒนาข้าราชการ 154

7. กฎหมายส�ำ คัญท่คี วรรู้ 157 7.1 กฎระเบียบขา้ ราชการ 158 7.1.1 การบรรจุ แตง่ ตั้งและการสรรหา 161 7.1.2 การยนื ยนั การใหบ้ รกิ าร 163 7.1.3 การหารือรปู แบบบำ�เหน็จบ�ำ นาญ และค่าตอบแทน 163 7.1.4 การเลอ่ื นตำ�แหน่ง 166 7.1.5 การโอนยา้ ย 167 7.1.6 การควบคมุ ระเบียบวนิ ัย 167 7.2 กฎหมายแรงงาน 168 7.2.1 บทลงโทษแรงงานที่ไมม่ ีใบอนุญาตทำ�งาน 170 7.2.2 วนั หยดุ ตามพระราชบญั ญัตแิ รงงาน 170 7.2.3 เวลางาน 172 7.2.4 การทำ�งานลว่ งเวลา 172 7.2.5 ลาป่วย 172 7.2.6 การจ่ายค่าแรง 173 7.2.7 การเลิกสญั ญา 174 7.2.8 การยกเลกิ สัญญาจ้าง 175 7.2.9 พ.ร.บ. ประกันคนงาน 176 7.2.10 กองทุนเงนิ สะสม 177 7.2.11 การพจิ ารณาสทิ ธิประโยชน์ 177 ตามพระราชบัญญตั ิการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ 178 7.3 กฎหมายเข้าเมอื ง 180 7.3.1 บทลงโทษเก่ียวกบั การเข้าเมืองผดิ กฎหมาย 181 7.3.2 ศุลกากร 182 7.3.3 การทำ�วซี ่าเข้าเมอื ง

8. 183 8.1 นโยบายภมู บิ ุตร (Bumiputera) 184 8.2 กฎหมายสหภาพกับสหภาพขา ราชการ 186 8.3 การรวมกลมุ ของขาราชการในประเทศมาเลเซยี 191 194 บรรณานุกรม

สารบัญภาพ ความสมั พันธร ะหวางสหพนั ธรฐั ภมู ิภาค 19 บรษิ ัทอนิ เดยี ตะวนั ออกของบรเิ ตน 30 ขา ราชการพลเรอื นในรฐั มลายู 39 ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) 70 คำา 73 สาำ ในปพี .ศ. 2497 - 2503 (ค.ศ. 1954 - 1960) 76 ในภาครัฐ 78 155

สารบัญตาราง ยุทธศาสตร และภารกจิ ของกระทรวง 106 ของแตล ะกระทรวง อัตราคาจางมาตรฐา  ารจางงานแรงงานไทยในประเทศมาเลเซยี 174 คา ใชจา า านตางชา เขา มา านในมาเลเซยี 179 แสดงจำนวนสหภาพแรงงานและจำนวนสมาชิก ในประเทศมาเลเซยี ป พ.ศ. 2549 – 2558 189 แสดงจำนวนสหภาพแรงงานตามประเภทหนว ยงาน 190 ในประเทศมาเลเซยี ป พ.ศ. 2549 – 2558

1 ประวตั ิและขอ้ มลู ประเทศ และรัฐบาลโดยย่อ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 11

1.1 ประวตั แิ ละขอ้ มลู ประเทศโดยยอ่ ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศเพ่ือนบ้านที่ใกล้ชิดกับไทย และ มีประวตั ิท่เี กย่ี วพันกันมายาวนาน ด้วยรัฐกลนั ตัน ตรงั กานู ไทรบุรี และ ปะลสิ ในอดตี เคยเปน็ ดนิ แดนไทยทต่ี อ้ งตดั ใหอ้ งั กฤษในชว่ งลา่ อาณานคิ ม อกี ทง้ั ดนิ แดนทางตอนใตข้ องไทยในปจั จบุ นั ยงั คงใชภ้ าษามลายใู นการสอื่ สาร ประจ�ำวนั การเรยี นรจู้ กั ประเทศมาเลเซยี จงึ เปน็ ความส�ำคญั และมรี ายละเอยี ด ท่นี ่าสนใจดงั นี้ 1.1.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป ช่ือประเทศอย่างเปน็ ทางการ : สหพนั ธรฐั มาเลเซยี หรือ มาเลเซยี (Federation of Malaysia) เมืองหลวง : กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) พ้ืนท่ี : 330,800 ตารางกโิ ลเมตร [21] เขตแดน : ดา้ นทศิ เหนือติดกบั ประเทศไทย ทศิ ใตต้ ดิ กบั สงิ คโปร์ ทศิ ตะวนั ตกตดิ กบั ชอ่ งแคบมะละกา ทิศตะวันออกติดกบั ทะเลจีนใตก้ ้ันส่วนท่เี ปน็ แหลมมลายู กับส่วนทีอ่ ยบู่ นตอนเหนือของเกาะ บอร์เนยี ว มีพรมแดนตดิ กบั อนิ โดนีเซีย และรฐั ซาราวคั ทอี่ ยบู่ นเกาะนเี้ ปน็ รฐั เดยี ว ท่ีลอ้ มรอบประเทศบรูไนดารุสซาลาม 12

ประชากร : 29.30 ลา้ นคน [23] วนั ชาติ : 31 สงิ หาคม ภาษาทางราชการ : ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) ระบบการปกครอง : ระบบประชาธปิ ไตยแบบสหพนั ธรฐั โดยมีสมเดจ็ พระราชาธบิ ดีเปน็ ประมุข (Yang-di Pertuan Agong)  ธงชาติ : ธงชาตมิ าเลเซยี หรือ ยาลูร์ เกมิลงั (Jalur Gemilang) มคี วามหมายวา่ ธงริว้ แหง่ เกยี รติศักด์ิ มีลักษณะเป็นธง สเี่ หลยี่ มผืนผ้ากว้าง 1 สว่ น ยาว 2 สว่ น พ้นื สีแดงสลบั สีขาว รวม 13 แถบ แตล่ ะแถบมคี วามกว้างเทา่ กัน ทีม่ ุมธง ด้านคันธงมรี ปู ส่เี หล่ยี มผนื ผา้ สีน้�ำเงิน กว้าง 8 ใน 13 สว่ นของผืนธงดา้ นกว้าง และยาวกึ่งหนงึ่ ของผนื ธงดา้ นยาว ภายในบรรจุเคร่ืองหมาย พระจันทรเ์ สี้ยวและดาว 14 แฉก ที่มีชอื่ ว่า “บนิ ตัง เปอรเ์ ซกูตัน” (“Bintang Persekutuan”) หรอื “ดาราสหพันธ์” ส่วนสญั ลกั ษณ์ และสตี า่ งๆ บนธงชาตมิ คี วามหมายตา่ งๆ ท่สี ามารถแยกออกมาได้ ดังน้ี ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 13

แถบรว้ิ พนื้ สแี ดงและสีขาว มดี ว้ ยกัน 13 แถบ ซ่ึงสอ่ื ถงึ สถานะอนั เสมอภาค ของรัฐท้งั 13 รฐั ภายในประเทศ [23] ดาวทมี่ ี 14 แฉก สอื่ ถงึ ความเปน็ เอกภาพ ของรัฐท้งั หมดภายในประเทศ รปู พระจนั ทรเ์ สยี้ ว สอื่ ถงึ ศาสนาอสิ ลาม ซึง่ เปน็ ศาสนาประจ�ำชาติ สเี หลอื ง ในพระจันทรเ์ ส้ยี วและดาราสหพนั ธ์ ตราแผ่นดนิ : ซงึ่ สเี หลอื งคอื สแี หง่ ยงั ดี เปอรต์ วน อากง ผเู้ ปน็ ประมขุ แหง่ สหพนั ธรฐั พนื้ สนี ำ้� เงนิ สอ่ื ถงึ ความสามัคคีของชาวมาเลเซีย ประกอบดว้ ยส่วนหลักๆ 5 ส่วน คือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทรเ์ สี้ยว สีเหลอื ง และดาวสเี หลอื ง 14 แฉก และแถบผา้ ตราแผ่นดินของมาเลเซยี นี้ สบื ทอดมาจากตราแผน่ ดนิ สหพนั ธรฐั มาลายาระหวา่ งทีเ่ ปน็ อาณานิคมของอังกฤษ เครอื่ งยอด ประกอบด้วยรูปจนั ทรเ์ สยี้ วและดาว 14 แฉก ซงึ่ เรยี กวา่ “ดาราสหพนั ธ”์ 14 (Bintang Persekutuan) ท้งั สองรูปน้เี ป็นสเี หลือง หมายถึง

ยงั ดี เปอรต์ วน อากง กษตั ริย์ผเู้ ป็น องคอ์ ธปิ ัตยข์ องสหพันธรัฐ นอกจากน้ี รปู จันทร์เสีย้ วยังหมายถงึ ศาสนา อสิ ลามอนั เป็นศาสนาประจ�ำชาติ สว่ นดาราสหพนั ธ์ หมายถงึ รฐั ทง้ั 13 รฐั ของสหพันธ์เดมิ รปู ดาว 14 แฉก น้ันใชเ้ ป็นสัญลกั ษณแ์ ทนรัฐท่รี วมเป็น ประเทศมาเลเซียเมอ่ื แรกก่อตงั้ 14 รฐั ซึง่ มีสงิ คโปรร์ วมอยดู่ ว้ ย ต่อมาเมื่อ สงิ คโปร์แยกตัวจากสหพนั ธรัฐ รูปดาว 14 แฉกน้ีกม็ ไิ ด้มกี ารแก้ไข แต่เปน็ ทีย่ อมรบั โดยทั่วไปว่าดาวดังกลา่ วได้ รวมความหมายถงึ ดนิ แดนของสหพนั ธรฐั ทมี่ อี ยู่รปู โลใ่ นตราแผน่ ดนิ เปน็ สญั ลกั ษณ์ แทนการรวมเป็นเอกภาพของรัฐต่างๆ ภายใตส้ หพนั ธรฐั ของชาวมาเลย์ ภายในโล่แบ่งพื้นทีอ่ อกเปน็ 3 สว่ น ตามแนวนอนสิบส่วนดังน้ี ส่วนบนสุด หรือสว่ นหวั ของโลบ่ รรจภุ าพกรชิ 5 เล่ม บนพนื้ สีแดง หมายถงึ อดตี รฐั มลายทู อ่ี ยนู่ อกสหพนั ธรฐั มาลายา 5 รัฐ ไดแ้ ก่ รฐั ยะโฮร์ รฐั ตรงั กานู ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 15

รัฐกลนั ตัน รัฐเกดะห์ (ไทรบุรี) และ รฐั ปะลสิ สว่ นกลางโล่ ทางซ้ายสุด เปน็ รปู ตน้ ปาลม์ ปนี งั อยเู่ หนอื แพรประดบั สฟี า้ -ขาว หมายถงึ รฐั ปีนัง ถดั มา ตรงกลางเป็นแถวชอ่ งส่เี หลยี่ มผืนผ้า 4 แถว ประกอบดว้ ย สีของธงชาติ สหพนั ธรัฐมาลายา ได้แก่ สีแดง สดี �ำ สขี าว และสเี หลอื ง เรยี งจากซา้ ยไปขวา สีเหลา่ นใ้ี ชป้ ระกอบในธงประจ�ำรัฐ สมาชกิ ในสหพันธรัฐมาลายา ได้แก่ รฐั เนกรี เซมบิลนั (แดง-ด�ำ-เหลือง) รฐั ปาหงั (ด�ำ-ขาว) รฐั เประ (ขาว-เหลอื ง) และรฐั สลังงอร์ (แดง-เหลอื ง) ทางขวาสุดเป็นรปู ต้นมะขามป้อม (Indiangooseberry) อนั เปน็ สญั ลกั ษณ์ ของรฐั มะละกา สว่ นลา่ งหรอื ทอ้ งโล่ แบง่ ออกเปน็ สามช่อง ทางซ้ายสุด เปน็ รูปตราสัญลักษณป์ ระจ�ำรัฐซาบาห์ (ก่อต้ังเมื่อ พ.ศ. 2506) ตรงกลาง เป็นรูปดอกชบา ซึ่งเป็นดอกไม้ ประจ�ำชาติ ทางขวาสุดเป็นรูป ตราสญั ลักษณ์ประจ�ำรฐั ซาราวัค 16

รปู เสอื โครง่ ทา่ ยนื ผงาดท่ีประคอง สองข้างของตราเป็นสัญลักษณ์ ตามธรรมเนียมเดิมของชาวมลายู หมายถงึ ก�ำลงั และความกล้า รปู ดังกล่าวน้ีมที ่มี าจากตราเดิม ของรัฐแห่งสหพนั ธ์มาลายา (Federated Malay States) และ สหพันธรฐั มาลายา (Federation of Malaya) ค�ำขวัญประจ�ำดวงตรา อยใู่ นต�ำแหนง่ ล่างสดุ ของโล่ ประกอบด้วยแพรแถบ และข้อความ “Bersekutu Bertambah Mutu” อนั มคี วามหมายวา่ “ความเปน็ เอกภาพ คอื พลงั ” ขอ้ ความน้ีเปน็ ภาษามลายู ดอกไมป้ ระจ�ำชาติ : เขียนดว้ ยอักษรโรมันและอกั ษรยาวี ดอกบุหงารายอ (Bunga Raya) หรอื ดอกชบาสแี ดง มีกลีบดอกหา้ กลบี ที่เปน็ ตัวแทน 5 หลักการแหง่ ความ เป็นชาติ 1) เชอื่ ในพระเจา้ 2) ซ่อื สัตย์ ตอ่ องคส์ ุลต่านและประเทศ 3) กฎหมายรัฐธรรมนูญเปน็ กฎหมาย สงู สดุ 4) อธปิ ไตยของกฎหมาย ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 17

5) ความเอือ้ เฟ้อื และมีจรยิ ธรรม ซึง่ เปน็ ปรชั ญาเพอ่ื ความเป็นหนึ่งเดียว ของชาตทิ ีเ่ ขม้ แข็ง สง่างาม และ ความอดทน สว่ นสแี ดง หมายถึง ความกลา้ หาญ เข้าเป็นสมาชกิ อาเซยี น : 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 [23] สกลุ เงินตรา : ริงกิต (MYR) อตั ราแลกเปล่ียน : ≈3.09 รงิ กติ ตอ่ 1 ดอลลารส์ หรัฐ [23] ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) : 303.4 ล้านดอลลารส์ หรฐั [21] รายได้ประชาชาติตอ่ หวั (GDP per Capita) : 16,695 ดอลลาร์- สหรัฐ/ปี 1.1.2 ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ ลกั ษณะภมู ิประเทศ มาเลเซยี เปน็ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ แบง่ ลกั ษณะ ทางภูมิประเทศออกเปน็ 2 ส่วน โดยมีทะเลจีนใตก้ น้ั ส่วนแรก คือ คาบสมุทรมลายูมีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทศิ ใตต้ ดิ สงิ คโปร์ ภมู ปิ ระเทศบนแหลมมลายเู ปน็ หนองบงึ ตามชายฝง่ั และพืน้ ดนิ จะสงู ข้นึ เป็นล�ำดับ จนกลายเปน็ แนวเขาด้านในของประเทศ โดยมพี นื้ ทร่ี าบอยรู่ ะหวา่ งแมน่ ำ�้ สายตา่ งๆ พน้ื ดนิ ไมค่ อ่ ยอดุ มสมบรู ณน์ กั แต่เหมาะส�ำหรับปลูกยางพาราและต้นปาล์ม ด้านในของประเทศ จะมพี ชื พนั ธไ์ุ มน้ านาชนดิ ขน้ึ ตามบรเิ วณปา่ ดงดบิ โดยเฉพาะในแถบภเู ขา 18

ซงึ่ มคี วามสงู ระหวา่ ง 150 - 2,207 เมตรเหนอื ระดบั นำ�้ ทะเล มคี วามยาว ชายฝั่งจากด้านเหนือติดชายแดนไทยถึงปลายแหลมประมาณ 804 กิโลเมตร และความกว้างของแหลมส่วนท่ีกว้างที่สุดประมาณ 330 กโิ ลเมตร [23] ส่วนที่สอง คือ ทางเหนือของเกาะบอร์เนียวมีพรมแดนทิศใต้ ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน ภูมิประเทศ บนเกาะบอร์เนียวเป็นพื้นท่ีราบตามชายฝั่ง และมีภูเขาเรียงราย อยู่ด้านใน โดยมีความสงู ต้งั แต่ 30 - 2,440 เมตรเหนือระดับนำ�้ ทะเล ทางตอนเหนือของเกาะเป็นแหล่งน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติท่ีส�ำคัญ ความกวา้ งจากชายฝง่ั ทะเลถงึ อาณาเขตทต่ี ดิ กบั กะลมิ นั ตนั ของอนิ โดนเี ซยี ประมาณ 270 กโิ ลเมตร และชายฝง่ั ยาว 1,120 กโิ ลเมตร ในสว่ นอาณาเขต ท่ตี ดิ ตอ่ กบั กะลิมนั ตัน ภาพที่ 1 แผนท่สี หพนั ธรฐั มาเลเซีย ทีม่ า: http://www.apecthai.org/apec/th/profile1 ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 19

ลกั ษณะภมู ิอากาศ มาเลเซียตั้งอยู่ในเขตภูมิอากาศภาคพื้นสมุทร อากาศร้อนช้ืนและ ฝนตกชุก อยู่ภายใต้อิทธิพลของกระแสลมจากมหาสมุทรอินเดียและ ทะเลจีนใต้ ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์เป็นช่วงมรสุม ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซงึ่ ท�ำใหเ้ กดิ ฝนในเขตชายฝง่ั ตะวนั ออกของคาบสมทุ ร มาเลเซียชายฝั่งรัฐซาบาห์และซาราวัค ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายนเป็นช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ อุณหภูมิประจ�ำวัน โดยเฉลย่ี แตกตา่ งกันระหว่าง 21 - 35 องศาเซลเซยี ส และบริเวณทส่ี งู มอี ณุ หภมู อิ ยรู่ ะหวา่ ง 26 - 29 องศาเซลเซยี ส ความชน้ื ประมาณรอ้ ยละ 80 จ�ำนวนน้�ำฝนวัดได้ต่อปอี ยรู่ ะหวา่ ง 2,032 ถงึ 2,540 มิลลเิ มตร [8] 1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์โดยย่อ เมอ่ื ประมาณพนั ปมี าแลว้ บรเิ วณอนั เปน็ ทอี่ ยขู่ องมาเลเซยี ในปจั จบุ นั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ทเ่ี คยรงุ่ เรอื งดา้ นการคา้ และมอี �ำนาจ ยงิ่ ใหญใ่ นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ในทสี่ ดุ ประมาณศตวรรษท่ี 14 อาณาจักรศรีวิชัยก็เสื่อมถอยและล่มสลายลงในช่วงเวลาใกล้กัน ศูนย์กลางความเจริญทางการค้าของภูมิภาคได้ไปอยู่ที่เมืองมะละกา ซ่ึงตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของคาบสมุทรแหลมมลายูที่อยู่ ตรงข้ามเกาะสุมาตรา เมืองมะละกาเป็นศูนย์กลางการค้าการเดินเรือ ทส่ี �ำคญั จงึ เรยี กขานชอ่ งแคบนวี้ า่ ชอ่ งแคบมะละกา และยงั เปน็ ศนู ยก์ ลาง การเผยแพรศ่ าสนาอิสลาม โดยพ่อค้าชาวอาหรับจากตะวันออกกลาง 20

ทเี่ ขา้ มาตดิ ตอ่ คา้ ขายกับผคู้ นบรเิ วณแถบนี้ ในยคุ อาณานคิ มโปรตเุ กสเปน็ ยโุ รปชาตแิ รกทเ่ี ขา้ มายดึ ครองมะละกา ไดเ้ มื่อ พ.ศ. 2054 ตามมาด้วยประเทศฮอลแลนด์ในราวปี พ.ศ. 2183 แต่ท้ังสองชาติไม่ได้มุ่งหวังที่จะเข้ายึดครองมลายูเป็นอาณานิคม อย่างแท้จริง แต่มีจุดมุ่งหมายต้องการติดต่อค้าขายและเผยแพร่ ศาสนาคริสต์มากกว่า โปรตุเกสได้ถ่ายโอนมะละกาให้แก่ฮอลแลนด์ ซง่ึ ไดค้ รอบครองมะละกานานถงึ 183 ปี จนกระทงั่ ไดเ้ ปลยี่ นผคู้ รอบครอง มาเปน็ จกั รภพอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2367 [10] จักรภพอังกฤษได้เร่ิมแผ่ขยายการล่าอาณานิคมมาถึงแหลมมลายู เม่ือปี พ.ศ. 2329 เม่ือสุลต่านไทรบุรีได้ให้อังกฤษเช่าเกาะหมาก หรอื เกาะปนี งั ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2362 สงิ คโปรก์ ต็ กอยใู่ นความครอบครอง ของอังกฤษ ซึ่งการเข้ายึดมะละกาของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2367 เป็นผลมาจากสนธิสัญญาระหว่างดัทช์กับอังกฤษ จะร่วมกันดูแล ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 21

ช่องแคบมะละกา โดยดัทช์อยู่ทางเกาะสุมาตราและอังกฤษอยู่ตรงข้าม ด้านแหลมมลายู ในปี พ.ศ. 2369 อังกฤษได้จัดต้ังอาณานิคมที่มี ระบบหน่วยบริหารการปกครองหน่วยเดียว (Straits Settlement) ประกอบดว้ ย ปนี งั มะละกา สงิ คโปร์ และลาบวน ซงึ่ เปน็ เกาะนอกชายฝง่ั เกาะบอร์เนียว จากนั้นอังกฤษก็ค่อยๆ แผ่อิทธิพลเข้ามาสู่รัฐต่างๆ ในแหลมมลายู โดยแตง่ ตงั้ “ทปี่ รกึ ษาราชการแผน่ ดนิ ” ซงึ่ เปน็ ชาวองั กฤษ ไปประจ�ำตามรัฐต่างๆ โดยนัยแล้วก็คือ ผู้ท�ำหน้าท่ีบริหารราชการ ของรฐั นั้นๆ และในช่วงเวลาเดียวกัน ซาบาห์ (บอร์เนียวเหนือ) ซาราวัค และบรูไน ซ่ึงเป็นดินแดนในเกาะบอร์เนียวชายฝั่งทะเลจีนใต้ได้ตกอยู่ ภายใต้การปกครองของอังกฤษทงั้ หมด ส�ำหรบั มลู เหตสุ �ำคญั ทอ่ี งั กฤษไดเ้ ขา้ มายดึ ครองแหลมมลายู มดี งั นี้ [10] (1) ได้มีการส�ำรวจพบแหล่งแร่ดีบุกที่ใหญ่แห่งหน่ึงของโลก และเป็นที่ต้องการอย่างมากของอุตสาหกรรมโรงงานผลิตกระป๋อง โดยแหลง่ แร่ที่ใหญอ่ ยใู่ นรัฐเปรคั บนคาบสมุทรมลายู (2) รัฐบาลเห็นความจ�ำเป็นในการคุ้มครองตลาดการค้าของตน ในย่านน้ีอย่างจริงจัง เพราะพ่อค้าอังกฤษกับพ่อค้าชาวต่างชาติ ต่างแยง่ ตลาดคา้ ขายเป็นประจ�ำ (3) แหลมมลายูมีการขัดแย้งในเร่ืองผลประโยชน์ท้องถ่ินระหว่าง สุลต่านรัฐต่างๆ ส่งผลให้เกิดการชะงักงันทางการค้าและการลงทุน จากตา่ งประเทศ ท�ำใหก้ จิ การขององั กฤษได้รับผลกระทบ (4) ตอ้ งการใหเ้ ปน็ จดุ ศูนยก์ ลาง เพือ่ เชอื่ มโยงไปส่กู ารตดิ ตอ่ คา้ ขาย กบั จีน 22

(5) อังกฤษต้องการแสวงหาท่ีอยู่ฐานทัพเรือ เพื่อต่อสู้กับคู่แข่ง คือฝร่ังเศส ในช่วงระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา (พ.ศ. 2481 - 2488) [23] ดินแดนทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ท้ังที่เป็นของอังกฤษและ เนเธอรแ์ ลนดต์ กอยภู่ ายใตก้ ารยดึ ครองของญป่ี นุ่ กองทพั ญป่ี นุ่ เขา้ ยดึ ครอง ดนิ แดนตา่ งๆ ในภาคพนื้ เอเซยี เพอื่ เขา้ ไปประสานกบั เยอรมนั และอติ าลี ในยโุ รป ท�ำใหอ้ งั กฤษไดถ้ อนตวั ออกไปชว่ั คราวใน พ.ศ. 2482 แหลมมลายู ทั้งหมดอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่น ในระหว่างการยึดครองได้เกิด ขบวนการตอ่ ต้านญป่ี ่นุ “The Malayan People’s Anti - Japanese Army (MPAJA)” ซงึ่ แกนน�ำคอื กลมุ่ ชนมลายทู ม่ี เี ชอื้ สายจนี เปน็ สว่ นใหญ่ และกองก�ำลงั ตดิ อาวธุ ทส่ี นบั สนนุ กลมุ่ ตอ่ ตา้ นคอื พรรคคอมมวิ นสิ ตม์ ลายู “Malayan Communist Party (MC)” [11] ภายหลังส้ินสุดสงครามมหาเอเชียบูรพาในปี พ.ศ. 2488 ประเทศ องั กฤษกลบั เขา้ ครอบครองมลายใู นปี พ.ศ. 2489 โดยพรรคคอมมวิ นสิ ต์ มลายไู ดย้ น่ื ค�ำขาดใหอ้ งั กฤษคนื เอกราชโดยทนั ที ซงึ่ การกระท�ำดงั กลา่ ว ฝ่ายอังกฤษไม่ยินยอมเพราะเป็นการเสียศักดิ์ศรีและอังกฤษได้ปฏิเสธ ระยะต่อมาเม่ือสงครามโลกคร้ังท่ีสองส้ินสุดลงได้เกิดกระแสขึ้น ในเวทคี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศคอื นโยบายสหประชาชาตไิ ดป้ ระกาศ ให้ผู้คนซึ่งตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติอื่นสามารถเลือกวิถีชีวิต ของตนเองน้ัน ก็คือการล้มเลิกอาณานิคม ซ่ึงประเทศสหรัฐอเมริกา ไดก้ ระท�ำเปน็ ตวั อยา่ งคอื ไดป้ ลดปลอ่ ยฟลิ ปิ ปนิ ส์ จงึ นบั เปน็ เปน็ ชาตแิ รก ที่ได้รับเอกราชจากตะวันตก ท�ำให้อังกฤษไม่สามารถทวนกระแส ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 23

ความตอ้ งการของประชาคมโลกได้ จงึ คนื เอกราชแกอ่ าณานคิ มของตนเอง แบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป คอื การคนื เอกราชใหแ้ กม่ ลายทู ง้ั หมด ยกเวน้ สงิ คโปร์ ซง่ึ เป็นฐานทัพที่ส�ำคญั องั กฤษก�ำหนดจะคนื เอกราชใหแ้ กม่ ลายใู นปี พ.ศ. 2491 โดยพจิ ารณา จากสภาพความเปน็ อยขู่ องผ้คู นในขณะนนั้ ประกอบดว้ ย ความเปน็ อยู่ ในลกั ษณะพหสุ งั คม ซง่ึ มชี าวพนื้ เมอื งเดมิ และชาวจนี ทเ่ี ขา้ มาในชว่ งทง้ั กอ่ น และหลังอังกฤษปกครอง และชาวอินเดียซ่ึงอพยพมาจากตอนใต้ ของประเทศอนิ เดยี ซง่ึ บคุ คลเหลา่ นม้ี สี ทิ ธเิ ทา่ เทยี มกนั หมด โดยโครงการ คนื เอกราชมชี อื่ วา่ “สหภาพมาลายา หรอื Malayan Union Plan (MUP)” ซ่ึงวางเป้าหมายว่าโครงการจะส�ำเร็จใน พ.ศ. 2491 โครงการ MUP กลายเป็นชนวนส�ำคัญท่ีท�ำให้ชาวพื้นเมืองท้องถิ่นดั้งเดิม (ชาวมลายา) รู้สึกตอ่ ตา้ น ซงึ่ เรียกว่า “เชอ้ื ชาตินยิ ม” (Racialism) ซ่ึงกล่มุ ชาวมาเลย์ ถือว่าตนเป็นบุตรของแผ่นดิน (Bummiputera) จึงไม่ยอมท่ีจะให้ คนเชอ้ื ชาตอิ นื่ มสี ทิ ธเิ ทา่ เทยี มตนเอง (จนี และอนิ เดยี ) ซงึ่ ชาวจนี และอนิ เดยี มีอ�ำนาจทางเศรษฐกิจมากกว่าชาวมาเลย์ จึงเกิดองค์การชาวมาเลย์ ต่อต้านโครงการ MUP โดยเริ่มจากความคิดของมุขมนตรีรัฐยะโฮร์ โดยองค์การดังกล่าวชื่อว่า “Pan Malayan Malay Congress” ในขนั้ แรก ตอ่ มาเปลย่ี นเปน็ องคก์ ารสหชาตมิ าเลย์ (The United Malay National Organization: UMNO) ซง่ึ เกดิ จากมตทิ ป่ี ระชมุ ในเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2489 โดยมีตัวแทนขององค์กรของชาวมลายู 41 องค์กร และ การประชุมคร้ังนี้ ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ จากสมาคมชาวมลายู แหง่ รัฐยะโฮร์ (Persatuan Melayu Johor) ได้รับเลอื กให้เป็นประธาน 24

จากการประชุม มีมติที่ส�ำคัญคือ จัดตั้งองค์การมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรอื องคก์ ารสหชาตมิ าเลย์ (The United Malay National Organization: UMNO) และตอ่ ตา้ นการจดั ตงั้ สหภาพมาลายาตามแผนการขององั กฤษ ซ่ึงก็ประสบความส�ำเรจ็ โดยองั กฤษได้ยอมลม้ เลิกโครงการ MUP และ ท�ำขอ้ ตกลงกบั UMNO ในขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยสหพนั ธรฐั มลายา (Federation of Malaya Agreement) คอื การรวมตัวกันเป็นสหพันธรัฐ ต่อมาองค์การมลายูสามัคคีแห่งชาติหรือองค์การสหชาติมาเลย์ (The United Malay National Organization: UMNO) ได้พัฒนา เป็นพรรคการเมือง เมื่อดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ ได้ลาออกจาก การเป็นประธานพรรคคนแรกและไปจัดต้ังพรรคการเมืองใหม่ ระบบบริหารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 25

เม่ือ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) โดยพรรคการเมืองใหม่นี้ ใชช้ อื่ วา่ พรรคเอกราชแหง่ มาลายา (Independence of Malaya Party) ท่ีไม่จ�ำกัดเฉพาะคนเช้ือสายมาลายู ส่วนพรรคอัมโน (UMNO) ท่ีเหลือ ไดล้ งมตเิ ลอื ก ตวนกู อบั ดลุ ราหม์ าน เปน็ ประธานคนใหมแ่ ละทา่ นไดเ้ ขยี น บทความในหนงั สอื พมิ ม์ The Star ฉบบั วนั ท่ี 24 สงิ หาคม พ.ศ. 2530 วา่ “การตอ่ สกู้ ารเลอื กตงั้ ครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2498 นนั้ ฉนั ไดข้ อรบั บรจิ าคเงนิ โดยการเขียนจดหมายถึงบรรดาชนชั้นปกครองท้ังหลายในมาเลเซีย บรรดาคนรวยชาวอาหรบั ทอ่ี ยใู่ นสงิ คโปรแ์ ละประเทศมสุ ลมิ ทกุ ประเทศ ในตะวนั ออกกลางและเมอ่ื ฉนั เดนิ ทางไปประเทศไทยเพอ่ื ขอความชว่ ยเหลอื ตวนกู อับดุล ราห์มาน 26

มีแต่เพ่ือนในประเทศไทยเท่านั้นที่ให้ความช่วยเหลือ” [19] ซึ่งผล การเลือกต้ังคร้ังน้ี ท่านตวนกู อับดุล ราห์มานได้รับเลือกต้ังเป็น นายกรฐั มนตรคี นแรกของประเทศมาเลเซีย อังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่ดินแดนมลายูเกือบทั้งหมดในวันท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2500 ภายใตช้ อื่ วา่ “สหพนั ธรฐั มาลายา” (Federation of Malaya) โดยมีจ�ำนวน 11 รัฐ ซึ่งอยู่บนคาบสมุทรมลายู 10 รัฐ และดนิ แดนทีเ่ ปน็ เกาะ 1 รัฐ คอื เกาะปีนงั ยกเว้นสงิ คโปร์ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2506 สหพนั ธรฐั มาลายาไดส้ นิ้ สดุ ลงเมอ่ื ผนู้ �ำของสหพนั ธรฐั มาลายา คือ ท่านตวนกู อับดุล ราห์มาน มีแนวความคิดที่จะรวมเอาดินแดน ที่อยู่ใกล้เคียง ซ่ึงอังกฤษก�ำลังจะให้เอกราชดินแดนดังกล่าว คือ เกาะสงิ คโปร์ ซาบาห์ ซาราวคั และบรไู น เขา้ ไปอยใู่ นสหพนั ธรฐั มาลายา และเปลี่ยนช่ือเป็นโครงการจัดต้ังสหพันธ์มาเลเซีย ซึ่งประกอบด้วย 11 รัฐเดมิ กบั อีก 4 รัฐใหม่ รวมเปน็ 15 รฐั แตโ่ ครงการนีบ้ รไู นได้ปฏเิ สธ ท่ีจะเข้ารว่ มด้วย ท�ำให้สหพนั ธ์มาเลเซยี มเี พียง 14 รัฐ แต่อย่างไรก็ตาม ในวันท่ี 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508 สิงคโปร์ได้ประกาศถอนตัวออกจาก สหพันธ์มาเลเซียมาเป็นประเทศเอกราชภายใต้การน�ำของนายลีกวนยู ท�ำให้สหพันธ์มาเลเซียมีเพียง 13 รัฐ (มาเลเซียตะวันตก 11 รัฐ และ มาเลเซียตะวนั ออก 2 รัฐ) [11] 1.1.4 ลกั ษณะประชากร มาเลเซียประกอบดว้ ยชนจากหลายเผา่ พนั ธุ์ (พหุสังคม) รวมกันอยู่ บนแหลมมลายมู าหลายรอ้ ยปี ซง่ึ ในปจั จบุ นั ประกอบดว้ ยเชอ้ื ชาตใิ หญๆ่ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 27

3 กลุ่ม คอื ชาวมลายู ชาวจนี และชาวอนิ เดยี ท่ีอาศัยอย่บู นแหลมมลายู เปน็ สว่ นใหญ่ ส่วนชนพ้นื เมืองอื่นๆ เช่น อิบัน (Ibans) สว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นรฐั ซาราวัค และคาดาซัน (Kadazans) ทัง้ นส้ี ามารถแบ่งประชากร ตามเช่ือชาติแล้ว จะเป็นชาวมลายู 14.072 ล้านคน (ร้อยละ 49.68) จีน 6.465 ล้านคน (ร้อยละ 22.82) ภมู บิ ุตรที่ไมใ่ ช่มลายู 3.038 ลา้ นคน (ร้อยละ 10.73) อินเดีย 1.929 ล้านคน (ร้อยละ 6.81) อื่นๆ 0.361 ล้านคน (รอ้ ยละ 1.27) และผู้ท่ีไม่ไดถ้ ือสัญชาตมิ าเลย์ 2.461 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 8.69) [21] ส่วนในการส่ือสารยังคงใช้ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) เป็น ภาษาราชการ ส�ำหรบั ภาษาอนื่ ทใ่ี ชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย คอื ภาษาองั กฤษ (โดยเฉพาะในแวดวงธรุ กจิ ) และภาษาจนี 1.1.5 ขอ้ มลู เศรษฐกจิ นายกรัฐมนตรีมาเลเซียได้ริเริ่มนโยบายการปฏิรูปและพัฒนาให้ มาเลเซียก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งต้องท�ำให้มีรายได้มวลรวม ประชาชาติ (Gross National Income - GNI) ถึง 15,000 ดอลลาร์ สหรัฐตอ่ คนต่อปี ตามวิสัยทศั น์ พ.ศ. 2563 (Vision 2020) การค้าระหว่างประเทศของมาเลเซียกับทั่วโลกมีมูลค่ารวม 3.64 แสนล้านดอลลารส์ หรฐั เปน็ การส่งออกมูลคา่ 1.99 แสนล้านดอลลาร์ สหรฐั และเปน็ การน�ำเขา้ มูลค่า 1.65 แสนล้านดอลลารส์ หรฐั มาเลเซยี ไดด้ ลุ การคา้ 34 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ [23] 28

สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปาลม์ นำ้� มนั กา๊ ซธรรมชาติ เคมภี ณั ฑ์ นำ้� มนั เชอ้ื เพลงิ นำ�้ มนั ดบิ เครอื่ งจกั ร และผลติ ภัณฑ์ทที่ �ำจากโลหะ สนิ คา้ น�ำเขา้ ทส่ี �ำคญั ไดแ้ ก่ เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เคมภี ณั ฑ์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ผลิตภัณฑ์ท่ีท�ำจากโลหะ น�้ำมันเช้ือเพลิง เหล็ก และเหล็กกลา้ และน�้ำมนั ดบิ รถยนต์ 1.1.6 ข้อมลู การเมอื งการปกครอง ประเทศมาเลเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ และ 3 ดินแดนสหพันธ์ เป็นดินแดนที่รัฐบาลกลางหรือรัฐบาลสหพันธรัฐ ปกครอง เขตการปกครองต่างๆ และช่อื เมอื งหลวง ไดแ้ ก่ มาเลเซยี ตะวันตก ได้แก่ กัวลาลมั เปอร์ และปุตราจายา มาเลเซยี ตะวนั ออก ไดแ้ ก่ ลาบวน (วิกตอเรีย) มาเลเซียตะวันตก (คาบสมุทรมลายู) ได้แก่ กลันตัน (โกตาบารู) เกดะห์ (ไทรบุรี) (อลอรส์ ตาร)์ ตรงั กานู (กวั ลาตรงั กานู) เนกรีเซมบลี นั (สเรมบัน) ปะหัง (กวนตัน) ปะลิส (กางาร์) ปีนัง (จอร์จทาวน์) เประ (อีโปห์) มะละกา (มะละกา) ยะโฮร์ (ยะโฮร์บาห์รู) และสลังงอร์ (ชาห์อาลัม) มาเลเซียตะวันออก (เกาะบอร์เนียวตอนเหนือ) ได้แก่ ซาบาห์ (โกตากินะบะล)ู และซาราวคั (กูจงิ ) ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 29

ภาพที่ 2 แผนท่ีการแบง่ เขตการปกครอง ทมี่ า: http://www.wonderfulmalaysia.com/map-maps-malaysia.htm การแบง่ อ�ำนาจการปกครอง ในด้านการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น 3 สว่ นดังน้ี [7] 1. การปกครองส่วนกลาง ประกอบด้วย กระทรวง 24 กระทรวง กรม และกองต่างๆ 2. การปกครองสว่ นภมู ภิ าคจะแตกตา่ งจากประเทศไทยทไี่ มม่ จี งั หวดั และโครงสร้างที่ใช้การแต่งต้ังจากส่วนกลาง ตั้งแต่หน่วยการปกครอง ระดบั อ�ำเภอ ต�ำบล และหมู่บา้ น มีฐานะเปน็ ข้าราชการสังกดั กระทรวง การเคหะและการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ซง่ึ ท�ำใหก้ ารปกครองสว่ นภมู ภิ าค ของประเทศมาเลเซียมีโครงสร้างและระบบการบริหารราชการ พอสรุปได้ดังน้ี 30

อ�ำเภอ (District) เป็นหนว่ ยการปกครองส่วนภูมภิ าคที่ใหญ่ท่สี ดุ ของมาเลเซยี ประกอบดว้ ย ต�ำบลหลายๆ ต�ำบลมารวมกนั โดยมนี ายอ�ำเภอ ซึ่งเป็นข้าราชการประจ�ำมาจากการแต่งตั้งของกระทรวงการเคหะ และการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ [4] เปน็ หวั หนา้ สว่ นราชการผรู้ บั ผดิ ชอบงาน บรหิ ารทง้ั หมดภายในอ�ำเภอ และท�ำหนา้ ทปี่ ระสานงานระหวา่ งหนว่ ยงาน ของรฐั กบั หนว่ ยงานทอ่ี ยตู่ ำ่� กวา่ ระดบั อ�ำเภอ ซงึ่ จะถกู โยกยา้ ย สบั เปลย่ี น ได้ตลอดเวลา เพราะเป็นสิทธ์ิขาดของรัฐบาลมลรัฐในการเปล่ียนตัว นายอ�ำเภอในเขตต่างๆ สถานะของนายอ�ำเภอเปรยี บเสมอื นเลขาธกิ าร ประจ�ำรัฐในระดับอ�ำเภอ หน้าท่ีของนายอ�ำเภอ ซึ่งมีสาระส�ำคัญ สรุปไดด้ ังนี้ 1)0 มีอ�ำนาจในการพิจารณาคดีอาญาแผ่นดินในระดับอ�ำเภอ 0หรอื ต่ำ� กวา่ ในบางรัฐนายอ�ำเภอมสี ถานะเปน็ อยั การอีกดว้ ย 2) 0 ปกครองและดูแลเก่ียวกบั ทรัพย์สนิ และกรรมสทิ ธ์ทิ ดี่ ิน 3) 0 ท�ำหนา้ ทีใ่ นการจดั เก็บภาษตี า่ งๆ เชน่ ภาษีทดี่ นิ 4) 0 ท�ำหน้าท่ีในการเป็นผู้น�ำชุมชนขนาดใหญ่ระดับอ�ำเภอ 0เพอ่ื การสาธารณะประโยชน์ เชน่ เรยี่ ไรเงนิ เพอ่ื บ�ำรงุ การศกึ ษา 0เป็นต้น 5) 0 เป็นประธานคัดเลือกผู้น�ำทอ้ งถิน่ เพื่อท�ำกิจกรรมต่างๆ 6) 0 เป็นประธานกรรมการพัฒนาชนบทในระดบั อ�ำเภอ ส�ำหรับองค์ประกอบของอ�ำเภอทส่ี �ำคญั อีกประการกค็ อื สภาอ�ำเภอ ที่มาจากคัดเลือกผู้น�ำจากต�ำบลต่างๆ มาเป็นสมาชิก ท�ำหน้าท่ี ให้ค�ำแนะน�ำแก่นายอ�ำเภอในการบริหารกิจการต่างๆ แต่ไม่มีอ�ำนาจ ระบบบริหารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 31

ในการบรหิ ารงานรว่ มกบั นายอ�ำเภอ การปกครองในระดับอ�ำเภอนี้ นับเป็นกลไกหลักของรัฐบาล ในการบริหารงานระดับพ้ืนที่ให้ได้ผล และเป็นการสื่อสารที่ดีระหว่าง รัฐบาลกับองค์การต่างๆ ในระดับท่ีต่�ำกว่าการปกครองระดับอ�ำเภอ ท่ีไม่สามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นการปกครองส่วนท้องถ่ินได้ แต่อาจมี การต้ังองค์การปกครองส่วนท้องถ่ินข้ึนซ้อนกับพื้นท่ีอ�ำเภอได้ ซึ่งมี สภาชนบทประจ�ำอ�ำเภอ (Rural District Council) เปน็ หนว่ ยการปกครอง ระดับท้องถิ่น ในขณะท่ีระดับต�ำบลและหมู่บ้านที่มีความเจริญ เข้าตามหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายก�ำหนดก็สามารถต้ังองค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นขึ้นและท�ำการยุบต�ำบลหรือหมู่บ้านได้ ซ่ึงข้ึนอยู่กับ การพิจารณาของกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถ่ินว่า 32

มีศกั ยภาพ ความสามารถ และองค์ประกอบดา้ นประชากรที่เข้าเงือ่ นไข หรือไม่ ต�ำบล (Mukim)เปน็ การปกครองสว่ นภมู ภิ าคในล�ำดับทรี่ องจาก อ�ำเภอ ต�ำบลประกอบข้ึนจากหมู่บ้านหลายๆ หมู่บ้านมารวมกัน หัวหน้าต�ำบล เรียกว่า ก�ำนัน (Head of Mukim หรือ Penhuln) ก�ำนันในมาเลเซียเป็นข้าราชการเต็มตัว มาจากการสอบแข่งขันและ แต่งต้ังโดยส่วนกลาง ได้รับเงินเดือนและเงินบ�ำเหน็จบ�ำนาญเหมือน ขา้ ราชการทว่ั ไป ก�ำนนั ในมาเลเซยี มเี งนิ เดอื นคอ่ นขา้ งสงู และยงั มรี ายได้ จากทางอ่ืนๆ เชน่ เบี้ยประชุม เป็นต้น ประเทศมาเลเซยี มกี ารตรวจสอบ การท�ำงานและความรู้ของก�ำนันอยู่เสมอ เช่น การจัดทดสอบความรู้ หลงั จากทไี่ ดเ้ ปน็ ก�ำนนั ไปแลว้ 3 ปี หากสอบวดั ความรไู้ มผ่ า่ นกจ็ ะถกู ปลด ออกจากต�ำแหน่ง ก�ำนันไม่มีอ�ำนาจโดยตรงในการจับกุมผู้กระท�ำผิด กฎหมาย มเี พยี งหนา้ ทใ่ี นการ “จดั เวรยามจากราษฎรเพอ่ื ท�ำหนา้ ทร่ี กั ษา หม่บู ้านและทุกๆ วัน ก�ำนันตอ้ งรายงานขอ้ ราชการตอ่ นายอ�ำเภอ และ ท�ำงานอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของนายอ�ำเภอ นายอ�ำเภอมีสิทธิ์ ทจ่ี ะโยกยา้ ยก�ำนนั ไปยงั ต�ำบลใดกไ็ ดภ้ ายในเขตอ�ำเภอ ก�ำนนั เปน็ ขา้ ราชการ สังกัดกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น ก�ำนันมีหน้าท่ี คอยช่วยเหลอื งานของนายอ�ำเภอในดา้ นต่างๆ เช่น การออกใบอนญุ าต ฆา่ สตั ว์ การเกบ็ ภาษีทดี่ นิ การจดั ท�ำทะเบยี นราษฎร์ องค์ประกอบที่ส�ำคัญของต�ำบลอีกประการก็คือ คณะกรรมการ ประจ�ำต�ำบล (Village Committee) ท�ำหน้าท่ีในการช่วยเหลือ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 33

การบริหารงานของก�ำนัน แต่ในบางต�ำบลอาจจะไม่มีคณะกรรมการ ประจ�ำต�ำบลก็ได้ จะมีเพียงก�ำนันเท่านั้นท�ำหน้าท่ีในการบริหารงาน ระดับต�ำบล [6] หมู่บ้าน (Kampongs) เป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาค ทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของมาเลเซยี และเปน็ หนว่ ยการปกครองทใ่ี กลช้ ดิ กบั ประชาชน มากท่ีสุดอีกด้วย หัวหน้าหมู่บ้าน เรียกว่า ผู้ใหญ่บ้าน (Head of Kampongs) ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2503 ต�ำแหน่งผใู้ หญ่บ้านมาจากการแต่งตง้ั แต่หลังจากปี พ.ศ. 2519 เป็นต้นมา รัฐสภามาเลเซียได้ผ่านกฎหมาย การปกครองส่วนท้องถิ่นฉบับใหม่ ท�ำให้เกิดการปฏิรูปการปกครอง ส่วนท้องถ่ินในประเทศมาเลเซียอย่างจริงจัง ท�ำให้ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน มาจากการเลอื กตงั้ ของประชาชนในเขตหมบู่ า้ น แตย่ งั คงถอื วา่ ผใู้ หญบ่ า้ น มสี ถานะเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการปกครองสว่ นภมู ภิ าค ผใู้ หญบ่ า้ นมสี ถานะ เป็นก่ึงข้าราชการ กล่าวคือ ผู้ใหญ่บ้านเป็นตัวแทนของชาวบ้าน ในขณะเดียวกันรัฐก็สามารถส่ังการผู้ใหญ่บ้านได้โดยผ่านก�ำนันและ นายอ�ำเภอ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของผู้ใหญ่บ้านคือ 5 ปี ส�ำหรับ ผลตอบแทนที่ผู้ใหญ่บ้านได้รับจากราชการก็คือ เงินประจ�ำเดือนและ สิทธิพิเศษต่างๆ ในฐานะเป็นผู้ช่วยเหลือกิจการของรัฐ เช่น ได้รับสิทธิ ในการลดหย่อนคา่ เชา่ ที่นา เป็นตน้ 3. การปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศมาเลเซียมีอัตลักษณ์ เปน็ ของตวั เอง ซึง่ มีรายละเอยี ดดังน้ี [7] 34

(1) การบริหารงานของรฐั บาลแห่งรัฐ (State Government) รัฐบาลแห่งรัฐเป็นรัฐบาลท้องถ่ินของรัฐในประเทศมาเลเซียจ�ำนวน 13 รัฐ ท�ำหน้าที่ปกครองบริหารราชการในรัฐนั้นๆ มีลักษณะเป็น รัฐบาลเล็กๆ 13 รัฐบาลอยู่ในประเทศเดียวกัน เพราะมีโครงสร้าง เช่นเดียวกบั รัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐจะมีมุขมนตรีแห่งรัฐ (Menteri Besar) ในรัฐท่ีมี เจ้าผู้ครองรัฐ ส่วนในรัฐท่ีไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐจะมีผู้ว่าการรัฐ (Ketua Menteri) โดยแต่งต้ังมาจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ ท�ำหน้าท่ี เป็นหัวหน้าคณะผู้บริหารรัฐ (Executive Council - Exco) ดูแล ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 35

ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การศึกษา หรือ สุขภาพอนามัยของผู้คนในรัฐ โดยแต่ละรัฐมีอิสระในการบริหาร จากรัฐบาลกลางพอสมควร ยกเว้นด้านการต่างประเทศ การทหาร การเงนิ และเศรษฐกจิ มหภาคทยี่ งั คงอยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของรฐั บาลกลาง และรฐั บาลแหง่ รฐั [7] (2) การปกครองส่วนท้องถนิ่ หลังการปฏิรปู พ.ศ. 2519 การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียที่ยกระดับการมีส่วนร่วม ของประชาชน ซึง่ ไดเ้ ริ่มจากการปฏริ ปู กันอยา่ งจรงิ จังเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไดม้ กี ารออกกฎหมายการปกครองทอ้ งถิ่น (Local Government Act 124) กฎหมายฉบับน้ีนับว่ามีความส�ำคัญต่อการปกครองส่วนท้องถิ่น ของมาเลเซียเปน็ อย่างมาก โดยพยายามท�ำให้การปกครองส่วนท้องถน่ิ เป็นของประชาชนในท้องถ่ินมากท่ีสุด แต่ยังคงเป็นการบริหารกิจการ ท้องถิ่นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลแห่งรัฐ ซึ่งมีรูปแบบการปกครอง สว่ นทอ้ งถ่ิน 5 รปู แบบดงั น้ี [6] (1) สภานคร (City Council) รัฐบาลท้องถ่ินรูปแบบน้ีมีทั้งสิ้น 12 แหง่ และมีคณะกรรมาธกิ ารสภานครมาจากการเลอื กต้งั (2) สภาเทศบาล (นคร) (Municipal Council) ซึ่งมี 39 แห่ง ซ่ึงรัฐบาลท้องถ่ินและคณะกรรมาธิการการปกครองรูปแบบนี้ มาจากการเลือกต้ัง มีอ�ำนาจสมบูรณ์ทางการเงิน การเก็บภาษี และใบอนญุ าตตา่ งๆ การปกครองทอ้ งถนิ่ 2 รปู แบบทก่ี ลา่ วมา จะถกู จดั ตงั้ ขนึ้ ในเขตทมี่ คี วามเปน็ เมอื งสงู จ�ำนวนประชากรมาก และความหนาแนน่ ของประชากรมสี งู มรี ายไดเ้ พยี งพอตอ่ การบรหิ าร 36

กิจการเมืองขนาดใหญ่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการจัดเก็บภาษี ในท้องถิ่น ส่วนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นเพียงรายได้เสริม ความแตกต่างระหว่างสภาเทศบาล (Municipal Council) กับสภานคร (City Council) คือ โครงสร้างการบริหารงาน แตกต่างกัน กล่าวคือ สภาเทศบาล (Municipal Council) ใชร้ ปู แบบคณะกรรมาธกิ าร ไมม่ แี ยกฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั กิ บั ฝา่ ยบรหิ าร แตส่ ภานคร (City Council) ใชร้ ปู แบบแยกฝา่ ยบรหิ ารกบั สภา ออกจากกนั (3) สภาเมอื ง (Town Council) คอื องคก์ ารปกครองส่วนท้องถน่ิ ท่ีจัดต้ังข้ึนในเขตเมืองใหญ่ๆ ท่ีมีประชากรมากกว่า 5,000 คน แตไ่ มเ่ กนิ 100,000 คน มคี วามสามารถดา้ นการคลงั อยใู่ นระดบั ปานกลาง รัฐบาลทอ้ งถนิ่ รปู แบบนม้ี าจากการเลอื กต้งั (4) คณะกรรมการเมือง (Town Board) คือ องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก มีหน้าท่ีคล้ายสภาเมือง แต่สัดส่วน ของบทบาทหน้าที่ และการบริหารจัดการอาจจะแคบกว่า คณะกรรมาธกิ ารเมอื งจะมาจากการแตง่ ตง้ั จดั ตงั้ ขน้ึ ในเขตเมอื ง ทมี่ ปี ระชากรมากกวา่ 5,000 คนขน้ึ ไป มรี ายไดต้ ำ่� รายไดส้ ว่ นใหญ่ มาจากเงนิ อุดหนนุ ของรัฐบาล แต่ยังสามารถบรหิ ารจดั การได้ (5) สภาท้องถิ่น (Local Council) หรือ สภาอ�ำเภอ (District Council) คือ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดตั้งข้ึน ในเขตอ�ำเภอจ�ำนวน 98 แห่ง ซึ่งจัดต้ังข้ึนในเขตพ้ืนที่ชนบท ที่มรี ายไดต้ �่ำประชากรนอ้ ย ประชากรส่วนใหญ่อยใู่ นเขตชนบท ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 37

และท�ำอาชีพเกษตรกรรม นับเป็นองคก์ ารปกครองสว่ นท้องถน่ิ ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดรูปแบบหน่ึงขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในมาเลเซีย สภาท้องถ่ินมักจะตั้งทับซ้อนอยู่กับการปกครอง ระดับต�ำบลและหมูบ่ า้ น มีรูปแบบยอ่ ยดงั น้ี สภาชนบท (Rural Council) คณะกรรมการหมู่บ้าน (Village Committee) สภาชนบทประจ�ำอ�ำเภอ (Rural District Council) สภาอ�ำเภอ (District Council) คณะกรรมการชนบท (Rural Broad) คือ องค์การปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตชนบทท่ีมีขนาดพ้ืนท่ีใหญ่ และมักจะตั้งทับซอ้ นอยกู่ ับการปกครองในระดบั อ�ำเภอ 38

จากรูปแบบการปกครองทั้งสามส่วน [6] ได้แสดงความเช่ือมโยง ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสหพนั ธรฐั มลรฐั ภมู ภิ าคและทอ้ งถนิ่ ดงั แผนผงั ภาพท่ี 3 รฐั บาลสหพนั ธ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการเคหะและการปกครองทอ้ งถ่นิ รัฐบาลมลรัฐ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการเคหะและการปกครองท้องถิ่น การปกครองส่วนภมู ภิ าค การปกครองส่วนส่วนทอ้ งถิ่น เขตชนบท เขตเมือง อ�ำเภอ สภาชนบทประจ�ำอ�ำเภอ ต�ำบล สภาทอ้ งถน่ิ หมู่บ้าน นครกวั ลาลัมเปอร์ สภาเทศบาล และ สภาเมือง คณะกรรมการ เมอื งหลวง สภานคร ภาพท่ี 3 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสหพันธรฐั มลรัฐ ภมู ภิ าค และทอ้ งถ่นิ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 39

40

1.1.7 ลกั ษณะทางสังคมและวฒั นธรรม หลังจากประเทศอังกฤษได้เข้ามาปกครองมาเลเซียในช่วงปี พ.ศ. 2369 ได้มีกลุ่มชาวจีนและชาวอินเดียเป็นจ�ำนวนมากเข้ามา ประกอบอาชีพค้าขาย [14] จึงเพิ่มความหลากหลายทางสังคมและ วฒั นธรรม (Multiculturalism) ท�ำใหม้ าเลเซยี เปน็ ประเทศทม่ี ปี ระชากร ท่ีมีความหลากหลายทางศาสนาและเชื้อชาติ โดยประมาณร้อยละ 60 ของชาวมาเลเซยี นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม รอ้ ยละ 32 เปน็ ชาวจนี ซง่ึ อาศยั อยู่ ทางตอนใต้ของประเทศนับถือลัทธิเต๋าและศาสนาพุทธนิกายมหายาน รอ้ ยละ 8 เปน็ ชาวอนิ เดยี ทน่ี ับถือศาสนาฮนิ ดู ในดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมของมาเลเซยี แตล่ ะพนื้ ทจ่ี ะแตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ ชาวมลายทู ยี่ ดึ ถอื ขนบธรรมเนยี มประเพณแี บบ Adat Temenggong [5] ท่ียดึ ถือทางฝา่ ยบดิ าเปน็ ผูร้ ับมรดกสืบทอด เป็นขนบธรรมเนียมท่ียดึ ถอื ในรฐั สว่ นใหญข่ องแหลมมลายู(ยกเวน้ รฐั เนกรเี ซมบลี นั )ซงึ่ เปน็ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณที ย่ี ดึ ถอื มาตงั้ แตย่ คุ มะละกาแผข่ ยายไปรฐั ตา่ งๆ ทวั่ แหลมมลายู ขนบธรรมเนียมน้ีจัดตั้งขึ้นโดย Datuk Ketemanggungan จาก เกาะสุมาตรา มีการผสมผสานเข้ากับขนบธรรมเนียมเดิมที่มีอยู่แล้ว เกดิ เปน็ กฎหมายทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ กฎหมายมะละกา (Undang-Undang Melaka) กฎหมายโยโฮร์ (Undang-Undang Johor) และกฎหมาย เคดะห์ (Undang-Undang Kedah) สว่ นชาวมลายทู ยี่ ดึ ถอื ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีแบบ Adat Minangkabau หรือ Adat Perpatih เป็น ขนบธรรมเนียมท่ียึดถือในรัฐเนกรีเซมบีลันและบางส่วนของรัฐมะละกา ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 41

42

ผสู้ รา้ งขนมธรรมเนยี มประเพณนี ี้ คอื Datuk Nan Sebatang ซงึ่ เปน็ พน่ี อ้ ง ของ Datuk Ketumanggungan และความโดดเด่นของ Adat Minangkabau หรือ Adat perpatih คือ จะยึดถือทางฝ่ายมารดา (Matrilineal) หมายถึง อ�ำนาจต่างๆ และทรัพย์มรดกจะถูกสืบทอด จากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งทางสายเลือดของมารดา มรดกของชาว Minangkabau จะเป็นของบุตรสาว 1.1.8 โครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบสาธารณปู โภค มาเลเซียนับเป็นประเทศหน่ึงท่ีมีระบบสาธารณูปโภคดีท่ีสุด ของเอเชีย และมผี ลอย่างส�ำคัญต่อความส�ำเรจ็ ของการพฒั นาเศรษฐกจิ ในช่วงที่ผา่ นมา โครงสร้างพ้นื ฐานส�ำคญั ของมาเลเซยี สรปุ ได้ดงั น้ี [1] การคมนาคมทางบก ซ่ึงแบ่งออกเป็นการคมนาคมโดยทางถนน และการคมนาคมโดยทางรถไฟ การคมนาคมโดยทางถนน มาเลเซยี เปน็ ประเทศที่มีระบบโครงข่ายถนนทสี่ มบูรณแ์ ละกา้ วหนา้ ทส่ี ดุ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ในปี พ.ศ. 2552 มาเลเซยี มถี นนลาดยาง ความยาว 50,214.6 กิโลเมตร (รวมทางด่วน 1,471.6 กิโลเมตร) ถนนไมล่ าดยางความยาว 15,942 กโิ ลเมตร รวมระยะทางทง้ั สน้ิ 66,156.6 กิโลเมตร มีทางหลวงจากเหนือจรดใต้ จากชายแดนไทยถึงสิงคโปร์ เปน็ ระยะทาง 850 กโิ ลเมตร ถนนในมาเลเซยี ตะวนั ตกจะครบสมบรู ณก์ วา่ ระบบบริหารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 43

มาเลเซียตะวันออก ถนนในมาเลเซียตะวันตก สามารถแบง่ ได้ดังนี้ (1) ทางดว่ นแบ่งเป็นสองเส้นทางหลกั เสน้ ทางสายเหนือ-ใต้ มรี ะยะทางประมาณ 880 กิโลเมตร เริม่ จาก บูกิตกายฮู ิตมั ผา่ นจรี ากรุ ุน บตั เตอร์เวอร์ธ จกั กัตเยอรอ์ โิ ปห์ ตมั ยงุ มาลนิ กวั ลาลัมเปอรเ์ ซเรมปัน อาเยอรฮ์ ิตมั เชอไน ยะโฮรบ์ ารู เสน้ ทางสายตะวนั ออก–ตะวนั ตก มรี ะยะทางประมาณ 135 กโิ ลเมตร เริม่ จากเมืองกรกิ รฐั เปรคั ไปรัฐกลันตนั (2) ทางหลวงแผน่ ดนิ (Malaysian Federal Roads System) (3) ทางหลวงของรัฐตา่ งๆ (Malaysian National Roads System) การคมนาคมโดยทางรถไฟ ทางรถไฟในมาเลเซียตะวนั ตกมี 2 สายหลัก คือ (1) สายชายฝัง่ ทะเลตะวนั ตก สงิ คโปร์ ปาดงั เบซาร์ บัตเตอร์เวอร์ธ และชายแดนไทย (2) สายชายฝั่งทะเลตะวันออก เกมัส ในรัฐเนกรีเซมบิลัน และ ตุมปัส ในรัฐกลันตัน รถไฟนี้ยังมีสายย่อยๆ อีกหลายสาย เช่น สายระหวา่ งกวั ลาลมั เปอร์และท่าเรือ Klang ฯลฯ โครงข่ายรถไฟจะครอบคลุมทุกรัฐในส่วนของมาเลเซียตะวันตก ดว้ ยระยะทาง 1,699 กโิ ลเมตร ในสว่ นของมาเลเซียตะวนั ออกมีเฉพาะ ในรฐั ซาบาห์ โดยรัฐซาบาห์มที างรถไฟยาว 134 กโิ ลเมตร เช่อื มระหว่าง 44

เมอื ง Tanjung Aru เมือง Kinabalu และเมือง Tenom เป็นทางรถไฟ สายเดียวบนเกาะบอรเ์ นีย การคมนาคมทางน�้ำ รัฐบาลมาเลเซียได้พัฒนาการขนส่งทางน้�ำ และสร้างท่าเรือให้มี ประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้าทางเรือมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2543 ซ่ึงสามารถรองรับการขนส่งสินค้าทางเรือได้มากถึง 280 ล้านตัน และ ยงั มโี ครงการขยายทา่ เรอื อกี ในอนาคต ปจั จบุ นั มาเลเซยี มที า่ เรอื นานาชาติ ทั้งสิน้ 7 แหง่ ได้แก่ [1] 1. Port Klang 2. Port of Tanjung Pelepas 3. Kuantan Port ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 45

4. Penang Port 5. Johor Port 6. Kemaman Port 7. Bintulu Port ทา่ เรอื 6 แหง่ แรกอยู่ทีแ่ หลมมลายู มเี พยี ง Bintulu Port เทา่ น้ัน ท่ีอยู่บนเกาะบอร์เนียว ท้ังน้ี Port Klang และ Port of Tanjung Pelepas ได้รบั การยอมรบั ว่าเป็น 1 ใน 10 ของท่าเรือทีด่ ที ี่สุดในเอเชีย ส�ำหรบั รายละเอียดของท่าเรือท่สี �ำคญั มดี งั น้ี Port Klang เป็นท่าเรือส�ำคัญของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ตั้งอยู่กึ่งกลางชายฝั่งทางตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ปริมาณสินค้า ทขี่ นสง่ ผา่ นทา่ เรอื แหง่ นป้ี ระมาณ 4.5 ลา้ นตคู้ อนเทนเนอรข์ นาด 20 ฟตุ ซ่ึงมีน้�ำหนักบรรจุตู้ได้สูงสุดประมาณ 32-33.5 คิวบิกเมตร (CUM) 46

และน�้ำหนักบรรจุตู้ได้ไม่เกิน 21.7 ตัน หรือในภาษาธุรกิจเดินเรือ เรียกย่อๆ ว่า TEUs ต่อปี สูงเป็นอันดับ 11 ของโลก มีท่าเรือน้�ำลึก ท่ีสามารถรองรับเรือขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ได้ และเป็นจุดยุทธศาสตร์ ในการขนสง่ ทางทะเล เนอื่ งจากเปน็ ทา่ เรอื ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งชอ่ งแคบมะละกา (Malacca Straits) นอกจากนย้ี ังมี Free Commercial Zone (FCZ) ซึ่งเป็นเขตพิเศษส�ำหรับการลดหย่อนภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขนถ่ายสินค้าด้วยปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ เพราะเป็นท่าเรือ ทเ่ี ปน็ ทางผา่ นส�ำหรบั การเดนิ เรอื ขา้ มจากมหาสมทุ รอนิ เดยี ไปยงั มหาสมทุ ร แอตแลนตกิ รฐั บาลจึงพยายามผลกั ดันให้ Port Klang เป็นศูนยก์ ลาง ขนถ่ายสินคา้ ของประเทศและของภูมิภาค (Hub Port) Port of Tanjung Pelepas (PTP) อยู่ทางด้านตะวันออก ของปากแมน่ ้ำ� Pulai หรือทางตะวันตกเฉยี งใต้ของรฐั ยะโฮร์ ซ่ึงอย่ใู กล้ ประเทศสิงคโปร์ สามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ 2.5 ล้าน TEUs ต่อปี เป็นท่าเรือขนาดใหญ่อันดับท่ี 16 ของโลก รัฐบาลมีเป้าหมาย ส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางทะเลในระดับภูมิภาคและ ระดับโลก โดยมีสายการเดินเรือ เช่น Mearsk Sealand และ Evergreen Marine Corporation เข้ามาเป็นหุ้นส่วน และย้ายฐาน จากทา่ เรอื สงิ คโปรม์ าใชบ้ รกิ ารของทา่ เรอื แหง่ น้ี ซง่ึ มจี ดุ เดน่ เพราะตงั้ อยู่ ในชุมนุมของเส้นทางการเดินเรือหลักท่ีส�ำคัญ จัดสรรพ้ืนที่เป็นเขต อุตสาหกรรมและกระจายสินคา้ โดยมีระบบการเชอ่ื มตอ่ กบั ถนน รถไฟ ท่าอากาศยาน และการขนส่งทางนำ�้ ท่มี ีประสิทธภิ าพ Kuantan Port มีอีกช่ือหน่ึงว่า Kertih-Gebeng Corridor ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 47

เป็นท่าเรือด้านชายฝั่งตะวันออกของแหลมมลายู ใช้ส�ำหรับการขนส่ง ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี Bintulu Port เป็นท่าเรือนานาชาติแห่งเดียวบนเกาะบอร์เนียว และเป็นท่าเรือส�ำหรบั ขนส่งก๊าซธรรมชาตเิ หลวแห่งแรกของประเทศ การคมนาคมทางอากาศ มาเลเซยี มที า่ อากาศยานนานาชาตทิ ้งั หมด 5 แห่ง ไดแ้ ก่ 1. Kuala Lumpur International Airport อยู่ในรัฐสลังงอร์ บนแหลมมลายู 2. Penang International Airport อยบู่ นเกาะปนี ัง 48

3. Langkawi International Airport อย่บู นเกาะลังกาวี 4. Kota Kinabalu International Airport อยู่ในรัฐซาบาห์ บนเกาะบอรเ์ นียว 5. Kuching International Airport อยู่ในรัฐซาราวัค บนเกาะ บอรเ์ นยี ว ส�ำหรับท่าอากาศยาน Kuala Lumpur International Airport (KLIA) มีพ้ืนที่ 6.25 หมื่นไร่ (25,000 เอเคอร์) เป็นท่าอากาศยาน แห่งชาตทิ ใี่ หญท่ ี่สุดของมาเลเซีย อยบู่ ริเวณเซปงั ในรฐั สลงั งอร์ หา่ งจาก กัวลาลัมเปอร์ไปทางใต้ประมาณ 55 กิโลเมตร สามารถเดินทาง ด้วยรถยนต์บนทางหลวงพิเศษใช้เวลาไม่เกิน 1 ช่ัวโมง รัฐบาลมีแผน ให้ท่าอากาศยานแห่งน้ีสามารถขนส่งผู้โดยสารได้ปีละ 60 ล้านคน และขนส่งสนิ ค้าได้ 3 ลา้ นตันภายในปี พ.ศ. 2563 และมีแผนจะขยาย การขนส่งผ้โู ดยสารไดป้ ีละ 100 ลา้ นคน และขนสง่ สนิ ค้าได้ 6 ล้านตัน ในอนาคต นอกจากท่าอากาศยานนานาชาติแล้วยังมีท่าอากาศยาน ภายในประเทศอีก 16 แห่ง และสนามบินทางว่ิงสั้น (Stolport) อกี 18 แหง่ 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ ภาพรวมของระบบสาธารณสุขในมาเลเซียเป็นแบบพหุลักษณ์ (Pluralistic Health Care Systems) มแี หลง่ ทมี่ าของการเงินแบบผสม ทัง้ 4 แหล่ง คือ จากภาษโี ดยตรง (Direct Taxation) การประกันสงั คม ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook