Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พืชสมุนไพร

Description: พืชสมุนไพร

Search

Read the Text Version

สขุ สนั ต สทุ ธผิ ลไพบลู ย ในอดตี บรรพบรุ ษุ ของเรามคี วามสนใจใชพชื สมนุ ไพร เปน อาหารและยามานานนบั รอยป เชนเดียวกับประเทศอื่นๆ จึงมขี อ มลู เปนมรดกอันลา้ํ คา ตกทอดใหก บั นกั วจิ ยั สมยั ใหม ไดค นควาวิจยั กวางไกลย่งิ ขนึ้ ความรูพื้นฐานเพื่อการวิจัยพืชสมุนไพร อาจทําไดหลายแบบ เพอ่ื เปาหมายตา งๆ กัน ไดแก 1. รจู กั ลกั ษณะสรรี วทิ ยาของตน พชื ใบ ดอก เน้ือผล ราก เมล็ด อยา งครบ ทกุ ระบบ 2. รูจักการขยายพันธุแบบธรรมชาติและหาเทคนิคทันสมัยเพื่อเรงขยายพันธุ ดวย 3. รูจักลักษณะพื้นที่เหมาะสมเพื่อการปลูกใหเจริญเติบโตไดผลผลิตดีและมี คณุ ภาพตามตอ งการ 4. รจู กั คุณภาพทางชีวเคมขี องทุกๆ สว นของพชื สมนุ ไพร ซง่ึ ไดแ ก การรฤู ทธ์ิ เดนชัดของสารเปนยาที่มีอยูตามธรรมชาติในพืชน้ันๆเพราะสวนตางๆของ พชื อาจสะสมสารตา งชนดิ กนั และควรทราบวา สารออกฤทธเ์ิ ปน สารประเภท ใดเชน มสี ารเปน ยาสําหรับบาํ บดั อาการโรคใดฤทธอ์ิ อ นแรงอยา งไร มพี ษิ มากนอ ยเพยี งใด 5. รจู กั วธิ ปี รบั ปรงุ พชื สมนุ ไพรอยา งไรเพอ่ื การบรโิ ภคอยา งปลอดภยั การใชพืชสมุนไพรในยุคนี้ก็เพื่อประสงคใหประชาชนมีไวเสริมสุขภาพใหแข็งแรงอายุ ยนื นานโดยไมม ผี ลขา งเคยี งรวมทง้ั เพอ่ื การผลติ เปน สนิ คา พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ และ

ทดแทนการนาํ เขา ยาบางชนดิ ทีส่ ังเคราะหจากสารเคมี ซึ่งประกอบดว ย ดา นกสกิ รรมตอ งรู จักพืชสมุนไพรในเชงิ พฤกษศาสตรแ ขนงตางๆ เพื่อการเพาะปลูกผลิตใหไดปริมาณมากเพียง พอในเชิงพาณชิ ยนาํ มาซง่ึ อตุ สาหกรรมอาหารและยา ทางดา นเภสชั กรรมตอ งรจู กั ผลติ สาร ออกฤทธเ์ิ ปน ยาหรอื อาหารอนามยั เสรมิ สขุ ภาพ ขน้ั สดุ ทา ยการแพทยค วรสานตอ นาํ ไปใช ในการบาํ บดั โรคดา นสาธารณสขุ มลู ฐานของประชาชนทง้ั ในชนบทและในเมอื ง เทาที่ทราบพืชสมุนไพรมีจาํ นวนมากนบั หมน่ื ชนดิ แตต า งพนั ธอุ าจมคี ณุ สมบตั ขิ อง สารธรรมชาตอิ อกฤทธเ์ิ หมอื นกนั จงึ สามารถใชบ าํ บดั อาการโรคเดยี วกนั ได นกั วทิ ยาศาสตร ไดจ ดั พชื สมนุ ไพรตามชนดิ สารธรรมชาตอิ อกฤทธท์ิ ส่ี กดั ได รวมทั้งวิจัยคนควาบาํ บัดโรค และนาํ มาใชไดอ ยางเหมาะสม ดังการจัดหมวดหมูตอไปน้ี 1. ใชเ ปน ยาระบาย เชน ผักมะขามเปรี้ยว ใบฝกมะขามแขก วนุ วา นหางจระเข เนอ้ื เมลด็ คณู เมลด็ ชมุ เหด็ เทศ ฯลฯ 2. ใชเ ปน ยาแกท อ งอดื ขบั ลม เชน จุกเรว เหงา ขงิ ไหลวานนาํ้ ใบกะเพรา โหระพา ฯลฯ 3. ใชเ ปน ยาระงบั พษิ ภายนอก พษิ แมลงกดั ตอ ย พิษรอน เชน ใบเสลดพังพอน ตวั เมยี หวั หรอื ใบวา นมหากาฬ วุนวานหางจระเข ฯลฯ 4. เปนยาบาํ บัดโรคผวิ หนงั หรอื บาํ รงุ รกั ษาผวิ และผม เชน รากขมน้ิ ชนั วุนวาน หางจระเข วา นนางดาํ ฯลฯ 5. ใชท าถแู กบ วม เชน ไพล เอน็ เหลอื ง ฯลฯ 6. ใชบ รโิ ภคเพอ่ื เคลอื บกระเพาะสาํ หรบั ผปู ว ยโรคกระเพาะ เชน บุก ฯลฯ 7. ใชเ ปน ยาขบั ปส สาวะ เชน หญา หนวดแมว รากสามสิบ ฯลฯ 8. ใชเ ปน ยาฆา เชอ้ื เชน ใบพลูจีน หัวกระเทยี ม นา้ํ มนั กานพลู ฯลฯ 9. ใชเ ปน ยาแกท อ งเสยี เชน เปลือกมังคุด เนื้อผลดิบฝรั่ง ฯลฯ 10. ใชเปนยาลดความดันโลหิต เชน รากระทอ ม ฯลฯ นอกจากนย้ี งั มีพชื สมนุ ไพรทใี่ ชประโยชนไดอ กี มาก การศกึ ษาคน ควา พชื สมนุ ไพร แบง ออกได 2 แนวทางดวยกัน คอื ยุคเกา นิยมในความขลงั ของพืชซงึ่ เชอ่ื ถือตามศาสนา และมกี ารทดลองใชโ ดยอาศยั รปู รา งทม่ี คี วามคลา ยคลงึ กบั อวยั วะของมนษุ ยแ ละสตั ว เพื่อ นาํ มารักษาบาํ บดั โรคทเ่ี กดิ กบั อวยั วะนน้ั ๆ โดยอาศยั สถติ แิ บบงา ยๆ บางครั้งก็เปนการ เส่ียงแตไมไดยึดเปนหลักตายตัวเสมอไปซ่ึงเปนพื้นฐานการคนควาวิทยาการทางแพทยและ

เภสชั กรรมยคุ ตอ ๆ มา สว นยคุ ใหมป จ จบุ นั เปน ชว งความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรท ม่ี กี ฏ เกณฑทฤษฎีพิสูจนความถูกตองไดแมนยาํ ในเรื่องชนิดสารธรรมชาติในพืชนั้นๆ ปริมาณที่ สกดั ไดแ ละนํามาใชป รงุ แตง เปน ตําหรับยาแพทยแผนปจจุบัน หรือนักวิจัยบางกลุมมุงไปใน เรอ่ื งสารเคมใี นพชื ชนดิ ตา งๆ เพ่ือสรางอตุ สาหกรรมผลิตยาและอาหารเสริมสุขภาพจากพชื สมุนไพร ขณะนส้ี หรฐั อเมรกิ า ญี่ปุน อังกฤษ และอน่ื ๆ กําลงั ผลติ สารธรรมชาตสิ าํ คัญจาก พชื สมนุ ไพรโดยใชเ ทคนคิ การเพาะเนอ้ื เยอ่ื เพื่อเพิ่มปริมาณอยางรวดเร็ว และตดั ขน้ั ตอน ดา นการสงั เคราะห ในอนาคตตอ งใชว ทิ ยาการไปโอเทคโนโลยยี งั ตามไมท นั คงตอ งผลติ พชื สมุนไพรในรูปสินคาวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรปู ในระยะเริ่มวิจัยพัฒนานี้การปลูกพืชสมุนไพร จะตองคาํ นึงถึงชนิดท่ีสนองความตองการนําไปใชเปนยาบาํ บัดโรคนานาชนิดที่ฝายแพทย เภสชั คน ควา ไดผ ลดแี ลว รวมทั้งสงออกไปจําหนา ยยงั ตา งประเทศดว ย อตุ สาหกรรมทใ่ี ช พืชสมุนไพรเปนวัตถุดิบ ไดแ ก 1. อุตสาหกรรมการผลิตจากพืชเสนใยเพื่อสุขภาพบรรเทาอาการโรคเบาหวาน ผไู มอ ยากอว นเกนิ ความจาํ เปน และผทู ม่ี รี ะบบการระบายไมป กติ 2. อุตสาหกรรมการผลิตทดแทนสารเคมีเพ่ือใชในการปองกันกาํ จัดโรคแมลง ศตั รพู ชื เชน หางไหล วานนํา้ ขา สะเดา หนอนตายยาก ฯลฯ เพื่อชวย ลดมลภาวะจากสารเคมีทั้งในดินและนาํ้ 3. อตุ สาหกรรมสผี สมอาหาร ยา เครอ่ื งสําอาง 4. อตุ สาหกรรมนา้ํ มนั ปรงุ ยาทา ถู นวด 5. ผลติ ยาจําพวกทใ่ี ชป ฐมพยาบาลในชนบทหา งไกล เชน ยาหามเลือด เปนตน 6. ผลติ ตน ออ นสมนุ ไพรพนั ธดุ ขี าย เชนเดียวกับ จีน เกาหลี ที่นาํ เงินเขา ประเทศไดม าก ประเทศท่ีมีการวจิ ยั พชื สมนุ ไพรเพอ่ื อตุ สาหกรรมจนเปน ทย่ี อมรบั ทางดา นการใชท าง การแพทยแผนปจจุบัน อาทเิ ชน สหรฐั อเมรกิ า ญี่ปุน เยอรมัน อนิ เดยี จีน อังกฤษ ฝรั่งเศล อติ าลี ไตหวัน เกาหลีใต แคนนาดา รัสเซีย ฯลฯ ซึ่งได 3 กลมุ คอื ใช เทคโนโลยชี น้ั สงู ไดแก สหรฐั อเมรกิ ามคี วามกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรส งู สดุ ในโลกไดใ ช เทคโนโลยชี วี ภาพเพอ่ื ผลติ สารธรรมชาตอิ ยา งแพรห ลาย สาํ หรบั ทใ่ี ชเ ทคโนโลยที นั สมยั ได แก เยอรมนั ญี่ปุน ฝรั่งเศส สว นทไ่ี มม เี ทคโนโลยหี รอื ตอ งซอ้ื เทคโนโลยมี าผลติ ซง่ึ มไี ทย

รวมอยดู ว ย โดยมบี รษิ ทั ขา มชาตเิ ขา มาดาํ เนนิ การคา ยาแผนปจ จบุ นั ทผ่ี ลติ จากพชื หลาย ชนดิ เชน บริษัททาเคดะก็มีสวนพืชสมุนไพรอยูที่เกาะคิวชิวดวย บรษิ ทั นทั เตอรม านของ เยอรมนั มสี ํานักงานตัวแทนอยูที่ลพบุรี รับซื้อใบและฝกมะขามแขกเพื่อใชผลิตยาระบาย รวมท้งั รบั ซือ้ เมลด็ และเหงา ดองดงึ ดว ย บริษัทไทยซังเงียวของญี่ปุนมาปลูกและรับซื้อเปลา นอ ยทป่ี ระจวบครี ขี นั ธ เพื่อสงออกไปผลิตยารักษาโรคแผลในกระเพาะมีผูรายงานวา ญี่ปุน ไดสะสมพันธุพืชของไทยไวแลวมากกวา 600 ชนดิ ขณะน้ีนักวิจยั ทางการแพทยใน ประเทศดังกลาวขางตนตางกําลังคนควาวัชพืชท่ีข้ึนในเรือกสวนไรนาทางแถบเอเซียตะวัน ออกเฉยี งเหนอื และอฟั รกิ า สาํ หรับใชปองกันบาํ บดั โรคมะเรง็ และโรคเอดส ดงั นน้ั เปลา นอ ยพชื พน้ื บา นของเราเปน บทเรยี นทม่ี คี า ยง่ิ ทญ่ี ป่ี นุ ไปจดทะเบยี นสทิ ธบิ ตั รนานแลว นัก วจิ ยั ไทยพบวา เมลด็ มะระขน้ี ก ของเราสามารถบรรเทาอาการโรคเอดสท ําใหผ ปู ว ย เจรญิ อาหารสขุ ภาพดมี ชี วี ติ ยนื นานขน้ึ ทางราชการควรจะไดรีบเรงพิจารณาจดสิทธิบัตร ดว นเพือ่ ปองกันตางชาตเิ อาไปอีก นอกจากน้ีนักวิจยั นา จะไดเ ฝาระวงั ตดิ ตามตรวจสอบการ วจิ ยั พชื สมนุ ไพรและวชั พชื ทม่ี อี ยใู นตา งประเทศเพอ่ื ประโยชนข องประเทศชาตดิ ว ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook