Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชบุรี

Description: ราชบุรี

Search

Read the Text Version

ราชบรุ ี : เสน่ห์วฒั นธรรม งามล�ำ้ ขนุ เขาตะนาวศรี ค�ำน�ำ วถิ ีลุ่มนำ้�แมก่ ลอง หนงั สอื เรอื่ ง ราชบรุ ี : เสนห่ ว์ ฒั นธรรม งามลำ�้ ขนุ เขาตะนาวศรี หนงั สอื อา่ นเพม่ิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม วิถีลุ่มน้�ำแม่กลอง ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงาน ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดท�ำข้ึนเพื่อใช้เป็นหนังสืออ่าน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา © ลขิ สิทธิข์ องสำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พมิ พ์คร้ังแรก พ.ศ. ๒๕๕๖ หนังสือเล่มนี้ ให้ความรู้เกี่ยวกับจังหวัดราชบุรี เมืองแห่ง พิมพ์จำ�นวน ๓๗,๐๐๐ เล่ม ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญาท่ีเกิดจากการผสมผสานของ ISBN 978-616-317-348-5 ชนแปดชาติพันธุ์ที่ควรศึกษาและอนุรักษ์ ผลงานทางศิลปหัตถกรรม ผจู้ ัดพมิ พ ์ สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน อันงดงามและทรงคุณค่า ความเป็นศูนย์กลางตลาดสินค้าเกษตรและ กระทรวงศึกษาธิการ อาคาร สพฐ.๓ ถนนราชดำ�เนนิ นอก อตุ สาหกรรม รวบรวมแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ทางประวตั ศิ าสตร์ เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ และเชิงนิเวศน์ ที่มีช่ือเสียงและรู้จักกันอย่างแพร่หลายท้ังในประเทศ เวบ็ ไซต์ : http://academic.obec.go.th และต่างประเทศ เน้ือหาสาระในเล่มประกอบด้วย ล�ำน�ำเมืองราชบุรี พมิ พท์ ี ่ โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ราชบุรีดินแดนลุ่มน้�ำแม่กลองและขุนเขาตะนาวศรี ราชบุรีในอดีต ๒๒๔๙ ถนนลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวงั ทองหลาง ภาพเกา่ เลา่ เรอื่ ง ความหลากหลายชาตพิ นั ธใ์ุ นราชบรุ ี แหลง่ ภมู ปิ ญั ญา กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ คณุ คา่ คเู่ มอื งราชบรุ ี สสี นั งานศลิ ป์ ไหวพ้ ระเกา้ วดั ยลเยอื นเมอื งราชบรุ ี โทรศพั ท์ : ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๒๒, ๐ ๒๕๓๘ ๐๔๑๐ และนัดแนะชวนชมิ เจ้าถนิ่ พาไป โทรสาร : ๐ ๒๕๓๙ ๓๒๑๕ เว็บไซต์ : www.suksapan.or.th ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน หวังเป็นอยา่ งยง่ิ อเี มล : [email protected] ว่าหนังสอื เรอื่ ง ราชบรุ ี : เสน่ห์วฒั นธรรม งามล�้ำขนุ เขาตะนาวศรี [email protected] วถิ ลี มุ่ นำ�้ แมก่ ลอง เลม่ น้ี จะอ�ำนวยประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้ สรา้ งส�ำนกึ รักท้องถิ่น สร้างเสริมนิสัยรักการอ่าน จึงขอขอบคุณคณะผู้จัดท�ำ ข้อมูลทางบรรณานุกรม เรยี บเรยี ง และผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ทา่ นทใ่ี หข้ อ้ มลู ในการจดั ท�ำ ท�ำใหห้ นงั สอื สำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา เลม่ นส้ี �ำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดีมา ณ โอกาสนี้ ราชบรุ ี : เสนห่ ว์ ฒั นธรรม งามลำ้� ขนุ เขาตะนาวศรี วถิ ลี มุ่ นำ้� แมก่ ลอง/ ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, - - กรงุ เทพฯ : ส�ำนักวชิ าการและ (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) มาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน, ๒๕๕๖. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ๒๐๔ หนา้ . ภาพประกอบ ; ๓๐ ซม. ๑. ราชบุรี - - ประวตั ิศาสตร์ท้องถ่นิ ๒. ชื่อเร่ือง. ตุลาคม ๒๕๕๖ ๙๐๗ ประวัติศาสตรท์ อ้ งถนิ่ ส๖๙๑ร ISBN 978-616-317-348-5

สารบญั ๑ ✻ ลำ� น�ำเมืองราชบรุ ี ๑ ๒๗ ✻ ราชบุรี ดินแดนลุ่มน�้ำแม่กลอง ๔๓ ๓ และขุนเขาตะนาวศรี ๒๗ ๖F ๑ ✻ ราชบรุ ีในอดีต ✻ ภาพเกา่ เล่าเร่อื ง ๔๓ ✻ ความหลากหลายชาตพิ นั ธใ์ุ นราชบรุ ี ๖๑ หนง่ึ ในอตั ลกั ษณอ์ าเซยี น ✻ แหลง่ ภมู ปิ ัญญา คณุ ค่าคเู่ มืองราชบรุ ี ๗๑ ✻ สสี ันงานศิลป ์ ๑๓๗ ๗๑ ✻ จติ รกรรมไทยประเพณ ี ๙๓ ๓ ๙๓ ✻ หนงั ใหญ่วดั ขนอน ๙๔ ๑๑๗ ✻ ผา้ จกไท - ยวน ๑๐๗ ✻ โอ่งราชบรุ ี ๑๑๗ ✻ ภูมปิ ญั ญาไมด้ ดั ๑๒๖ F ๑๕๓ ✻ ไหว้พระเกา้ วดั ๑๒๙ ✻ ยลเยือนเมืองราชบรุ ี ๑๓๗ ✻ นัดแนะชวนชิม เจา้ ถนิ่ พาไป ๑๕๓ ๑๒๙ ๑๐๗ ๑๘๓ ๑๘๓ ๑๒๖

ล�ำนำ� เมืองราชบุรี ราชบรุ ีดินแดนประวตั ศิ าสตร ์ งามธรรมชาติขนุ เขาตะนาวศรี เยอื นตลาดน้ำ�ดำ�เนนิ เดนิ พกั ผอ่ น พนุ ำ�้ ร้อนแกง่ ส้มแมวแนวหนิ ผา งามลุ่มนำ้�แมก่ ลองสายนที ลำ�ภาชมี มี นตข์ ลังดัง่ ต�ำ นาน ถ้�ำ เขาบนิ มีหินงามตระการตา คา้ งคาวมาเปน็ รอ้ ยลา้ นสำ�ราญใจ ไทยภาคกลางเขมรยวนล้วนต้งั ม่นั แปดชาตพิ ันธเุ์ ชอ้ื สายผสมผสาน โอ่งมังกรลวดลายเดน่ เป็นเอกลักษณ์ มารู้จักชว่ ยฟนื้ ฟดู ูหนงั ใหญ่ ลาวโซ่งเวยี งกะเหร่ยี งจีนมอญโบราณ ตง้ั ถ่นิ ฐานบา้ นเมอื งรุ่งเรืองมา จปิ าถะภณั ฑส์ ถานรากเหงา้ ไทย รักษาไว้ไทยยวนมัน่ นริ นั ดร์กาล สมรภูมแิ ดนดินถนิ่ มีช่อื อดตี คือวรี กรรมความเก่งกล้า ซ่นิ ตนี จกมรดกที่สืบทอด ผลงานยอดอนรุ กั ษส์ มคั รสมาน ส้ขู ้าศึกมกิ ลัวตายวายชีวา ทพั พม่าแตกพา่ ยเป็นธลุ ี บา้ นร่งุ เรอื งเมอื งคนสวยรวยศีลทาน ร่วมสืบสานสร้างสรรคภ์ ูมิปัญญา ครัง้ สมเดจ็ พระปิยะมหาราช เสดจ็ ประพาสทรงงานสถานที่ ราชบุรแี ดนสยามนามลอื เลื่อง ศาลหลักเมืองหลวงพอ่ แก่นจนั ทน์ม่นั รกั ษา โปรดสร้างวัดเวียงวังสรา้ งเจดีย ์ โรงเรยี นมมี ากมายใหป้ ระชา พระสมี่ ุมเมืองเรืองฤทธค์ิ ้มุ พารา ปวงประชาสขุ มนสั สวัสดี

2 ค�ำขวัญจังหวัดราชบุรี คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโปง่ ราชบุรี เมอื งโอ่งมงั กร วดั ขนอนหนงั ใหญ่ ดินแดนลมุ่ น�้ำแมก่ ลอง ต่นื ใจถำ้� งาม ตลาดน�ำ้ ดำ� เนนิ เพลนิ ค้างคาวร้อยลา้ น ยา่ นยส่ี กปลาดี และขุนเขาตะนาวศรี ราชบรุ ีเปน็ จังหวัดทม่ี คี วามส�ำคัญจังหวัดหน่ึงของประเทศไทย เป็น จังหวัดที่เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรและการปศุสัตว์ ของประเทศ ทงั้ ยงั มคี วามสำ� คญั ในฐานะศนู ยก์ ลางในดา้ นพลงั งานของประเทศ ในปจั จุบัน เปน็ จังหวัดทมี่ ชี ่ือเสยี งเป็นท่ีรจู้ กั กันแพร่หลายในหมู่นักท่องเทย่ี ว ชาวไทยและชาวต่างประเทศ เน่ืองจากมีทตี่ ้ังไมห่ า่ งไกลจากกรงุ เทพมหานคร เมอื งหลวงของประเทศเทา่ ใดนกั เปน็ จงั หวดั ทม่ี คี วามโดดเดน่ ทางดา้ นกายภาพ และวัฒนธรรมท่ีผสมผสานเกิดเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลายแขนงจาก หลายกลุม่ ชาติพันธ์ุ ทำ� ให้เกดิ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเทย่ี ว เชงิ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรม และผลงานทางศลิ ปหตั ถกรรมอนั ทรงคณุ คา่ และงดงาม ชอื่ เสยี งของจงั หวดั ราชบรุ เี ปน็ ทเ่ี ลา่ ขานจนไดร้ บั การยอมรบั โดยทวั่ ไป วา่ เปน็ ถิ่นสาวงามของประเทศ ดงั ปรากฏในค�ำขวัญของจงั หวดั ว่า คนสวย โพธาราม คนงามบ้านโปง่ ซึ่งทง้ั สองถ่นิ คือ อำ� เภอโพธาราม และอำ� เภอ บ้านโปง่ ตา่ งเป็นยา่ นทมี่ ชี าวไทยเชื้อสายมอญอาศยั อยูเ่ ปน็ จ�ำนวนมาก แหลง่ หัตถกรรมของจังหวดั กม็ หี ลายประเภท เชน่ ผา้ ทอ ไมแ้ กะสลกั แตท่ ส่ี ร้าง ชื่อเสยี งใหจ้ ังหวัดราชบุรเี ป็น เมืองโอ่งมงั กร มาตัง้ แต่อดีตจนถึงปจั จุบัน คอื ภมู ิปัญญาชา่ งจนี ทเ่ี ขา้ มาต้ังถิ่นฐานในเมืองราชบุรมี าช้านาน และได้ริเริม่ ทำ� โอ่ง อา่ ง ไห กระปุก เร่ขายทว่ั ไป ความงดงามของลวดลายมังกร บนโอง่ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั ความนยิ มทว่ั ประเทศ วดั ขนอนหนงั ใหญ่ กถ็ อื เปน็ อกี หนงึ่ ภูมิปัญญาของช่างฝีมือชาวไทยในจังหวัดราชบุรีที่สืบสานงานหัตถกรรม หนงั ใหญ่ และการแสดงมหรสพท่ีเกา่ แกข่ องไทยให้คงอยูส่ ืบต่อจนถึงปจั จุบัน ความงดงามทางธรรมชาตติ ามทปี่ รากฎในสมญานามทว่ี า่ ดนิ แดน ลมุ่ นำ�้ แมก่ ลองและสายหมอกแหง่ ขนุ เขาตะนาวศรี ผนวกกบั วถิ ชี วี ติ ของชาว ราชบรุ ใี นอดตี จงึ ปรากฏโดดเดน่ ในคำ� ขวญั ประจำ� จงั หวดั ทว่ี า่ ดว้ ย ตน่ื ใจถำ้� งาม ตลาดนำ�้ ดำ� เนิน เพลนิ คา้ งคาวร้อยลา้ น ยา่ นย่ีสกปลาดี เรอ่ื งราวท่ีเลา่ ขาน ดังกล่าวล้วนเป็นผลมาจากธรรมชาติและความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของจังหวัดราชบุรี ที่เราควรได้เรียนรู้เพ่ือให้รู้จักความเป็นจังหวัดราชบุรี อยา่ งแทจ้ รงิ

4 5 สภาพภมู ิศาสตร์และธรณวี ิทยา แผนทแ่ี สดงกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวดั ราชบรุ ี ราชบุรีเปน็ ๑ ใน ๕ จงั หวดั ทต่ี ้ังอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย ตามการแบง่ ภมู ภิ าคทางภมู ศิ าสตร์ ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ เพชรบรุ ี ราชบรุ ี กาญจนบุรี และตาก นบั เป็นภมู ภิ าคทมี่ ีขนาดพืน้ ที่และ จำ� นวนจังหวดั นอ้ ยท่สี ดุ ของประเทศ แต่ถ้าหากแบง่ ตามเขตการปกครอง ของกระทรวงมหาดไทย จังหวดั ราชบุรีจะตั้งอยู่ในพ้ืนทีภ่ าคกลางทางด้าน ตะวนั ตกของประเทศ และหา่ งจากกรงุ เทพมหานครไปตามถนนสายเพชรเกษม หรอื ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข ๔ เป็นระยะทางประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร จังหวดั ราชบรุ ีตั้งอยู่ระหวา่ งละตจิ ูด ๑๓ องศา ๑๐ ลปิ ดาเหนือ ถงึ ๑๓ องศา ๔๕ ลปิ ดาเหนอื และระหวา่ งลองจจิ ูด ๙๙ องศา ๑๐ ลปิ ดา ตะวนั ออกถงึ ๑๐๐ องศา ๕ ลปิ ดาตะวนั ออก อาณาเขตติดตอ่ ตดิ ต่อกบั จงั หวดั กาญจนบรุ ี ติดต่อกบั จงั หวัดเพชรบรุ ี ทิศเหนือ ติดตอ่ กับ จงั หวัดนครปฐม จงั หวัดสมุทรสาคร ทศิ ใต ้ และจังหวัดสมทุ รสงคราม ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ประเทศเมยี นมาร์ โดยมีเทือกเขา ตะนาวศรีเป็นแนวพรมแดนระหว่างประเทศ ทศิ ตะวนั ตก แผนท่ีจังหวัดราชบุรี ตราประจำ� จังหวัดราชบรุ ี กลั ปพฤกษ์ ดอกไมป้ ระจ�ำจงั หวัด ตน้ โมกมัน ต้นไมป้ ระจ�ำจงั หวัด บรรยากาศยามเชา้ ของสะพานจุฬาลงกรณ์

6 7 ๓. ที่ราบลุ่มแมน่ ้ำ� อย่ใู นบรเิ วณพน้ื ท่ีสองฝั่งแม่นำ�้ แม่กลอง และ ลักษณะภูมิประเทศ ด้านตะวนั ออกของจงั หวดั สภาพพ้นื ท่เี ป็นดนิ ร่วน และดินร่วนปนดินเหนยี ว ซ่ึงเกดิ จากการสะสมของตะกอนดิน กรวด ทรายละเอยี ด และดนิ เหนียว ภูมิประเทศของจังหวัดราชบุรีทางด้านตะวันตกเป็นเทือกเขาสูง ตลอดแนวริมฝั่งแม่น�้ำแม่กลองจึงมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ลักษณะโดยทั่วไปจะเป็นทส่ี ูงทางตะวนั ตกและค่อยๆ ลดระดับลงมาจนถงึ หรือประกอบเกษตรกรรมอ่ืนๆ ตอนกลางของจงั หวัด เปน็ ท่รี าบสงู เนินเขา และภูเขาโดด พ้ืนท่ีประมาณ ๔. ทร่ี าบลมุ่ ตำ่� อยใู่ นบรเิ วณตอนปลายของแมน่ ำ้� แมก่ ลองทเ่ี ชอ่ื มตอ่ รอ้ ยละ ๔๐ ของพื้นท่จี งั หวดั ส่วนท่ีเหลือประมาณร้อยละ ๖๐ เป็นพน้ื ทรี่ าบ กบั จงั หวดั สมทุ รสงคราม พน้ื ทสี่ ว่ นใหญไ่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากนำ้� ทะเลหนนุ ทเี่ ขา้ มา ไดแ้ ก่ ทรี่ าบเชิงเขา ทีร่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� และทร่ี าบลุ่มต�่ำ หรือทีร่ าบน้ำ� ท่วมถงึ ทางปากแมน่ ำ�้ แมก่ ลอง คลองดำ� เนนิ สะดวก และแมน่ ำ�้ ออ้ ม ทำ� ใหม้ นี ำ้� ขน้ึ ลง ส่วนมากอยูท่ างตะวันออกและด้านเหนอื ของจงั หวดั ตลอดปี สภาพพนื้ ทเ่ี ปน็ ทร่ี าบตำ่� ทน่ี ำ้� ทว่ มถงึ ตามแนวลำ� คคู ลองซงึ่ เชอ่ื มโยงกนั สภาพภมู ิประเทศแบง่ ออกเป็น ๔ ลักษณะ คอื กวา่ ๒๐๐ คลอง ท�ำให้เกิดการทับถมของโคลนตะกอน สง่ ผลให้ดนิ มีความ ๑. พื้นทภี่ เู ขาสงู เปน็ บรเิ วณดา้ นตะวันตกตดิ กับประเทศเมียนมาร์ อุดมสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารท�ำสวนผักและผลไม้ และทางดา้ นใตต้ ดิ ตอ่ กบั จงั หวดั เพชรบรุ ี โดยมเี ทอื กเขาตะนาวศรี และภเู ขาโดด วางตัวสลบั ซบั ซ้อน ต้ังอยู่เรียงรายในจังหวดั เช่น เขาเขยี ว เขาหลวง ทิวทศั นบ์ รเิ วณเทอื กเขาตะนาวศรี เขาชอ่ งพราน เขางู เขาหนิ ลบั เขาทะลุ เขาบิน พื้นทภ่ี ูเขาสว่ นใหญ่เปน็ ปา่ ในเขตอ�ำเภอสวนผง้ึ จงั หวัดราชบรุ ี เชน่ ป่าเบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั และป่าไผ่ ซงึ่ อนุรักษไ์ ว้เป็นเขตรกั ษาพันธ์ุ สตั วป์ า่ บางสว่ นเปน็ เขตพน้ื ทป่ี า่ เพอื่ เศรษฐกจิ และเขตพน้ื ทปี่ า่ เพอื่ การอนรุ กั ษ์ ลกั ษณะภมู ิอากาศ บรเิ วณทรี่ าบลมุ่ ในจงั หวัดราชบรุ ี ลักษณะหินท่พี บในจังหวดั ราชบุรีมหี ลายชนิด ประกอบดว้ ย หนิ ตะกอน หินแปร และหินอัคนี ซึ่งมีซากสัตว์ดกึ ด�ำบรรพ์จ�ำพวกสัตว์ทะเล การเพาะปลกู ในบรเิ วณที่ราบเชงิ เขา ภมู อิ ากาศจงั หวดั ราชบรุ อี ยใู่ นเขตรอ้ นชน้ื มอี ณุ หภมู ริ ะหวา่ ง ๑๓-๓๘ ที่มีอายหุ ลายล้านปีปะปนอย่ใู นกลมุ่ หินด้วย องศาเซลเซยี ส และอยใู่ นเขตทไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตท้ พี่ ดั จาก ๒. พ้นื ทร่ี าบสูง เป็นบรเิ วณที่ถัดจากเทอื กเขาที่ลาดตำ่� ลงมาทาง มหาสมุทรอนิ เดยี นำ� ความช่มุ ช้นื เข้าสู่จงั หวดั ทำ� ใหม้ ฝี นตกในระหว่างเดอื น ดา้ นตะวันออกจนถึงตอนกลางของพน้ื ท่ีจงั หวดั มีลักษณะเป็นที่ราบสงู และ พฤษภาคมถงึ เดอื นตลุ าคม แตเ่ นอ่ื งจากมเี ทอื กเขาตะนาวศรขี วางกนั้ ทศิ ทางลม ทเี่ นนิ ลาด มแี มน่ ำ�้ ภาชแี ละลำ� หว้ ยสาขาเปน็ แมน่ ำ�้ สายหลกั สภาพพน้ื ทเี่ ปน็ ดนิ จงึ ทำ� ให้พน้ื ท่บี างสว่ นได้รับลมมรสมุ ไมเ่ ตม็ ที่ โดยเฉพาะพื้นทท่ี ่ีอยู่ติดกับ ปนทรายซงึ่ เกดิ จากการกดั เซาะและการพงั ทลายของหนา้ ดนิ ตามบรเิ วณเชงิ เขา เทอื กเขาตะนาวศรี ทางดา้ นตะวนั ตกของจงั หวดั จะเปน็ พนื้ ทอ่ี บั ฝน คอื มปี รมิ าณ พนื้ ทร่ี าบสงู สว่ นใหญเ่ ปน็ เขตปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอ่ื การเกษตร บางสว่ น ฝนน้อย เพราะส่วนใหญ่ฝนจะถกู พดั เลยไปตกในแถบลุ่มแมน่ �้ำแม่กลอง และ เปน็ เขตพ้นื ท่ปี ่าเพอื่ การอนุรักษ์ และพนื้ ทป่ี า่ เพอื่ เศรษฐกจิ แควนอ้ ยใหญท่ างดา้ นตะวนั ออกของจังหวัด โดยฝนจะตกหนกั ในชว่ งเดือน มถิ ุนายนถงึ กรกฎาคม ฤดหู นาวจะเรม่ิ ตงั้ แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายนถงึ มกราคม ซง่ึ ในพน้ื ทบ่ี รเิ วณ เชงิ เขาหรอื หบุ เขาโดยเฉพาะอำ� เภอสวนผง้ึ และอำ� เภอบา้ นคาจะมอี ากาศหนาว สำ� หรับฤดรู อ้ นจะอย่ใู นชว่ งเดอื นกุมภาพันธถ์ ึงเมษายน อุณหภมู จิ ะสงู กวา่ ๓๐ องศาเซลเซียส

8 9 นอกจากแหลง่ นำ้� ธรรมชาตแิ ลว้ จงั หวดั ราชบรุ ยี งั มคี ลองทข่ี ดุ ขน้ึ เพอ่ื ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคมและชลประทานอกี หลายแหง่ ไดแ้ ก่ ๑. คลองด�ำเนนิ สะดวก เปน็ คลองทข่ี ุดเช่อื มระหว่างแม่น�้ำท่าจีน แหลง่ นำ้� ทิวทศั นแ์ มน่ ้�ำแมก่ ลอง บริเวณหน้าอ�ำเภอเมอื งราชบุรี คลองด�ำเนินสะดวก เส้นทางคมนาคม กับแม่น�้ำแม่กลองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑. แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง เปน็ แมน่ ำ�้ สายหลกั ของจงั หวดั ราชบรุ ี มตี น้ กำ� เนดิ หว้ ยบ้านคา อำ� เภอสวนผึง้ แหล่งนำ�้ ส�ำคัญของหมูบ่ ้าน ของชาวราชบุรี รชั กาลที่ ๔ แหง่ กรงุ รัตนโกสินทร์ เมอ่ื ราว พ.ศ. ๒๔๐๙-๒๔๑๑ เพอ่ื เปน็ จากแม่น้ำ� แควนอ้ ยหรอื แมน่ ำ�้ ไทรโยค และแม่น�้ำแควใหญ่หรอื แมน่ ้ำ� ศรสี วสั ด์ิ เสน้ ทางคมนาคมและสง่ เสรมิ การเพาะปลกู โดยเรม่ิ จากอำ� เภอบา้ นแพว้ จงั หวดั ทไ่ี หลมารวมกนั ในจงั หวดั กาญจนบรุ ี กลายเปน็ ลำ� นำ�้ ใหญเ่ รยี กวา่ แมน่ ำ้� แมก่ ลอง สมุทรสาคร ผา่ นอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวดั ราชบุรี ไปบรรจบกบั แม่น้ำ� ไหลเข้าสู่จังหวดั ราชบุรใี นทอ้ งทอี่ �ำเภอบ้านโป่ง ไหลคดเคย้ี วจากเหนอื ลงใต้ แม่กลองท่ีอำ� เภอบางคนที จังหวดั สมทุ รสงคราม มีความยาวตลอดล�ำคลอง ผา่ นอำ� เภอโพธาราม อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอวดั เพลง และอำ� เภอดำ� เนนิ สะดวก ๓๕ กโิ ลเมตร ต่อมาในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั แลว้ ไหลเขา้ เขตอำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม ไปออกอา่ วไทย ความยาว รชั กาลที่ ๕ ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ขุดซ่อมคลองด�ำเนนิ สะดวก ของแมน่ �้ำแมก่ ลองตลอดทัง้ สายประมาณ ๑๓๐ กโิ ลเมตร ชว่ งทผ่ี า่ นจังหวดั ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๔๖-๒๔๔๗ โดยใช้แรงงานชาวจนี พร้อมทงั้ สรา้ งประตู ราชบรุ ยี าวประมาณ ๖๗ กโิ ลเมตร บรเิ วณสองฝง่ั ของแมน่ ำ�้ แมก่ ลองมลี กั ษณะ ระบายนำ้� ระหว่างแม่น้ำ� ทง้ั สองเพอื่ ปิดและเปดิ ในเวลานำ้� ลงและน้�ำขน้ึ คลอง เปน็ ที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ ดินมคี วามอดุ มสมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูกพชื ดำ� เนนิ สะดวกไดส้ รา้ งประโยชน์ทางด้านการคมนาคม การเกษตร เปน็ แหล่ง ผกั ผลไม้ และพชื เศรษฐกจิ นานาชนดิ ประชาชนในจงั หวดั ราชบรุ ไี ดร้ บั ประโยชน์ คา้ ขาย “ตลาดน้ำ� ” แหล่งทอ่ งเทยี่ วทีล่ อื ชอ่ื ใหแ้ กช่ าวอำ� เภอดำ� เนินสะดวก จากแมน่ ้�ำแมก่ ลองหลายดา้ น ทั้งการบรโิ ภค อุปโภค การเพาะปลกู การ และจังหวดั ราชบุรีตั้งแต่นน้ั มาจนถงึ ปัจจุบัน คมนาคม การประมงนำ้� จดื และการอตุ สาหกรรม ๒. แหลง่ นำ้� ชลประทาน พนื้ ทใ่ี นเขตจงั หวดั ราชบรุ เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของ ในอดตี แมน่ ำ�้ แมก่ ลองมหี าดทรายกวา้ งใหญ่ ในหนา้ แลง้ จะมกี าร โครงการชลประทานแมน่ ำ�้ แม่กลอง ซึง่ รบั น�ำ้ จากเขือ่ นวชริ าลงกรณ์ จังหวัด จดั งานหาดทรายโพธารามซง่ึ จะมผี คู้ นมาเทย่ี วกนั มากมาย ทรายในแมน่ ำ้� แมก่ ลอง กาญจนบรุ ี ระบบชลประทานมคี ลองส่งน�ำ้ ครอบคลมุ พื้นทีฝ่ ง่ั ซา้ ยของแมน่ �ำ้ เปน็ ทรายทม่ี คี ณุ ภาพดเี หมาะสำ� หรบั การกอ่ สรา้ ง เปน็ เหตใุ หห้ าดทรายสญู หาย แมก่ ลอง นบั แตค่ ลองดำ� เนนิ สะดวกขน้ึ ไป ไดแ้ ก่ พน้ื ทอี่ ำ� เภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอ ไปแลว้ ในปจั จบุ นั เพราะทรายถกู ดดู ไปจนหมด เหลอื เพยี งตำ� นานทเี่ ลา่ ขานกนั ด�ำเนนิ สะดวก อำ� เภอโพธาราม อำ� เภอบางแพ และอำ� เภอบา้ นโปง่ รวมพื้นที่ สบื ต่อมาเท่านน้ั ประมาณ ๕๒๑,๑๘๐ ไร่ และพนื้ ทฝี่ ่ังขวาของแม่น้�ำแม่กลอง ได้แก่ พ้นื ท่ี ๒. แม่น�้ำภาชี เปน็ แม่นำ้� สายส�ำคญั ซ่ึงมีแหล่งตน้ น�้ำจากเทอื กเขา ในเขตอำ� เภอบา้ นโปง่ อ�ำเภอโพธาราม อ�ำเภอเมอื งราชบุรี อำ� เภอวดั เพลง ตะนาวศรี ประกอบดว้ ยลำ� ธารหลายสาย ทำ� ใหเ้ กดิ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วตามธรรมชาติ และอำ� เภอปากทอ่ รวมพ้ืนทปี่ ระมาณ ๓๔๗,๒๐๐ ไร่ หลายแหง่ เชน่ แกง่ สม้ แมว นำ้� ตกเกา้ โจน และธารนำ�้ รอ้ นบอ่ คลงึ ไหลรวมกนั สว่ นพื้นท่ีนอกเขตชลประทาน กรมชลประทานได้พัฒนาแหลง่ น�้ำ เปน็ แมน่ ำ้� ภาชใี นเขตอำ� เภอบา้ นคา หลอ่ เลย้ี งพน้ื ทใ่ี นอำ� เภอสวนผง้ึ และอำ� เภอ เปน็ อา่ งเกบ็ นำ�้ ฝายทดนำ้� สระเกบ็ นำ�้ กระจายอยทู่ ว่ั ไป รวมทงั้ คลอง หนอง บงึ จอมบงึ ไปบรรจบกบั ลำ� นำ้� แควนอ้ ยทอี่ ำ� เภอเมอื งกาญจนบรุ ี และไหลไปรวม เพอื่ ให้ราษฎรใชน้ �ำ้ ส�ำหรบั การอุปโภค บริโภค และการเกษตรไดท้ ว่ั ถงึ กบั ล�ำน�ำ้ แควใหญก่ ลายเป็นแม่น้ำ� แม่กลอง แมน่ ้ำ� ภาชีเต็มไปด้วยแก่งหินและ มคี วามคดเคีย้ วจึงไม่สามารถใชเ้ ป็นเส้นทางคมนาคม แตไ่ ดก้ อ่ ประโยชนท์ าง ดา้ นการเพาะปลูก การเลย้ี งสัตว์ และการอุปโภคบรโิ ภคแกป่ ระชาชนท่ีตง้ั ถ่ินฐานอยู่สองฝั่งน้ำ� นน้ั ๓. หว้ ยแมป่ ระจนั เปน็ แหลง่ นำ้� สำ� คญั ของหมบู่ า้ นไทยประจนั อำ� เภอ ปากทอ่ ตน้ น้�ำเกดิ จากเขายืดในเทือกเขาตะนาวศรี ไหลลงสู่แมน่ ำ้� ภาชแี ละ แม่น้�ำเพชรบรุ ี ๔. หว้ ยท่ามะเกลือ เปน็ แหล่งน�ำ้ ในเขตท้องทท่ี ่ีตดิ ต่อระหว่างเมือง ราชบรุ กี ับอำ� เภอปากทอ่

10 11 ปา่ ไมแ้ ละสัตวป์ ่า ในอดีตราชบุรีเคยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิดท่ีอาศัยตาม ราชบุรีเคยเป็นจังหวัดทม่ี ีพืน้ ท่ปี ่าไม้จำ� นวนมากประมาณ ๓ ลา้ น ป่าโปรง่ และปา่ ดบิ ในบริเวณเทือกเขาตะนาวศรีและเขาโดดอ่นื ๆ เชน่ เสือ ไร่เศษ หรอื ๕,๑๙๖,๔๖๒ ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมแถบตะวนั ตกตง้ั แต่ กวาง กระทิง กระซู่ ช้าง ไก่ฟ้า ปจั จุบันสตั วป์ ่าลดน้อยลงมาก เน่อื งจากมี อ�ำเภอจอมบึงถึงอำ� เภอสวนผง้ึ จดชายแดนตอ่ เนอื่ งกบั พ้ืนท่ปี ่าของประเทศ การล่าสัตว์จนเกือบสูญพันธุ์จนต้องมีการควบคุมและขยายพันธุ์สัตว์โดย เมียนมาร์ และถัดลงมาทางใต้ในเขตอ�ำเภอปากทอ่ เช่ือมต่อกับป่าไมใ้ นเขต จดั ตัง้ เปน็ เขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ เขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตวป์ ่า และศูนย์เพาะเลีย้ งและ จงั หวดั เพชรบรุ ี อุดมสมบรู ณด์ ้วยไม้ไผ่ ไม้ชงิ ชัน ประดู่ แดง ตะเคยี น ขยายพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ สตั วธ์ รรมชาตใิ นจงั หวดั ราชบรุ ที ไ่ี ดร้ บั การอนรุ กั ษแ์ ละสรา้ ง มะเกลอื ตะแบก เตง็ รัง แตต่ ลอดระยะเวลา ๔๐ ปีทผ่ี ่านมาพ้ืนท่ีป่าไมไ้ ด้ถกู ปรากฏการณท์ ตี่ ื่นตาตื่นใจตอ่ ผ้ทู ่พี บเหน็ คอื ค้างคาวทีเ่ ขาชอ่ งพราน อ�ำเภอ บกุ รกุ ทำ� ไร่เล่ือนลอย มกี ารลกั ลอบตัดไมเ้ พ่ือสร้างบา้ นเรอื นและทำ� การคา้ โพธาราม รวมทั้งความตอ้ งการท่ีดินเพอ่ื การเกษตรและทอี่ ยอู่ าศัย ทำ� ให้ปัจจุบันเหลอื ส่วนสัตว์น�้ำหลายชนิดที่อาศัยอยู่ในแม่น้�ำล�ำคลองตามธรรมชาติ พน้ื ทป่ี า่ รอ้ ยละ ๓๓.๗๙ ของพน้ื ทจี่ ังหวดั หรือประมาณ ๑,๗๕๕,๗๙๐ ตาราง ทงั้ ปลา กงุ้ แมน่ ำ�้ ปจั จบุ นั กม็ จี ำ� นวนลดนอ้ ยลงเชน่ กนั โดยเฉพาะปลาทม่ี ชี อ่ื เสยี ง กิโลเมตร ซ่งึ ยงั คงมปี ัญหาการบุกรกุ ทำ� ลายป่าเพมิ่ เตมิ รวมท้ังการขายสิทธิ และรจู้ กั กนั ดใี นจงั หวดั ราชบรุ ี คอื ปลายส่ี ก เปน็ ปลานำ�้ จดื ทมี่ ลี ำ� ตวั ยาวเพรยี ว ในท่ดี นิ ทำ� กนิ ซึง่ ทางราชการออกให้ ท�ำใหพ้ น้ื ท่ปี า่ ยงั คงลดลงตอ่ เน่ืองเป็น แบนข้าง มหี นวดสน้ั ที่มุมปากขา้ งละ ๑ เส้น มีแถบสดี ำ� พาดวางตามยาว ปญั หาดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ท่ีจงั หวัดราชบรุ อี ยู่ระหวา่ ง บนลำ� ตัว ๗-๘ แถบ ขนาดของปลาย่ีสกยาวกวา่ ๙๐ เซนตเิ มตร หรอื เกือบ ด�ำเนนิ การแกไ้ ขเพมิ่ พ้ืนทีป่ า่ ไม้ และรกั ษาปา่ ตน้ น�้ำลำ� ธารและป่าชุมชน ๑ เมตร ชอบอาศัยอย่ตู ามแม่นำ้� ที่พื้นเป็นกรวดทรายในบริเวณทมี่ นี ้ำ� ไหลวน ปจั จบุ นั พนื้ ทป่ี า่ ไมจ้ งั หวดั ราชบรุ ปี ระกอบดว้ ย พนื้ ทป่ี า่ สงวนแหง่ ชาติ พบวา่ เคยอาศัยอยู่ในแม่น�ำ้ เจา้ พระยา แม่กลอง แควน้อย-แควใหญ่ และ จำ� นวน ๗ แห่งในท้องท่อี ำ� เภอราชบุรี อ�ำเภอบ้านโป่ง อำ� เภอโพธาราม แม่น�้ำป่าสักในภาคกลาง ส่วนภาคเหนือพบในแม่นำ�้ น่าน จังหวัดอุตรดติ ถ์ อ�ำเภอสวนผึ้ง อ�ำเภอจอมบงึ และอำ� เภอปากท่อ เขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ า่ ใน และแมน่ ้�ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท้องที่อำ� เภอสวนผึ้ง เขตวนอทุ ยาน ในเขตท้องทีอ่ ำ� เภอจอมบึง และอำ� เภอ ในอดตี เมอ่ื ราว ๑๐ ปที แี่ ลว้ แมน่ ำ�้ แมก่ ลองในจงั หวดั ราชบรุ เี ปน็ แหลง่ โพธาราม ปา่ ไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ในท้องที่อำ� เภอโพธาราม อำ� เภอ ทมี่ ปี ลายสี่ กมากทส่ี ดุ ในประเทศ แตเ่ มอื่ แมน่ ำ�้ แมก่ ลองเสอ่ื มโทรมลงอนั เปน็ ผล จอมบงึ และอ�ำเภอสวนผึ้ง และพ้นื ที่การปลกู ป่าชุมชนและป่าเศรษฐกจิ ใน มาจากการทำ� ลายธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ทงั้ การสรา้ งเขอื่ น การสร้างถนน การ ท้องท่อี �ำเภอเมืองราชบรุ ี อำ� เภอจอมบึง และอำ� เภอสวนผง้ึ ปลอ่ ยนำ�้ เสยี ลงในแมน่ ำ�้ ตลอดจนความนยิ มบรโิ ภคปลายสี่ กทม่ี จี ำ� นวนสงู มาก ในแตล่ ะปี สง่ ผลใหป้ ลายส่ี กทเ่ี คยมใี นแมน่ ำ�้ แมก่ ลองลดลงจนแทบหาไมไ่ ดแ้ ลว้ ตารางที่ ๑ แสดงพื้นทป่ี า่ ไมใ้ นจงั หวัดราชบุรี ในปัจจบุ ัน ลำ� ดับท่ี ประเภทป่าไม้ พน้ื ทีป่ า่ ไม้ (ตร.กม.) แรแ่ ละแหล่งแร่ ราชบุรีมีทรัพยากรแร่ส�ำคญั หลายชนิดซง่ึ เปน็ ผลมาจากลักษณะทาง ๑ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ๑,๘๖๔.๙๕ กายภาพท่โี ดดเดน่ ของจงั หวดั ราชบรุ ี คือ เทือกเขาตะนาวศรี และภูเขาโดด จำ� นวนมากทมี่ โี ครงสรา้ งเปน็ หนิ แกรนติ หนิ ปนู หนิ ควอรต์ ทำ� ใหเ้ กดิ แหลง่ แร่ ๒ เขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่า ๔๘๙.๓๑ หลายชนดิ ซง่ึ เปน็ รากฐานเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ราชบรุ มี าตง้ั แตอ่ ดตี ในปจั จบุ นั จะหลงเหลอื แหล่งแร่เพียงบางชนิดเท่านั้น แร่สำ� คัญได้แก่ ๓ พ้นื ท่ีการปลกู ปา่ ชุมชนและป่าเศรษฐกิจ ๒๓๘.๕๒ ปลายีส่ ก ๔ ปา่ ไมถ้ าวรตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ๑๑๗.๘๑ หนงึ่ ในคำ� ขวัญเมืองราชบรุ ี “ย่านย่สี กปลาดี” ๕ วนอุทยาน ๔.๘๐ รวม ๒,๗๑๕.๓๙ ทม่ี า: สำ� นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. ๒๕๕๑

12 13 เทือกเขาตะนาวศรี เป็นภเู ขาทมี่ ีความลาดชนั สงู ผลติ ใหม่ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๒ ปจั จบุ นั เลกิ การผลติ แลว้ เช่นกัน วางตัวทอดยาวในแนวเหนือ-ใต้ต่อเน่อื งจาก แรค่ วอตซ์ เป็นแรท่ ่ใี ช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น จังหวดั กาญจนบรุ ี เปน็ แนวเขตแดนกั้นระหว่าง อุตสาหกรรมผลติ แกว้ เครอ่ื งป้นั ดินเผา ทำ� วัสดุขัดสี เชน่ กระดาษทราย ประเทศไทยกบั ประเทศเมยี นมาร์ เขา้ เขต ทำ� เครือ่ งมอื วิทยาศาสตร์ และเครอ่ื งมือทางแสง เช่น ปริซึม เลนส์ อปุ กรณ์ อำ� เภอสวนผงึ้ อ�ำเภอบา้ นคา และบางสว่ นของ ในกล้องจลุ ทรรศน์ ทำ� เครอ่ื งประดับ ใชเ้ ปน็ ผลึกในเครือ่ งวทิ ยรุ ับ-สง่ และ อำ� เภอปากท่อ และตอ่ เน่อื งลงมาถึงในเขต นาฬิกาควอตซ์ แหล่งแรค่ วอตซม์ กั พบร่วมกบั แรเ่ ฟลดส์ ปารใ์ นหินแกรนิต จังหวัดเพชรบรุ ี จุดสงู สดุ ในเทือกเขาตะนาวศรี บริเวณเขตอ�ำเภอบ้านคาและอ�ำเภอปากท่อ ปัจจุบนั ไดม้ ีการนำ� แร่ควอตซ์ อยใู่ นเทอื กเขาบลี อ็ กตอง (Bilauktaung) มาใชใ้ นการผลติ พลงั งานไฟฟา้ แสงอาทติ ยเ์ พอ่ื เปน็ แหลง่ พลงั งานทางเลอื กใหม่ อ�ำเภอสวนผ้งึ จงั หวัดราชบุรี สงู ราว ๒,๒๓๑ เมตร ทเ่ี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมให้กบั ประเทศไทย โดยแหลง่ แรค่ วอตซ์ท่ีใหญท่ ่ีสดุ เทอื กเขาตะนาวศรีส่วนใหญเ่ ป็นหินแกรนิต ของประเทศอยู่ทจี่ งั หวัดราชบรุ ี ซึ่งได้แปรสภาพเปน็ แร่สำ� คญั หลายชนิด แรเ่ ฟลด์สปาร์ เป็นแร่เศรษฐกจิ ท่ใี ช้ในอตุ สาหกรรมเคร่ืองปั้นดนิ เผา ซงึ่ ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมทง้ั ในเนอ้ื ดนิ สำ� หรบั การปน้ั ขนึ้ รปู และใชผ้ สมในนำ�้ ยาเคลอื บ แร่ดบี ุก เป็นแรท่ ใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นการฉาบแผน่ เหล็กสำ� หรบั ทำ� ภาชนะ ในอดีตสถานทแ่ี หง่ น้เี คยเปน็ เหมืองแร่ ชนดิ ขาว รวมทงั้ ใชเ้ ป็นตัวเคลือบเคร่อื งลายคราม และเคร่ืองสขุ ภณั ฑใ์ ห้เกดิ บรรจอุ าหาร นม ผกั และทำ� โลหะบดั กรี โลหะตวั พมิ พ์ แรด่ บี ุกสว่ นใหญ่ ความมนั เป็นเงางามและใชใ้ นอุตสาหกรรมแก้ว แหล่งแรเ่ ฟลดส์ ปาร์พบใน พบบรเิ วณเทือกเขาตะนาวศรีในเขตอำ� เภอสวนผงึ้ มกั สะสมตวั อย่ตู ามรอ่ งน�ำ้ หนิ แกรนิตในเขตอำ� เภอบา้ นคา และอ�ำเภอสวนผึง้ ปจั จบุ ันการผลิตแร่ ทีไ่ หลผา่ นเทอื กเขาแกรนิตและแอง่ เขา เชน่ บริเวณเทอื กเขาลันดาซึง่ เป็น เฟลดส์ ปาร์ยงั คงดำ� เนินการอยู่ โดยมีการศึกษาวจิ ยั เพอื่ ใหน้ ำ� ไปใช้ประโยชน์ สาขาหนงึ่ ของเทือกเขาตะนาวศรี บริเวณระหวา่ งเขาลกู ช้างกับเขาปลาไหล ในการพฒั นาอตุ สาหกรรมเซรามกิ และอุตสาหกรรมอ่นื ๆ ของประเทศไทยให้ ทางตะวนั ตกของเทอื กเขากลงิ้ การผลติ แรด่ บี กุ ในจงั หวดั ราชบรุ เี รม่ิ ขน้ึ เมอ่ื ราว เป็นผลิตภัณฑท์ ี่มคี ณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรบั ของอตุ สาหกรรมสากลตอ่ ไป พ.ศ. ๒๔๖๖ ในระยะแรกยังมีการผลติ ไมก่ ว้างขวางเท่าใดนัก ตอ่ มาจงึ ได้ หินแกรนิตที่มีมากในเทือกเขาตะนาวศรียังสามารถใช้ประโยชน์เป็น ขยายตัวอย่างแพร่หลายกลายเปน็ สนิ คา้ ออกท่ีสำ� คัญของประเทศ จนกระท่ัง หนิ ประดบั ส�ำหรับปูผนังและพน้ื ของอาคารบา้ นเรอื นและงานแกะสลกั ต่างๆ เกิดวกิ ฤติการณแ์ ร่ดบี กุ ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีผลใหร้ าคาแรด่ ีบกุ ตกต�ำ่ ลง การ ยงั มีแรอ่ ีกหลายชนิดทพ่ี บมากในจงั หวัดราชบุรี เช่น แรพ่ ลวง ทใ่ี ช้ ผลติ ไมค่ มุ้ ทนุ ทำ� ใหเ้ หมอื งแรด่ บี กุ สว่ นใหญต่ อ้ งทยอยปดิ กจิ การ ประกอบกบั ในการท�ำโลหะผสม เชน่ ผสมกับตะก่วั และดบี ุกท�ำตัวพมิ พ์หนังสอื ผสมกบั ความสมบรู ณใ์ นแหลง่ แรล่ ดลงดว้ ย จนกระทงั่ รฐั บาลไดย้ กเลกิ สมั ปทาน ตงั้ แต่ ตะกั่วท�ำแผ่นโลหะในแบตเตอร่ี แร่แบไรต์ ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์เปน็ พ.ศ. ๒๕๓๔ ปจั จบุ นั แรด่ บี กุ เปน็ ผลพลอยไดจ้ ากการผลติ แรเ่ ฟลดส์ ปารเ์ ทา่ นนั้ สว่ นผสมของยาที่ใช้ในการตรวจกระเพาะและล�ำไส้ ซึง่ ทง้ั สองแรด่ งั กลา่ วน้ี ไมไ่ ดม้ กี ารผลิตขึน้ เป็นการเฉพาะเหมือนเม่ือคร้ังในอดตี ไม่มกี ารผลติ แลว้ ในปัจจบุ นั แรว่ ุลแฟรม เปน็ แร่ท่ใี ช้ประโยชน์ในการท�ำใหเ้ หล็กมคี วามแขง็ และ แหลง่ แรท่ ย่ี งั ผลติ กนั มากในปจั จบุ นั คอื หนิ ปนู ซง่ึ ใชป้ ระโยชนใ์ นการ คมขนึ้ เพื่อน�ำไปท�ำเคร่ืองมือตัด กลงึ เจาะ ตะไบ เล่ือย มดี และอปุ กรณ์ ทำ� อตุ สาหกรรมซเี มนต์ และอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง พบแพรก่ ระจายในวงกวา้ ง ท่ีทนความร้อนสงู ใช้ผสมเป็นสเี หลอื งส�ำหรบั ย้อมไหม ใชผ้ สมแกว้ และเครือ่ ง ในอำ� เภอปากท่อ อำ� เภอโพธาราม อำ� เภอจอมบึง และอ�ำเภอเมืองราชบรุ ี เคลอื บดนิ เผา แร่วลุ แฟรมเป็นสนิ แร่ที่เกิดในแหลง่ แร่ดีบกุ จงึ มักมกี ารผลติ ซึ่งมีหลายบริษัทได้รับประทานบัตรท�ำเหมืองแร่และด�ำเนินการเหมืองแร่หิน รว่ มกัน ปจั จุบนั ไม่มกี ารผลิตแล้วเช่นเดียวกบั แรด่ บี ุก อยู่ในปจั จุบัน แร่ฟลอู อไรต์ เป็นแร่ทใ่ี ชเ้ ป็นสว่ นผสมถลงุ เหลก็ กลา้ ผลิต นอกจากนยี้ งั มที รายกอ่ สรา้ งซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ทรายสะอาด มเี มด็ ทราย กรดไฮโดรฟลูออริกส�ำหรับใช้ในการเคลือบเคร่ืองปั้นดินเผาและหลอดไฟฟ้า ทีแ่ ขง็ ทนทานตอ่ การสึกกร่อนและผุพัง พบในบรเิ วณใกลเ้ คยี งแมน่ ำ้� แม่กลอง ใชใ้ นการทำ� อปุ กรณก์ ลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ ละผลติ กา๊ ซฟรอี อนทใี่ ชใ้ นการทำ� ความเยน็ ในเขตอ�ำเภอบ้านโปง่ และแม่น�้ำภาชีในอ�ำเภอสวนผึง้ และอ�ำเภอจอมบึง แร่ฟลูออไรต์พบแพร่กระจายในอ�ำเภอสวนผึง้ อำ� เภอบา้ นคา อ�ำเภอจอมบึง และอำ� เภอปากทอ่ โดยสายแรฟ่ ลอู อไรตจ์ ะอยใู่ นชน้ั หนิ ดนิ ดานและหนิ แกรนติ การผลิตแรเ่ ร่มิ ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๒๓ จงึ หยุดการผลิตช่วั คราวและเร่มิ

14 15 สว่ นการทำ� หตั ถกรรมเครอื่ งทองเหลอื งของจงั หวดั ราชบรุ ใี ชด้ นิ เหนยี ว ตารางที่ ๒ แสดงการประทานบตั รแรแ่ ละผลผลติ ทรัพยากรแร่ ปี ๒๕๕๐ จากท้องนาบริเวณบา้ นเขาลอยมูลโค ต�ำบลดอนตะโก อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี เรยี กวา่ “ดนิ นวล” ใชผ้ สมน้ำ� ทาเคลือบขผ้ี ้ึงในข้นั ตอนการท�ำแมพ่ มิ พส์ ำ� หรบั ชนิดแร่ ประทาน ปี ๒๕๕๐ ปี ๒๕๕๐ หมายเหตุ หล่อเครอื่ งทองเหลือง บตั ร ผลผลติ มลู คา่ ผลติ ไม่มี นอกจากน้ีราชบุรียังมีดินลูกรังที่มีคุณภาพส�ำหรับงานก่อสร้าง (หนว่ ย : ตนั ) (หนว่ ย : บาท) ขอ้ มูล ถนนและอ่ืนๆ ในบรเิ วณเขากรวดและบ้านหนองกระทมุ่ ในเขตอ�ำเภอเมอื ง ราชบรุ ีบรเิ วณตำ� บลเขาชะงมุ้ และตำ� บลธรรมเสน ในเขตอำ� เภอโพธาราม ๑. หนิ ปนู เพอ่ื ๑ (หยดุ การ - - ลักษณะทางธรณีวิทยาของจังหวัดราชบุรีนอกจากจะส่งผลให้จังหวัด อตุ สาหกรรมซเี มนต์ ผลติ ) ราชบุรมี แี หลง่ แร่หลายชนดิ แลว้ ยงั กอ่ ให้เกดิ เอกลักษณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งใช้ ประโยชน์ในการเปน็ แหล่งท่องเที่ยวในปัจจุบัน ภูเขาหินปูนจะกอ่ ใหเ้ กดิ ถำ้� ท่มี ี ๒. ห นิ ปนู เพอ่ื ๑๔ - - ไมม่ ี ระฆงั ทองเหลือง หนิ งอกหนิ ยอ้ ยสวยงามตามธรรมชาติ เขน่ ถำ้� จอมพลและถำ้� เขาบนิ ในอำ� เภอ อตุ สาหกรรมอน่ื (หยดุ การ ข้อมูล จอมบึง น�ำ้ ตกผาชนแดนและนำ้� ตกเก้าโจน ในอ�ำเภอสวนผ้ึง ธารนำ�้ ร้อน และอตุ สาหกรรม ผลติ ๖) บอ่ คลงึ ในอ�ำเภอสวนผึง้ และโป่งยุบซง่ึ เกิดจากการยุบตัวของเปลอื กโลกที่ กอ่ สรา้ ง อำ� เภอสวนผึ้ง จังหวดั ราชบรุ ี ๕,๗๐๔,๑๗๖ ๓๙๙,๒๙๒,๓๒๐ ๓. หินปนู เพือ่ ๕ อุตสาหกรรม กอ่ สรา้ ง ๘ (หยดุ การ ๒๔๐ ๑,๒๒๑,๖๐๐ ผลติ ๓) ๔. ห นิ ประดับชนดิ ดินขาว นำ� มาผลติ เปน็ ปนู แดง หินแกรนิต ๕. หนิ ขาว ๒ ๒,๙๐๐ ๒๗๘,๐๐๐,๐๐๐ ๖. เฟลด์สปาร์ ๕ (หยดุ การ ๕๙,๒๐๐ ๔๑,๔๔๐,๐๐ การปกครองและประชากร ผลติ ๑) จงั หวดั ราชบุรีมพี ้ืนท่ี ๓,๒๔๗,๗๘๙ ไร่ หรือ ๕,๑๙๖.๔๖๒ ตาราง ๗. ควอตซ์และ ๒ (หยุดการ - - ไม่มี กิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น ๑๐ อำ� เภอ ๑๐๔ ตำ� บล และ ๙๗๕ เฟลดส์ ปาร์ ผลติ ) ข้อมูล หมบู่ า้ น โดยการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ประกอบดว้ ย ๑ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ๓ เทศบาลเมือง ๓๐ เทศบาลตำ� บล และ ๘๓ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บล ทมี่ า : ฝ่ายอตุ สาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร่ ส�ำนกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั ราชบรุ ี ดิน ดนิ ในจงั หวดั ราชบรุ สี ว่ นใหญม่ ลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ตามสภาพภมู ปิ ระเทศ ซง่ึ เกิดจากการสกึ กรอ่ นและการทับถมของตะกอนหนิ ทราย หนิ ดินดาน หินควอรต์ ไซด์ หนิ โคลน และดินเหนียว เช่น บรเิ วณที่ราบสงู สภาพเน้ือดิน เปน็ ดนิ ปนทรายทม่ี กี ารชะลา้ งพงั ทลายของหนา้ ดนิ คอ่ นขา้ งสงู เหมาะสำ� หรบั ปลูกพืชไร่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้� สภาพเนอื้ ดนิ เป็นดินรว่ น และดินรว่ นปน ดินเหนียว มคี วามอุดมสมบูรณเ์ หมาะสำ� หรบั ปลกู พืชสวน ผลไม้ และนาขา้ ว ส่วนแหลง่ ดนิ ดีมีคุณภาพ และมีคณุ สมบัตเิ หมาะสมกบั การท�ำอุตสาหกรรม เคร่ืองปัน้ ดนิ เผา เรียกว่า “ดินขาว” ซง่ึ ใชป้ ระโยชนไ์ ด้หลายอย่าง เช่น ทำ� อฐิ ท�ำกระเบ้ือง ถว้ ยชาม ทอ่ เคร่อื งสุขภัณฑ์ พบกระจายอยู่บรเิ วณต�ำบล เกาะพลบั พลา ตำ� บลหินกองในเขตอำ� เภอเมืองราชบรุ ี และตำ� บลทับตะโก ในเขตอำ� เภอจอมบงึ สว่ นดนิ เหนยี วซง่ึ ปจั จบุ นั ใชป้ น้ั เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาของจงั หวดั จะใชด้ นิ เหนียวในทอ้ งนา บริเวณตำ� บลเจดยี ห์ กั และตำ� บลหลุมดินในเขต อำ� เภอเมอื งราชบุรี มีลกั ษณะเปน็ ดนิ เหนียวสีแดง เรียกวา่ “ดนิ มนั ปู” และ ดนิ เลนท่ีเรียกวา่ “ดินระดบั ”

16 17 ตารางที่ ๓ แสดงจำ� นวนประชากรและการแบง่ เขตการปกครองจงั หวดั ราชบรุ ี ขนมโบราณ อ�ำเภอวัดเพลง มีอยู่ในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ลำ� ดบั อำ� เภอ พื้นที่ จ�ำนวน จำ� นวน การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ รหสั ถน่ิ เพลงปรบไก่ แควอ้อมใสไหลผา่ น ย่านผลไมร้ สดี ท่ี (ตร.กม.) ประชากร เทศบาล เทศบาล ไปรษณยี ์ มากมขี นมโบราณ นมสั การเจ้าพอ่ หลักหนิ งานศลิ ปโ์ บสถ์ร้อยปี ต�ำบล หมบู่ า้ น เมอื ง ตำ� บล อบต. ถ�้ำจอมพล อ�ำเภอจอมบึง (คน) ๗๐๐๐๐ ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ถิ่นคนดี มีจริยธรรม การศกึ ษาราชภฎั ๑ เมอื ง ๔๓๐.๒๙๘ ๑๑๖,๗๑๒ ๒๒ ๑๘๗ ๑ ๔ ๑๘ ๗๐๑๑๐ งามลำ้� ถ�ำ้ จอมพล ราชบุรี ๗๐๑๒๐ ๗๐๑๓๐ ๒ บ้านโปง่ ๓๖๖.๕๔๙ ๙๕,๑๔๒ ๑๕ ๑๘๓ ๑ ๕ ๑๓ ๗๐๑๔๐ ๓ โพธาราม ๔๑๗.๐๐๙ ๗๐,๓๘๓ ๑๙ ๑๕๖ ๑ ๗ ๑๗ ๗๐๑๕๐ ๑๓ ๑๐๕ - ๕ ๑๓ ๗๐๑๖๐ ๔ ด�ำเนนิ ๒๑๐.๒๗๑ ๗๔,๙๕๗ ๗๐๑๗๐ พระเจดีย์อัฐิธาตุหลวงปู่เทสก์ อ�ำเภอบ้านคา หนังใหญ่ อ�ำเภอโพธาราม สะดวก ๗๐๑๘๐ ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า มีอยู่ในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ๗๐๑๘๐ สบั ปะรดหวานฉ่ำ� งามล้�ำตะนาวศรี มากมีแร่ธาตุ คนสวยโพธาราม แหล่งฟารม์ สกุ ร หนังใหญ่วดั ขนอน ๕ ปากทอ่ ๗๕๗.๘๓๕ ๔๙,๒๐๙ ๑๒ ๘๕ - ๒ ๑๒ กราบอฐั ิหลวงปเู่ ทสก์ แดนนิเวศนเ์ ชิงครี ี ถน่ิ คนดี ชาวแดน ท่นี อนล้ำ� เลิศ ถ่ินกำ� เนดิ โคนม ชมค้างคาวรอ้ ยล้าน ๖ ๘๙ - ๒๖ - การทอผ้าของชาวไทยทรงด�ำ อ�ำเภอปากท่อ ๖ จอมบึง ๗๗๒.๐๕๔ ๕๓,๑๖๒ ๗ ๖๕ - ๒๔ ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ๓ ๒๘ - ๑๓ เพลงเขมรปากท่อ เหล่ากอไทยทรงด�ำ วฒั นธรรมกะเหรย่ี ง ๗ บางแพ ๑๗๒.๕๙๗ ๑๗,๘๖๑ ๔ ๓๗ - ๒๔ เสยี งน้�ำตกไทยประจนั แหล่งพนั ธุไ์ มผ้ ล ถิ่นคนนำ้� ใจงาม ๓ ๔๐ - -๓ มากฟารม์ สกุ ร พระนอนเขาถ�ำ้ ทะลุ ๘ วัดเพลง ๓๗.๘๙๒ ๑๐,๖๕๒ ๑๐๔ ๙๗๕ ๓ ๓๐ ๘๓ ๙ สวนผึ้ง ๑,๐๐๕.๐๘ ๓๒,๒๗๔ ๑๐ บ้านคา ๑,๐๒๖.๘๗ ๒๓,๙๑๔ รวม ๑๐ อำ� เภอ ๕,๑๙๖.๔๖๒ ๘๔๒,๖๘๔ ท่ีมา : ส�ำนักบริหารการทะเบยี น กรมการปกครอง ข้อมลู ณ วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ จังหวัดราชบุรีมีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองในช่วงระยะเวลา สระน้�ำศักด์ิสิทธิ์ อ�ำเภอบ้านโป่ง ๓ ปที ผ่ี า่ นมา คอื เม่อื พ.ศ. ๒๕๕๓ มจี �ำนวนเท่ากบั ๘๓๙,๐๗๕ คน ใน ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า พ.ศ. ๒๕๕๔ มจี �ำนวนเพิม่ เป็น ๘๔๒,๖๘๔ คน และใน พ.ศ. ๒๕๕๕ เพิ่มขึน้ เมืองคนงาม สระนำ�้ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เป็น ๘๔๖,๖๓๑ คน ความหนาแนน่ ของประชากรเฉลี่ยทงั้ จงั หวัดเทา่ กับ พพิ ิธภณั ฑ์พนื้ บ้าน ย่านการค้าอตุ สาหกรรม ๑๖๔ คน ตอ่ ตารางกโิ ลเมตร โดยอำ� เภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอบา้ นโป่ง อำ� เภอ ด�ำเนนิ สะดวก และอ�ำเภอโพธารามเป็นอำ� เภอทมี่ ปี ระชากรจำ� นวนมากท่ีสุด เรยี งตามล�ำดับ ขณะทีอ่ �ำเภอบ้านคา และอ�ำเภอสวนผ้ึง เป็นอ�ำเภอทมี่ พี นื้ ท่ี ขนาดใหญ่ท่ีสุดของจังหวัดแต่มีประชากรไม่มากนัก เน่ืองจากภูมิประเทศ สว่ นใหญเ่ ปน็ เทอื กเขาสงู สว่ นอำ� เภอวดั เพลงมพี นื้ ทขี่ นาดเลก็ ทสี่ ดุ และจำ� นวน ประชากรนอ้ ยทส่ี ุดของจงั หวัดดว้ ย เป็ดพะโล้ อ�ำเภอบางแพ ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก แก่งส้มแมว อ�ำเภอสวนผ้ึง มีอยู่ในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า ปรากฏในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอว่า เป็ดพะโล้ระบอื นาม ก้งุ กา้ มกรามชือ่ นยิ ม เมอื งสองฝ่ังคลองประวตั ศิ าสตร์ เสดจ็ ประพาสต้น ร.๕ สาวกะเหร่ียงเคียงถิ่นตะนาวศรี ลำ� ภาชีแกง่ สม้ แมวแนวหนิ ผา อีกโคนมพนั ธด์ุ ี ประเพณีไทยทรงดำ� เลอ่ื งลอื ชาองนุ่ หวาน ชาวบ้านน้�ำใจงาม ธารน�ำ้ รอ้ นบ่อคลงึ ตรึงตดิ ตา นำ้� ผ้งึ ป่าหวานซ้งึ ติดตรึงใจ แหลง่ เพาะชมไมด้ อก สินค้าออกเหด็ นานาพนั ธ์ุ ลน้ หลามผกั ผลไมร้ ายไดห้ ลกั เรารักตลาดนำ้� ด�ำเนินฯ

18 19 เศรษฐกจิ ตารางท่ี ๔ แสดงพ้นื ท่ีการเกษตรของจังหวัดราชบรุ ี พ.ศ. ๒๕๕๕ ราชบรุ เี ปน็ จงั หวดั ทม่ี ขี นาดเศรษฐกจิ ใหญท่ สี่ ดุ ในกลมุ่ ภมู ภิ าคตะวนั ตก ท่ี อำ� เภอ พน้ื ที่ จำ� นวนพนื้ ทเี่ พาะปลกู (ไร)่ ของประเทศไทย เปน็ ศนู ยก์ ลางตลาดสนิ คา้ เกษตรทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ แหง่ หนงึ่ และเปน็ การเกษตร ทำ� นา จงั หวดั ทมี่ โี รงงานอตุ สาหกรรมขนาดใหญต่ งั้ อยใู่ นพนื้ ทอี่ ำ� เภอราชบรุ แี ละอำ� เภอ ทำ� ไร่ พชื ผกั ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ ไมด้ อก ประมง ปศสุ ตั ว์ บ้านโป่ง เศรษฐกจิ ของจังหวดั ราชบรุ มี อี ัตราการขยายตัวอย่างต่อเนอื่ ง ตงั้ แต่ ไมป้ ระดบั พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๓ เฉลย่ี รอ้ ยละ ๑.๕๗ ตอ่ ปี ในพ.ศ. ๒๕๕๓ ประชากร ๑ เมอื งราชบรุ ี ๑๒๖,๗๗๙ ๖๕,๘๔๔ ๑๙,๙๗๔ ๗,๕๔๐ ๑๒,๘๓๕ ๑๔,๖๒๑ ๕๖๕ ๒,๑๗๙ ๘,๒๐๕ มรี ายไดต้ อ่ หวั (GPP PERCAPITA) เทา่ กบั ๑๕๒,๓๘๐ บาท/คน/ปี จดั อยใู่ น ๒ โพธาราม ๑๕๒,๕๖๘ ๖๓,๖๔๔ ๖๕,๔๙๐ ๓,๖๔๙ ๔,๐๙๔ ๒,๕๔๖ ล�ำดับที่ ๑๔ ของประเทศ รายไดข้ องจงั หวดั มาจากสาขาการผลิตตา่ งๆ ๓ บา้ นโปง่ ๑๓๑,๓๗๐ ๖๓,๐๘๑ ๔๕,๒๑๔ ๘,๘๙๒ ๕,๖๙๐ ๑,๔๕๐ ๑,๔๔๔ ๓,๑๐๑ ๘,๖๐๐ ประกอบด้วย สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรม สาขาการค้าปลีกส่ง ๔ บางแพ ๗๑,๗๒๐ ๒๕,๑๙๔ ๒,๓๙๒ ๑,๘๓๑ ๑๒,๐๔๖ ๒,๓๐๓ สาขาการกอ่ สร้าง และสาขาการท่องเท่ียว โดยสาขาการผลิตท่สี �ำคัญและมี ๕ ดำ� เนนิ สะดวก ๑๐๔,๘๙๑ ๒,๖๔๔ ๕๗๒ ๑๔,๓๓๖ ๕๘,๓๑๗ ๒๒,๔๖๕ ๔๓๑ ๓,๒๒๐ ๖,๖๓๖ มูลค่าการผลิตสงู สุดเป็นอนั ดับแรกของจังหวัดคือสาขาอุตสาหกรรม มีอตั รา ๖ วดั เพลง ๑๗,๑๓๔ ๖,๕๔๐ - ๑,๓๔๐ ๘๙๑ ๖,๒๐๐ การผลิตรอ้ ยละ ๒๔.๘๔ รองลงมาคือสาขาเกษตรกรรม สาขาการค้า และ ๗ ปากทอ่ ๑๖๓,๓๙๗ ๗๓,๕๒๑ ๓๑,๐๔๐ ๑๔,๗๘๕ ๑๒,๒๐๔ ๒๑,๖๓๖ ๙๒๐ ๓๑,๕๘๕ ๒,๖๑๗ การท่องเทีย่ ว ๘ จอมบงึ ๒๑๖,๖๙๕ ๔๔,๘๕๑ ๑๒๔,๑๑๓ ๑๒,๕๐๗ ๔,๘๖๖ ๑๔,๘๔๗ ทง้ั นใี้ นแผนพฒั นาจงั หวัดราชบุรี (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖) ได้ก�ำหนด ๙ บา้ นคา ๑๓๕,๒๗๖ ๕,๑๔๓ ๔,๒๗๗ ๑๑,๖๑๘ ๗๗๐ ๔,๖๑๘ ๑,๑๖๙ วสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นาวา่ ผนู้ ำ� เกษตรปลอดภยั มงุ่ ใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่ และใชท้ นุ ๑๐ สวนผงึ้ ๙๓,๗๗๕ ๒๕ ๑๐๘,๕๒๗ ๔,๓๖๐ ๕,๖๐๕ ๒๒,๔๘๘ ทางปญั ญาสรา้ งรายได้ ซึง่ เปน็ ผลใหจ้ ังหวดั ราชบุรปี ระสบความสำ� เรจ็ ทาง ๑,๖๖๑ ๕๒,๐๑๓ - ๑,๑๖๖ ๑,๑๑๘ ด้านการพัฒนาเศรษฐกจิ ในสาขาการผลิต ดังนี้ สาขาเกษตรกรรม ๒๗๘ ๓๓๗ ๑๑,๒๔๕ เกษตรกรรมเป็นสาขาการผลิตท่ีสร้างรายได้หลักให้กับชาวราชบุรี มาเนน่ิ นานจนถงึ ปัจจบุ นั ผลผลติ ดา้ นการเกษตรมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ๖๑๕ ๕๘๔ ๑๗,๓๘๐ ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๓ เฉล่ียร้อยละ ๑๐.๗๗ ต่อปี เนอ่ื งจากมปี จั จัย สนบั สนุนหลายด้าน ทส่ี �ำคัญคือมพี นื้ ท่กี ารเกษตรอยใู่ นเขตชลประทานรวม ๓๕ ๒๑๙ ๕,๔๓๒ ๘๐๔,๐๐๙ ไร่ ครอบคลมุ พ้นื ท่เี กษตรคิดเป็นร้อยละ ๖๐.๘ ของพ้ืนทเ่ี กษตร ทัง้ หมด ๑,๓๒๐,๖๗๑ ไร่ ทั้งมีพ้นื ทีก่ ารเกษตรสำ� หรับนาข้าว พืชไร่ พชื สวน ๙๘ ๒๙๙ ๗,๒๑๑ และพืชผกั ประเภทต่างๆ กระจายในทุกอ�ำเภอ มตี ลาดกลางสนิ ค้าเกษตร ในการระบายผลผลติ ไปยงั ภมู ภิ าคอ่นื ๆ ทมี่ า : สำ� นกั งานเกษตรจงั หวดั ราชบุรี พืชเศรษฐกิจทส่ี ำ� คัญของจังหวดั ราชบรุ ี ได้แก่ ขา้ ว มันส�ำปะหลงั ออ้ ยโรงงาน ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ สบั ปะรด มะพรา้ ว กล้วยไม้ ทางด้านปศสุ ัตว์ จังหวดั ราชบุรีเป็นแหลง่ ผลิตสกุ รไดม้ ากที่สุดของ ส่วนพชื ผกั เช่น ข้าวโพดฝักออ่ น ถัว่ ฝกั ยาว แตงกวา หนอ่ ไม้ฝร่งั ประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๓) รองลงมาคอื ไก่เนอื้ โคนม กระบือ และแพะ พรกิ หวั หอม นอกจากนีย้ งั มผี ลไม้ท่ีปลูกกนั มากในจังหวัดราชบุรี เชน่ กลว้ ย องนุ่ มะมว่ ง ชมพู่ สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จ�ำกดั (ในพระบรมราชปู ถมั ภ)์ ก�ำเนิดข้นึ จากการ รวมกลุม่ ของเกษตรกรผ้เู ลย้ี งโคนมในจงั หวัดราชบุรี ได้จดั ตั้ง ศนู ย์รวมน�ำ้ นม ขึ้น ต่อมาจึงไดเ้ คล่อื นไหวจัดต้ังกลุ่มสหกรณ์ผเู้ ลี้ยงโคนมขึ้นท่ีต�ำบลหนองโพ เมื่อวนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ใชช้ อ่ื วา่ สหกรณโ์ คนมราชบรุ จี ำ� กดั เปน็ สหกรณป์ ระเภทการบรกิ าร และเปลย่ี นชอ่ื เปน็ สหกรณโ์ คนมหนองโพราชบุรี จ�ำกัด เป็นสหกรณป์ ระเภท การเกษตร เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๖ ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ บริษัทผลติ ภัณฑ์นมหนองโพราชบุรี จ�ำกดั (ในพระบรมราชปู ถัมภ)์ ไดร้ วมเขา้ กบั สหกรณโ์ คนมหนองโพราชบรุ ี จำ� กดั ตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ยใู่ นพระบรมราชปู ถัมภ์ นบั แต่นัน้ มาจนถงึ ปจั จุบนั และไดผ้ ลติ ภัณฑ์ในหลายรูปแบบ เชน่ นมพาสเจอร์ไรส์ นมย.ู เอช.ที นมเปรี้ยว พร้อมดมื่ ผลิตโยเกิรต์ เนย ไอศกรมี

20 21 ส่วนการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำมแี ตป่ ระมงนำ้� จืด เน่ืองจากจงั หวดั ราชบุรี สาขาการค้าปลกี -ส่ง ไมม่ พี น้ื ทตี่ ดิ ชายฝง่ั ทะเล ไดแ้ ก่ การเพาะเลยี้ งกงุ้ กา้ มกราม กงุ้ ขาว ปลาสวยงาม เนอื่ งจากจงั หวดั ราชบรุ มี ศี กั ยภาพทางการผลติ สนิ คา้ ดา้ นอตุ สาหกรรม และปลาน�ำ้ จืด เชน่ ปลานิล ปลาตะเพยี น เปน็ ต้น และเกษตรกรรม รวมทงั้ การมตี ลาดกลางสนิ คา้ เกษตรระดบั ภมู ภิ าค และเสน้ ทาง สาขาอุตสาหกรรม คมนาคมขนสง่ ทเ่ี ชอื่ มตอ่ กบั จงั หวดั ตา่ งๆ ไดส้ ะดวก จงึ เปน็ แหลง่ กระจายสนิ คา้ อตุ สาหกรรมเปน็ สาขาการผลติ ทส่ี ำ� คญั ของจงั หวดั มนี คิ มอตุ สาหกรรม เกษตรไปสู่ภมู ภิ าคอ่ืนๆ ไดก้ ว้างขวางและรวดเร็ว ทีส่ �ำคญั จงั หวัดราชบุรมี ี ๑ แห่ง คอื นิคมอุตสาหกรรมราชบุรี ต้ังอยใู่ นอ�ำเภอโพธาราม ส่วนใหญ่ วิสาหกิจชมุ ชนและผลิตภณั ฑ์ OTOP ที่มคี ณุ ภาพได้รบั การยอมรบั ว่าอยใู่ น เปน็ อตุ สาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ประมาณรอ้ ยละ ๙๕ ของจำ� นวน ระดบั ๕ ดาว หลายรายการ ได้แก่ กลุ่มผลติ ภัณฑป์ ระเภทอาหารและ โรงงานทง้ั หมด สำ� หรบั โรงงานขนาดใหญส่ ว่ นใหญต่ งั้ อยใู่ นเขตอำ� เภอบา้ นโปง่ เครอื่ งด่มื กล่มุ ผลิตภณั ฑผ์ ้าและเครอ่ื งแต่งกาย กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์ของใชแ้ ละ อำ� เภอโพธาราม อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี และอำ� เภอปากทอ่ ตามแนวถนนเพชรเกษม ของตกแตง่ สาขาการค้าปลกี และส่งซึ่งเปน็ สาขาท่ีมูลค่าการผลติ เพมิ่ ขน้ึ ที่เช่ือมต่อจังหวัดนครปฐม และจังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงเป็นถนนสายหลักของ รองจากสาขาอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม จงั หวดั ราชบุรี สาขาการท่องเท่ยี ว สาขาอตุ สาหกรรมมมี ลู คา่ การผลติ ทเี่ พม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งสงู ถงึ รอ้ ยละ จงั หวดั ราชบรุ มี ที รพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วหลากหลายทง้ั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ๓๙.๕ โดยเฉพาะหมวดผลิตภณั ฑอ์ าหารและเครอื่ งดืม่ รวมท้ังสนิ คา้ OTOP ทางธรรมชาติ แหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน ท�ำให้มี และการผลติ ยานยนต์ รถพว่ ง และรถกงึ่ รถพว่ ง สง่ ผลใหก้ ารผลติ สาขาไฟฟา้ นักท่องเท่ยี วจ�ำนวนกวา่ ๑ ล้านคน สว่ นใหญเ่ ปน็ กลมุ่ นักท่องเที่ยวชาวไทย และแกส๊ ขยายตัวเพม่ิ ขน้ึ ดว้ ย และสร้างรายได้ให้จังหวัดราชบุรมี ากกวา่ ๙๑๐ ล้านบาทใน พ.ศ. ๒๕๕๓ อุตสาหกรรมส่วนมากจะเป็นอุตสาหกรรมการเกษตรและเกษตร แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของจังหวัดท่ีได้รับความนิยมคือตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก แปรรูปเนื่องจากพ้นื ทสี่ ่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม ผลผลติ จากภาคการเกษตร ในชว่ งแผนพัฒนาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๖ จังหวดั ราชบรุ ไี ด้เนน้ การพัฒนาด้าน จะเป็นวัตถุดิบของโรงงาน เช่น ข้าว ออ้ ย มนั ส�ำปะหลงั ขา้ วโพด สว่ น การท่องเที่ยว เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในบริเวณอ�ำเภอสวนผ้ึง อุตสาหกรรมท่ีสร้างมลู คา่ การผลิตใหก้ ับจังหวดั ได้แก่ อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ และอำ� เภอบ้านคา ให้เปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี วในฤดูหนาว ซ่ึงได้รับความสนใจจาก พลังงาน อตุ สาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมเซรามกิ อตุ สาหกรรมต่อตัวถัง นกั ท่องเทยี่ วเป็นจำ� นวนมากทำ� ใหร้ ายไดจ้ ากการท่องเท่ียวเพิม่ ขนึ้ รถบสั อตุ สาหกรรมยางและผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ อตุ สาหกรรมเกย่ี วกบั เหมอื งแร่ และถา่ นหนิ ส่วนอุตสาหกรรมด้ังเดิมท่ียังคงผลิตอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ การท�ำ เคร่ืองปัน้ ดนิ เผา การผลติ หวั ผักกาดหวาน-เค็ม ปนู ขาว-ปนู แดง เส้นหมี่และ หมีซ่ ่ัว เครอื่ งทองเหลอื ง และการหลอ่ พระพทุ ธรูป ซง่ึ เปน็ อุตสาหกรรม ท่ีสรา้ งชือ่ เสียงและรายไดใ้ หแ้ ก่ทอ้ งถนิ่ มาชา้ นานแล้ว

22 23 สงั คม ครสิ ต์ศาสนสถานในจังหวดั ราชบุรี จังหวัดราชบุรีความหลากหลายทางชาติพันธุ์อันเป็นเอกลักษณ์เด่น การแผ่ขยายศาสนาครสิ ตใ์ นจงั หวัดราชบุรี เร่ิมจากการท่มี ีชาวไทย ทางวฒั นธรรมของจังหวัดทสี่ บื ทอดมาแตโ่ บราณ แบง่ ออกเปน็ กลุ่มใหญ่ๆ ได้ คริสต์หรือผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกเข้าไปต้ังหลักแหล่งอยู่ ๘ กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ คือ ชาวไทยภาคกลางพื้นถิ่น ชาวไทยจนี ชาวไทยยวน ที่อ�ำเภอเมอื งราชบรุ ี อ�ำเภอวดั เพลง อำ� เภอบ้านโป่ง และอ�ำเภอโพธาราม ชาวไทยมอญ ชาวไทยกะเหรย่ี ง ชาวไทยลาวโซง่ ชาวไทยลาวตหี้ รอื ลาวเวยี ง และ จังหวัดราชบรุ ตี ั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั (รชั กาล ชาวไทยเขมร ซงึ่ ต้ังถนิ่ ฐานกระจายอยูใ่ นหลายพื้นท่ขี องจังหวดั ราชบรุ ผี สมผสาน ที่ ๔) เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๖ โดยนักบวชครสิ ตจ์ ากโบสถ์บางนกแขวก ซงึ่ ตัง้ อยู่ กับกลุม่ คนไทยทีอ่ พยพเข้าไปต้ังถ่ินฐานในจงั หวดั ราชบุรีจนถงึ ปจั จบุ ันนี้ รมิ แม่นำ�้ แม่กลอง อำ� เภอบางคนที จงั หวัดสมทุ รสงคราม เป็นศูนยก์ ลางการ เผยแผ่ครสิ ตศ์ าสนา และได้เดนิ ทางมาเยย่ี มและประกอบพธิ ีทางศาสนาใน ศาสนา โบสถ์ช่ัวคราวใหก้ บั ชาวคริสตใ์ นจังหวัดราชบรุ ี ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๙๘ พระสังฆราชได้ย้ายส�ำนกั จากบางนกแขวก ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดราชบุรีนับถือพุทธศาสนา ประมาณ มัสยดิ ในจังหวดั ราชบรุ ี มาอยู่ทรี่ าชบรุ ี และไดก้ ่อสร้างศูนยส์ งั ฆมณฑลและวัดนักบญุ ยอหบ์ อสโก ร้อยละ ๙๗.๔ ของประชากรท้ังจงั หวดั เนอ่ื งจากพระพุทธศาสนาได้สถาปนา ศาลเจา้ ในอำ� เภอสวนผ้งึ จังหวดั ราชบรุ ี ราชบุรขี นึ้ (วัดใหม่สรา้ งเสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๕๓๓) และเจรญิ รุง่ เรอื งในพื้นทน่ี มี้ าต้งั แตพ่ ุทธศตวรรษที่ ๑๒ หรือกวา่ ๑๔๐๐ ปี สว่ นโบสถค์ รสิ ตว์ ดั พระหฤทยั วดั เพลง ตง้ั อยรู่ มิ คลองแควออ้ ม สรา้ งขน้ึ มาแลว้ ดงั ปรากฏหลกั ฐานเปน็ พทุ ธสถานหลายแหง่ ในจงั หวดั ราชบรุ ี รองลงมา เมอื่ พ.ศ. ๒๔๒๓-๒๔๔๖ เปน็ วดั ทม่ี รี ปู แบบสถาปตั ยกรรมตะวนั ตกแบบโกธคิ คอื การนบั ถอื ครสิ ตศ์ าสนา ประมาณรอ้ ยละ ๒.๐๖ ทงี่ ดงามมาก สรา้ งขนึ้ แทนโบสถไ์ มท้ อี่ ดตี สมภารปาน วดั บางกลว้ ย ซง่ึ ไดร้ บั ศลี สว่ นการนบั ถอื ศาสนาอสิ ลามมปี ระมาณรอ้ ยละ ๐.๕๔ ของประชากร ล้างบาป และเปล่ียนมานับถือคริสต์ศาสนา (ราว พ.ศ. ๒๔๐๗) ชาวราชบุรีทั้งหมด ศาสนสถานของชาวอิสลามในจงั หวัดราชบุรีมี ๒ แหง่ ทอี่ ำ� เภอโพธารามมชี าวครสิ ตจ์ ากกรงุ เทพฯ เขา้ ไปตงั้ ถน่ิ ฐานทต่ี ำ� บล ตงั้ อยใู่ นอำ� เภอบา้ นโปง่ และอ�ำเภอราชบุรี ดอนกระเบื้องและสังกัดกับโบสถ์บางนกแขวกที่จังหวัดสมุทรสงครามตั้งแต่ นอกจากนยี้ งั มกี ารนบั ถอื ลทั ธคิ วามเชอื่ อนื่ ๆ ผสมผสานกนั เชน่ ชาวไทย พ.ศ. ๒๓๘๗ รว่ มมอื กนั สรา้ งโบสถไ์ มข้ นึ้ กอ่ น ตอ่ มาจงึ สรา้ งโบสถท์ ช่ี อ่ื วา่ “นกั บญุ เชอื้ สายจนี จะปฏบิ ตั ติ ามความเชอ่ื ของบรรพบรุ ษุ และมศี าสนสถานของชาวจนี มคี าแอล ดอนกระเบอื้ ง” หรอื “วดั อคั รเทวดามคี าแอล” ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๗ ทเ่ี รยี กวา่ “ศาลเจา้ ” อยหู่ ลายแหง่ เชน่ ศาลเจา้ แมท่ บั ทมิ ศาลเจา้ พอ่ กวนอู ทอ่ี ำ� เภอบา้ นโปง่ ชาวครสิ ตบ์ างครอบครวั ไดย้ า้ ยจากตำ� บลดอนกระเบอื้ ง ศาลเจา้ แมเ่ บิกไพร เป็นตน้ มาอยทู่ ่ีบา้ นโป่งจ�ำนวนมากขึ้น ไดส้ ร้างโบสถค์ รสิ ต์เพอ่ื ถวายแดน่ กั บญุ โยเซฟ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๔ (หลงั ปจั จบุ ันสร้างขนึ้ ใหม่เสรจ็ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๐) ชาวไทยมสุ ลมิ กบั อาชพี การขายโรตีมะตะบะ ร้านขายยาแผนโบราณชาวไทยจนี ในจงั หวัดราชบรุ ี กจิ การเผยแผศ่ าสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมนั คอทอลกิ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก มชี าวไทยเช้อื สายจนี และอน่ื ๆ ศรทั ธานับถอื อย่างมน่ั คงจนถงึ ปัจจุบนั นี้ ชาวไทยจนี กบั อาชพี การขายขา้ วหมแู ดง ชาวไทยทรงดำ� อำ� เภอปากทอ่ กบั อาชพี การทอผา้ ชาวไทยพนื้ ถิ่นกบั อาชพี ท�ำนำ้� ตาลมะพรา้ ว

24 25 การศึกษา - โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (โรงเรียนอนบุ าลทานตะวัน) ต้ังอยทู่ อี่ ำ� เภอจอมบงึ จ�ำนวน ๑ แห่ง ปัจจุบันจังหวัดราชบุรีมีสถานศึกษาให้บริการด้านการศึกษาระดับ โรงเรียนวัดแจ้งเจริญ ๒. นอกสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาข้นั พน้ื ฐานจนถงึ ระดับอุดมศกึ ษา ประกอบด้วย โรงเรียนวดั นาหนอง ๒.๑ ส�ำนักพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ สำ� นกั นายกรัฐมนตรี ๑. สงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ - โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ต้ังอยู่ท่ี ๑.๑ สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา อ�ำเภอจอมบงึ จ�ำนวน ๑ แหง่ ข้นั พน้ื ฐาน ๒.๒ สำ� นักงานการศึกษาทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย - ส�ำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑ - โรงเรยี นเทศบาล (เทศบาลเมอื ง ๑๐ แหง่ เทศบาลตำ� บล ประกอบดว้ ย อำ� เภอเมอื งราชบุรี อ�ำเภอปากท่อ อำ� เภอจอมบงึ อำ� เภอ ๒ แห่ง) จำ� นวน ๑๒ แหง่ วัดเพลง อำ� เภอสวนผงึ้ และอำ� เภอบา้ นคา มโี รงเรียนในสังกัดจ�ำนวน ๒.๓ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ๑๘๒ แหง่ - โรงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดน (โรงเรยี นตะโกปดิ ทอง - สำ� นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ และโรงเรยี นบ้านถำ้� หนิ ) ตงั้ อยู่อำ� เภอสวนผึ้ง จ�ำนวน ๒ แห่ง ประกอบด้วย อ�ำเภอบา้ นโป่ง อ�ำเภอโพธาราม อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก และ ๒.๔ สงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ อำ� เภอบางแพ มีโรงเรยี นในสงั กัด จ�ำนวน ๑๕๒ แหง่ - วทิ ยาลยั พยาบาล ต้งั อยอู่ �ำเภอเมืองราชบรุ ี และ - สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๘ (รบั ผดิ ชอบ อ�ำเภอบา้ นโปง่ จ�ำนวน ๒ แห่ง จังหวัดราชบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี) ในส่วนของจังหวัดราชบุรีมีโรงเรียน มัธยมศึกษา จ�ำนวน ๒๖ แห่ง หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี การสาธารณสุข - ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ตัง้ อยู่ทีอ่ ำ� เภอเมืองราชบรุ ี จำ� นวน อ�ำเภอเมอื งราชบุรี ๑ แหง่ ปจั จุบนั จงั หวดั ราชบรุ มี โี รงพยาบาล ประกอบดว้ ย ๑.๒ ส�ำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร โรงพยาบาลของรัฐ ๑๒ แหง่ สถานศกึ ษาเอกชน - สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข จำ� นวน ๑๑ แห่ง - สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี - สงั กดั กระทรวงกลาโหม จ�ำนวน ๑ แห่ง เขต ๑ มโี รงเรียนในสังกดั จ�ำนวน ๑๒ แห่ง โรงพยาบาลเอกชน จำ� นวน ๖ แหง่ - สังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพระดับต�ำบล จำ� นวน ๑๖๒ แห่ง เขต ๒ มโี รงเรยี นในสงั กดั จำ� นวน ๑๗ แห่ง ศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี น โรงพยาบาลราชบุรี การทหาร - ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ราชบรุ ี ตงั้ อยทู่ อี่ ำ� เภอ โพธาราม จ�ำนวน ๑ แห่ง จังหวดั ราชบรุ ีเปน็ ทต่ี ้ังของกรมการทหารช่าง ราชบรุ ี และจงั หวดั ๑.๓ สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ตง้ั อยอู่ ำ� เภอเมอื ง ทหารบกราชบุรี ซึ่งทตี่ ั้งของกองทหารดงั กลา่ วไดร้ ับพระราชทานช่ือคา่ ยวา่ ราชบุรี อ�ำเภอโพธาราม อ�ำเภอบ้านโป่ง จำ� นวน ๗ แหง่ “คา่ ยภาณุรังษี” เมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๗ สืบมาถึงปัจจบุ ันน้ี ๑.๔ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ ตงั้ อยทู่ อี่ ำ� เภอจอมบงึ พพิ ิธภณั ฑท์ หารช่าง จำ� นวน ๑ แห่ง แหล่งเรียนรู้ ประวตั คิ วามเปน็ มาของทหารช่าง

ราชบรุ ีในอดตี ราชบรุ เี ปน็ จงั หวดั ทม่ี ปี ระวตั คิ วามเปน็ มายาวนาน เปน็ แหลง่ วฒั นธรรมเกา่ แก่ ซ่ึงมีหลักฐานแสดงพัฒนาการของมนุษยชาติจากเทือกเขาตะนาวศรีสู่ลุ่มน�้ำ แมก่ ลองอยา่ งชดั เจนเชน่ เดยี วกบั เมอื งสำ� คญั อกี หลายแหง่ ในดนิ แดนไทยทสี่ ะทอ้ น วิถีการด�ำเนินชีวิตของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ที่ได้เข้ามาต้ังถิ่นฐานกระจายอยู่ ในพน้ื ท่ีตา่ งๆ ท้งั เทือกเขาสงู ภูเขาโดด ทีร่ าบสงู และทีร่ าบลุ่มแมน่ ำ้� ตามลำ� ดับ ใหเ้ ราไดศ้ ึกษายอ้ นหลงั ประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนไทยเมอื่ กว่าแสนปมี าแล้ว เร่มิ จาก รอ่ งรอยการอยู่อาศยั ของ มนุษย์ยุคหนิ เพราะใช้เครื่องมือเครือ่ งใชท้ ท่ี ำ� จากหนิ และพึง่ พิงธรรมชาติเป็นหลกั ในการด�ำรงชวี ติ ไม่มกี ารตั้งหลกั แหล่งถาวร อาศยั ถำ้� และเพงิ ผาท่ใี กลแ้ หลง่ น้ำ� เป็นทพี่ ักช่ัวคราว เม่ือหมดแหลง่ อาหารกจ็ ะเคล่ือนยา้ ย เร่ร่อนไปหาแหล่งอาหารแหง่ ใหม่ นกั โบราณคดแี ละประวัตศิ าสตรเ์ รยี กการ ดำ� รงชวี ติ ในลกั ษณะนวี้ า่ สงั คมลา่ สตั ว์ เพราะผคู้ นในยคุ นจ้ี ะอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ ยังชพี ดว้ ยการล่าสัตวต์ กปลา และหาพืชผักผลไม้จากปา่ ไม่มกี ารผลิต หรอื สะสม อาหาร ต่อมาเมื่อมนุษยไ์ ดเ้ รยี นรแู้ ละเจริญขึ้น สามารถผลติ เคร่อื งมือเคร่ืองใช้ ไดป้ ระณีตข้นึ ใชป้ ระโยชน์ได้หลากหลายมากขนึ้ และสามารถสรา้ งเคร่ืองมอื และ อาวธุ จากโลหะ ไดแ้ ก่ สำ� รดิ (โลหะผสมทใ่ี ชแ้ รด่ บี กุ ทองแดงเปน็ หลกั ) และเหลก็ ได้ จงึ เรยี กขานผคู้ นในยคุ นว้ี า่ มนษุ ยย์ คุ โลหะ ทส่ี ำ� คญั คอื การรจู้ กั เพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ เลือกพ้นื ท่ีอยู่อาศยั ในบรเิ วณท่ีราบอดุ มสมบรู ณ์ นกั โบราณคดแี ละประวัตศิ าสตร์ เรียกสงั คมในลักษณะน้ีวา่ สงั คมเกษตรกรรม ผ้คู นในยุคนีจ้ ะตงั้ บา้ นเรือนอย่อู าศัย เปน็ หลกั แหลง่ เพอ่ื เฝา้ ดแู ลพชื ผลทปี่ ลกู ขยายพนั ธส์ุ ตั วเ์ ลยี้ งไวเ้ ปน็ อาหารและใชง้ าน และอยู่ร่วมกนั เปน็ ชมุ ชนเพอ่ื ปกปอ้ งพ้ืนที่ท�ำมาหากนิ มกี ารช่วยเหลอื เก้ือกลู กนั แบ่งงานกันท�ำ เกดิ เป็นความชำ� นาญเฉพาะดา้ น เช่น ชา่ งทำ� เครื่องปน้ั ดนิ เผา ชา่ งถลุงโลหะ ชา่ งทอผ้า ชาวนา และมีการตดิ ต่อคา้ ขายแลกเปลี่ยนผลผลติ กบั ชมุ ชนอน่ื ๆ นำ� ไปสกู่ ารกอ่ สรา้ งเมอื งเกิดเป็น สงั คมเมอื ง ขึน้ พัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทยดงั กล่าวนเ้ี รยี กว่า สมยั กอ่ น ประวตั ศิ าสตร์ เปน็ ชว่ งเวลาทมี่ นษุ ยย์ งั ไมส่ ามารถประดษิ ฐต์ วั อกั ษรใชใ้ นการสอื่ สาร อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณห์ ลายแห่ง ปรากฏเปน็ แหล่งโบราณคดสี มยั กอ่ น ประวัตศิ าสตรก์ ระจายอยู่ทว่ั ไปในดนิ แดนไทย แหล่งท่ีมชี อื่ เสียงในระดบั นานาชาติ และได้รบั การยกย่องให้เปน็ แหล่งมรดกโลก คือ บา้ นเชียง อ�ำเภอหนองหาน จงั หวัดอดุ รธานี แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในจังหวัดราชบุรีได้ถูกค้นพบเป็น จ�ำนวนมาก บอกเลา่ เร่อื งราวการด�ำเนินชวี ติ ของผูค้ นในสังคมลา่ สตั ว์ และสงั คม เกษตรกรรม ในดนิ แดนชายขอบทางตะวนั ตกของประเทศไทย

28 29 การสำ� รวจและศกึ ษาคน้ ควา้ ทางโบราณคดใี นจงั หวดั ราชบรุ ี เรม่ิ เปน็ ครงั้ แรก ขวานหินขดั รปู จงอยปากนก ลกู ปัดทำ� ด้วยหินแกว้ ขวานทองแดงมบี ้อง ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยศาสตราจารยฟ์ ริทซ์ แซระซนิ (Fritz Sarasin) นักโบราณคดี ขวานสำ� รดิ และกำ� ไลทำ� ด้วยกระดูกสตั ว์ ชาวสวสิ ซงึ่ ไดพ้ บเครอื่ งมอื หนิ กะเทาะรว่ มกบั กระดกู สตั วแ์ ละเปลอื กหอยทะเล บรเิ วณ ได้จากถำ�้ เขาฝาก เพงิ ผาใกล้ถ�ำ้ ฤาษี เทือกเขางู ในเขตอำ� เภอเมืองราชบรุ ี และเรียกชื่อเครื่องมอื หนิ อ�ำเภอโพธาราม จังหวดั ราชบุรี ดงั กลา่ วนว้ี า่ ไซแอมเมยี น (Siamian) มลี กั ษณะเปน็ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะอยา่ งหยาบ คล้ายใบมดี และเครอ่ื งมือปลายแหลมในสังคมล่าสัตว์ รวมทงั้ เศษภาชนะดนิ เผา แวดนิ เผา (เครอื่ งมอื สำ� หรบั การทอผา้ ) ลกู ปดั หนิ แกว้ และ เคร่ืองมอื เหลก็ ไดจ้ ากอ�ำเภอโพธาราม ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๕๐๙ คณะสำ� รวจกอ่ นประวตั ิศาสตรไ์ ทย-เดนมารก์ ได้ขุดพบ หนิ คาร์เนเลียนและอาเกตุ แหวนและกำ� ไลสำ� ริด กระดูกมนุษย์และสตั ว์ ทส่ี �ำคัญคือ ก�ำไลเปลอื กหอย หลมุ ฝังศพ และหลุมเสาบ้านรวม ๖ หลมุ ที่แหลง่ โบราณคดบี ้านแซ่เสา ต�ำบลหนิ กอง การพบกอ้ นขแี้ รเ่ หลก็ จำ� นวนมากกระจายอยทู่ วั่ ไป แมพ่ มิ พด์ นิ เผาและทอ่ สบู ลมดนิ เผา และกระดองเตา่ อ�ำเภอเมืองราชบุรี หลุมเสาบ้านดังกล่าวมีลักษณะผังบ้านเป็นรูปไข่ ยาวประมาณ ซง่ึ สนั นษิ ฐานได้วา่ แหล่งโบราณคดีหลายแห่งเปน็ แหลง่ ถลงุ เหล็ก บางแห่งเป็นการ ๑๐ เมตร แตล่ ะหลมุ มขี นาดกวา้ งเทา่ กบั กระบอกไมไ้ ผ่ ซงึ่ นกั โบราณคดชี าวเดนมารก์ หลอ่ ขวานสำ� รดิ แสดงถึงความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยกี ารหล่อโลหะ มกี าร ชอ่ื เบยี ร์ ซอเรนเซน (Per Sorensen) ไดจ้ นิ ตนาการวา่ เปน็ ลกั ษณะบา้ นไมท้ มี่ ใี ตถ้ นุ สงู ติดตอ่ ค้าขายกับชมุ ชนอืน่ ทีห่ ่างไกล นอกจากนีย้ ังพบกลองมโหระทึกส�ำหรบั ประกอบ นบั เปน็ รอ่ งรอยการสรา้ งบา้ นแห่งแรกทีพ่ บในประเทศไทย และเชอ่ื วา่ พ้นื ท่นี ้ีเปน็ พธิ กี รรมท่ีมอี ายุประมาณ ๒,๐๐๐ ปมี าแลว้ แหลง่ ทอี่ ย่อู าศัยของมนษุ ย์ในสังคมเกษตรกรรม ๓. กลมุ่ โบราณคดีในแถบทีร่ าบลุ่มแม่นำ้� แมก่ ลอง พน้ื ทแ่ี หล่งโบราณคดี หลงั จากนนั้ ได้มกี ารสำ� รวจและขุดค้นพ้ืนทใี่ นจงั หวดั ราชบุรหี ลายแหง่ และ กระจายอยู่ในเขตอ�ำเภอบ้านโปง่ อ�ำเภอเมอื งราชบุรี และอ�ำเภอบางแพ พบขวาน หลายคณะส�ำรวจ ท�ำใหส้ ามารถแบง่ กลมุ่ ของแหลง่ โบราณคดใี นจังหวดั ราชบรุ ีออกเป็น หนิ ขดั จำ� นวนมาก ซง่ึ สนั นษิ ฐานวา่ อาจเปน็ แหลง่ ผลติ เครอ่ื งมอื หนิ ของมนษุ ยส์ มยั กอ่ น ๓ กลุ่มใหญๆ่ คอื ประวตั ศิ าสตร์ นอกจากนย้ี งั พบหินทุบผา้ เปลือกไม้ แวดินเผา โครงกระดูกมนษุ ย์ ๑. กลุม่ แหลง่ โบราณคดใี นพ้นื ที่สงู แถบเทือกเขาตะนาวศรี พน้ื ที่แหลง่ และสัตว์ ภาชนะดินเผา ลกู กระสุนดินเผา กำ� ไลเปลือกหอย กำ� ไลกระดองเต่าทะเล โบราณคดสี ว่ นใหญอ่ ยู่ในเขตอำ� เภอสวนผงึ้ ใกล้แมน่ ้ำ� ภาชี รวมทงั้ หว้ ยและลำ� น้�ำสาขา เครอ่ื งมือโลหะทำ� จากเหล็กและสำ� ริด ฯลฯ โดยเฉพาะท่ี บ้านโคกพลับ ตำ� บลโพหัก ต่างๆ พบเครอ่ื งมือเครอ่ื งใชข้ องมนุษย์ในสงั คมล่าสัตว์ เช่น ขวานหินกะเทาะ ขวาน อ�ำเภอบางแพ พบโครงกระดูก และโบราณวตั ถเุ ปน็ จ�ำนวนมาก นบั เป็นการพบ หินขดั ชนดิ มีบ่าและไม่มบี ่าทำ� จากหนิ ดินดาน หนิ ควอรต์ ก�ำไลหินท�ำจากหินชนวน แหล่งโบราณคดีแบบสังคมเกษตรกรรมท่ีมีการใช้เคร่ืองมือโลหะในแถบลุ่มแม่น�้ำ เศษภาชนะดินเผาเนื้อหยาบ กระดูกสัตว์จ�ำพวกววั หรือควาย ใบหอกสำ� ริด แหวน และก�ำไลส�ำรดิ ลูกปัดหนิ สี ทีส่ ำ� คญั คอื การพบก้อนขีแ้ ร่ดีบุก ซึ่งอาจนำ� ไปแลกเปล่ยี น เปน็ ครง้ั แรกของประเทศไทย กบั ชุมชนอ่นื ๆ เนอ่ื งจากไม่พบหลกั ฐานการถลงุ แร่ในพ้ืนท่ดี ังกลา่ ว ๒. กลมุ่ แหลง่ โบราณคดใี นเขตที่ราบสลบั กับภูเขาโดด พน้ื ที่แหลง่ โบราณคดี อยใู่ นเขตอำ� เภอจอมบงึ และอำ� เภอโพธาราม สว่ นใหญเ่ ปน็ ถำ้� หรอื เนนิ ดนิ ใกลแ้ หลง่ นำ�้ และท่ีราบทน่ี �้ำทว่ มไมถ่ งึ พบเครือ่ งมอื เครอื่ งใช้ทที่ �ำด้วยหินและโลหะทง้ั ส�ำรดิ และเหลก็ ส่วนประกอบสถาปัตยกรรม บา้ นจ�ำลองของมนษุ ยส์ มยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ ตา่ งหหู ินคารเ์ นเลยี นพบอยกู่ บั ภาชนะดนิ เผาจากบา้ นโคกพลบั สรา้ งตามร่องรอยหลุมเสาพบท่ีแหล่งโบราณคดบี า้ นแซเ่ สา โครงกระดกู มนษุ ย์ อำ� เภอบางแพ จงั หวดั ราชบุรี กลองมโหระทกึ พบทีแ่ หล่งโบราณคดบี า้ นคบู ัว

30 พระพมิ พด์ นิ เผา พบทเี่ มอื งโบราณคบู วั มที งั้ ทเ่ี ปน็ รปู เศียรพระโพธสิ ัตว์ 31 พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ ปางมารวชิ ยั ภายในซมุ้ เรอื นแกว้ สมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ พระพิมพบ์ างชิน้ จะจารกึ คาถา “เย ธมฺมา” เปน็ ภาษา วฒั นธรรมทวารวดี เปน็ กลมุ่ วฒั นธรรมสมยั ประวตั ศิ าสตร์ บาลี ทสี่ ำ� คญั พบพระพมิ พท์ ส่ี ลกั จากหนิ ชนวนสเี ทาขาว ระยะแรกท่ีเกิดขึ้นในบริเวณภาคกลางของประเทศไทยในช่วง จากหลกั ฐานทางโบราณคดที พี่ บในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ราชบรุ ี ทำ� ใหท้ ราบวา่ เปน็ รปู พระพทุ ธเจา้ ประทบั นง่ั ปางสมาธภิ ายใตพ้ ระกลด ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๕ เน่ืองจากมกี ารพบเหรยี ญเงนิ เมอื่ ราว ๑๒,๐๐๐ ปมี าแลว้ มนษุ ยส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรไ์ ดเ้ ขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐาน หรือฉัตรขนาบข้างด้วยพระสถูปและธรรมจักรต้ังอยู่ มคี ำ� จารกึ ดว้ ยอกั ษรปลั ลวะของอนิ เดยี ภาษาสนั สกฤตมคี วามวา่ อาศยั อยู่ในพ้นื ท่สี ูงบริเวณเทอื กเขาตะนาวศรแี ละภเู ขาโดดต่างๆ ดำ� รงชวี ิต บนเสาทโ่ี บราณสถานเมอื งโบราณคบู วั รวมทง้ั ชน้ิ สว่ น “ศรที วารวดี ศวรปณุ ยะ” แปลว่า บญุ ของพระผเู้ ป็นเจา้ แห่ง แบบสงั คมลา่ สตั ว์ สามารถผลิตเครอื่ งมือเครื่องใช้จากหิน ดนิ ไม้ กระดกู สัตว์ ของธรรมจักรท่ีสลักจากหินอันเป็นสัญลักษณ์ทาง ทวารวดี ในพนื้ ทร่ี าบลุ่มแมน่ ำ้� ภาคกลางหลายแห่ง รวมท้ังที่ ต่อมาประมาณ ๓,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ปีมาแลว้ มนุษยส์ มยั ก่อนประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในเมืองโบราณคูบัวดว้ ย เมืองคบู ัว จงั หวัดราชบุรี และหลักฐานจากเอกสารจนี ท่เี รียก ในจงั หวัดราชบรุ จี ึงได้เรม่ิ ต้ังบ้านเรอื น อยรู่ ว่ มกนั เป็นชุมชนกระจายอยูท่ ว่ั ไป อาณาจักรน้วี ่า “โตโลโปติ” ดำ� รงชีวติ แบบสังคมเกษตรกรรมตามบริเวณท่รี าบล่มุ แม่นำ้� แมก่ ลอง และ ทรี่ าบใกลแ้ หล่งน้ำ� อ่นื ๆ พระโพธสิ ตั วส์ ำ� ริด ลกั ษณะสงั คมในอาณาจกั รทวารวดี มรี ะบบการปกครอง ในราว ๒,๐๐๐ ปมี าแลว้ ชมุ ชนในราชบรุ ีจงึ มกี ารใช้เครอ่ื งมอื โลหะ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและศิลปกรรมของ อยา่ งกวา้ งขวาง สันนษิ ฐานว่ามีชมุ ชนที่ร้จู กั แรด่ บี กุ (ซง่ึ มีอย่เู ป็นจ�ำนวนมาก ตนเองภายใตอ้ ิทธพิ ลวฒั นธรรมอินเดีย ผู้คนมีความเชอื่ และ ตามบรเิ วณภูเขา) และนำ� สนิ แร่ดบี กุ ไปค้าขายแลกเปลี่ยนกบั ชุมชนอ่นื ๆ เพื่อ ศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาทงั้ เถรวาทและมหายาน รวมทง้ั ให้น�ำไปถลงุ รวมกบั ทองแดงผลติ เปน็ เครื่องมือสำ� รดิ รวมท้งั มีการแลกเปล่ียน ความเชื่อในศาสนาพราหมณ-์ ฮินดูปะปนอยดู่ ้วย สินค้ากับชุมชนอ่นื ๆ ท่ีอย่หู ่างไกลทำ� ใหม้ กี ารพบลูกปัดแบบอินเดียอย่ใู นแหล่ง โบราณคดีหลายแห่ง ในอดตี ทตี่ ง้ั ของเมอื งโบราณคบู วั และเมอื งโบราณอนื่ ๆ ในวฒั นธรรมทวารวดี ต่อมาชุมชนในแถบเทือกเขาตะนาวศรีสามารถผลิตหรือท�ำเหมืองแร่ ไดแ้ ก่ เมืองนครปฐมโบราณ สุพรรณบรุ ี สิงหบ์ รุ ี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ดบี กุ สว่ นชมุ ชนบนพนื้ ทรี่ าบสงู หรอื ในบรเิ วณภเู ขาโดดในเขตอำ� เภอจอมบงึ และ ปราจนี บรุ ี และชลบุรี ตง้ั อยไู่ มไ่ กลจากทะเลเท่าใดนัก เนื่องจากแนวชายฝ่งั โพธารามกไ็ ดผ้ ลติ เหลก็ หรือทำ� เหมอื งแรเ่ หล็กได้ บางแหง่ เป็นชุมชนเกษตร ทะเลเดมิ อยูล่ ึกเข้าไปในแผ่นดินปจั จบุ นั มาก ยังปรากฏรอ่ งรอยของเปลือก ทมี่ กี ารแบง่ หนา้ ทก่ี นั อยา่ งชดั เจน ในขณะทช่ี มุ ชนในพนื้ ทร่ี าบลมุ่ แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง หอยทะเลในชน้ั ดิน แสดงว่าบรเิ วณเมืองโบราณคูบัวเปน็ พน้ื ท่ที ่นี ้�ำทะเลเคย อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี และอำ� เภอบางแพ เปน็ กลมุ่ ทม่ี คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ สงู กวา่ ท่วมถงึ ชมุ ชนอน่ื ๆ เนอ่ื งจากมพี นื้ ทต่ี ง้ั อยใู่ กลท้ ะเล จงึ สามารถคา้ ขายตดิ ตอ่ แลกเปลย่ี น การมที ตี่ ง้ั อยบู่ รเิ วณลมุ่ นำ้� แมก่ ลอง ทำ� ใหเ้ มอื งคบู วั มเี สน้ ทางคมนาคม กับชมุ ชนใกลแ้ ละไกลไดโ้ ดยงา่ ย สามารถขยายตวั เป็นชุมชนขนาดใหญ่นำ� ไป ตดิ ตอ่ กบั ชมุ ชนภายนอกไดส้ ะดวก เชน่ ทางเหนอื มรี อ่ งรอยลำ� นำ�้ เกา่ ขนานกบั ส่กู ารก่อรา่ งสร้างเมอื งไดใ้ นเวลาตอ่ มา แม่น้�ำแมก่ ลองในเขตตำ� บลบ้านมว่ ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง ซง่ึ พบโบราณวตั ถุ ในวัฒนธรรมทวารวดขี น้ึ ไปถงึ เมืองโบราณพงตกึ ในอ�ำเภอท่ามะกา จงั หวัด สมยั ประวัติศาสตร์ เมืองโบราณคูบัวมีภาพปูนปั้นรูปบุคคลท�ำด้วยดินเผา สว่ นประกอบสถาปตั ยกรรม กาญจนบุรี ส่วนทางใต้มเี ส้นทางไปถึงเมืองเพชรบุรีโบราณ ต่อไปถงึ ดนิ แดน สะทอ้ นลักษณะรปู ร่าง หน้าตา การแต่งกาย การ รูปหน้าสงิ หด์ ินเผา ในประเทศเมยี นมาร์และลงไปถงึ คาบสมทุ รภาคใต้ ทางตะวนั ออก มีรอ่ งรอย หลกั ฐานทางด้านโบราณคดีทั้งร่องรอยเมืองโบราณ โบราณสถาน ด�ำรงชวี ิต ตลอดจนลกั ษณะสงั คมและเศรษฐกิจของ ของแนวสันทรายไปสู่เมอื งนครปฐมโบราณ แล้วใช้แมน่ ำ�้ ท่าจีนไปยังเมอื ง และโบราณวัตถุจ�ำนวนมากแสดงให้เห็นว่ามีชุมชนเมืองโบราณหลายแห่ง ผ้คู นในวฒั นธรรมทวารวดอี ย่างชดั เจน วัดโขลงสุวรรณคีรี ทเี่ มอื งโบราณคบู ัว อทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สว่ นทางทศิ ตะวนั ตกสามารถใชล้ ำ� นำ้� ไปยงั แมน่ ำ้� ออ้ ม ตงั้ กระจายอยตู่ ามสองฝากฝง่ั แมน่ ำ้� แมก่ ลอง ในเขตอำ� เภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอ แมน่ ้�ำแมก่ ลอง และอา่ วไทยได้ วัดเพลง และอ�ำเภอบา้ นโป่ง รวมทั้งพ้นื ทเ่ี ชิงเขาในอำ� เภอสวนผ้งึ ลว้ นมี ภายในตัวเมืองและนอกเมืองมีร่องรอยฐานของสถูปเจดีย์เนื่องใน รูปแบบและลักษณะคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทวารวดีท่ีพบในเมืองนครปฐม พระพทุ ธศาสนาในลทั ธเิ ถรวาทและมหายาน สว่ นใหญก่ อ่ ดว้ ยแผน่ อฐิ ขนาดใหญ่ โบราณ เมอื งโบราณอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และเมอื งโบราณพงตกึ ในจงั หวดั บางแหง่ ประดับตกแต่งอาคารโบราณดว้ ยภาพดินเผาและปนู ปน้ั ซึง่ มที งั้ รูป กาญจนบรุ ี พระโพธสิ ตั ว์ พระพทุ ธรูป เทวดา อมนษุ ย์ เช่น นาค ครฑุ คนธรรพ์ ยกั ษ์ คนแคระ และสตั ว์ต่างๆ ทงี่ ดงามมาก แสดงถึงฝมี ือชา่ งชนั้ สงู ทมี่ ีอย่ใู นเมอื ง ราชบรุ ีในวัฒนธรรมทวารวดี ปรากฏหลักฐานทีส่ ำ� คญั ได้แก่ โบราณคูบวั เมอื งโบราณคูบวั เปน็ ร่องรอยเมอื งโบราณอยใู่ นทอ้ งทต่ี ำ� บลคูบัว อ�ำเภอเมืองราชบุรี แผนผงั เมืองเปน็ รปู สเี่ หลยี่ มผืนผ้า ขนาดกวา้ งประมาณ ๘๐๐ เมตร ยาวประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร มีคนู ำ�้ และคันดินลอ้ มรอบ และ มีลักษณะคล้ายคลึงกับเมืองโบราณนครชัยศรีหรือเมืองนครปฐมโบราณ

32 33 แหลง่ โบราณคดีบนเทือกเขางู ตั้งอยู่ทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ของ ในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ วฒั นธรรมทวารวดที ่เี จริญร่งุ เรอื งได้ อำ� เภอเมืองราชบุรี เปน็ แหล่งท่พี บร่องรอยหลกั ฐานสำ� คญั เนอ่ื งในวัฒนธรรม ลม่ สลายลง อาจเนอื่ งจากภัยธรรมชาติ คอื การเปลย่ี นทศิ ทางเดินของแมน่ ้�ำ ทวารวดใี นถำ้� ๔ แห่ง สนั นิษฐานวา่ ในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ พระภิกษุ ออ้ ม ท่เี ปน็ แหล่งนำ�้ ส�ำคัญ ทำ� ใหเ้ มอื งเกิดการขาดแคลนนำ้� และไมส่ ะดวกใน ในเมืองโบราณคูบัวใช้เป็นท่ีปฏิบัติธรรมและประกอบพิธีกรรมจึงมีการสลัก การตดิ ตอ่ กับชมุ ชนชายฝัง่ ทะเล หรือแนวชายฝง่ั ทะเลได้เปลย่ี นแปลงท�ำให้ พระพุทธรปู ตามผนังถ�้ำ แสดงถงึ ฝมี ือชา่ งในศิลปวัฒนธรรมทวารวดที งี่ ดงาม ชายฝง่ั ทะเลหา่ งไกลจากชมุ ชนยง่ิ ขึ้น เป็นเหตุให้การคา้ ซบเซาลง ทำ� ใหม้ ี และมีความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งสงู การยา้ ยชมุ ชนไปต้ังใหมท่ างฝัง่ ตะวันตกของแมน่ �้ำแม่กลอง หรอื เป็นเพราะ ถ�้ำฤๅษี ตั้งอยู่บรเิ วณเชงิ เขางู มภี าพพระพทุ ธรปู จ�ำหลกั หนิ ประทับนง่ั อ�ำนาจทางการเมืองของอาณาจักรเขมรเข้ามาครอบคลุมดนิ แดนในทร่ี าบลมุ่ หอ้ ยพระบาทพระหัตถ์ซา้ ยวางบนพระเพลา พระหตั ถข์ วาแสดงปางวติ รรกะ แมน่ ำ้� ตอนกลางของประเทศไทยแทนทอ่ี าณาจกั รทวารวดี หรือปางแสดงธรรมเทศนา ซ่ึงได้รบั อิทธพิ ลมาจากอนิ เดยี ด้านล่างสดุ ของ พระบาทมจี ารกึ อกั ษรปลั ลวะของอนิ เดยี ภาษาสนั สกฤต ความวา่ “ปญุ กรมชฺ ระ พระพุทธรปู จำ� หลักหนิ ภายในถำ�้ ฤาษี ภาพสลกั พระพุทธรปู ปางไสยาสน์ในถ�้ำจาม ราชบุรีในวัฒนธรรมเขมร ศรสี มาธคิ ปุ ตฺ ะ” แปลวา่ “พระศรสี มาธคิ ปุ ตะเปน็ ผบู้ รสิ ทุ ธด์ิ ว้ ยการทำ� บญุ ” พระพทุ ธรูปจ�ำหลักหนิ ภายในถ�ำ้ จนี ถ้�ำจนี ตัง้ อยู่บนไหลเ่ ขาสงู ของเทอื กเขางู ภายในถ�้ำมภี าพพระพุทธรูป พระปรางคว์ ดั มหาธาตุ ภาพสลักพระพุทธรปู ปางไสยาสน์ในถำ้� ฝาโถ ในช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ อิทธิพลของวัฒนธรรมเขมรได้ ปูนป้นั ประดบั อยู่บนผนงั ๒ องค์ ดา้ นในเปน็ พระพทุ ธรูปปางปฐมเทศนา แพรข่ ยายเขา้ มาในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ราชบรุ ี แตป่ รากฏหลกั ฐานชดั เจนในพทุ ธศตวรรษ ดา้ นนอกเหลืออยู่เพยี งครึง่ องค์ ที่ ๑๗ - ๑๘ ตรงกบั สมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ ซงึ่ เปน็ มหาราชองคส์ ดุ ทา้ ยของ ถ�ำ้ จาม ตง้ั อย่บู นไหล่เขาสูงเหนอื ถ้ำ� จนี ภายในถำ�้ มภี าพสลักบนผนัง อาณาจักรเขมรท่ีส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานไปยังเมือง ทุกดา้ น เป็นภาพพระพุทธรูปปางตา่ งๆ ต้นไม้ และบุคคล ทีผ่ นงั ดา้ นตะวนั ตก ต่างๆ ท่มี ีความสัมพันธก์ บั เขมร ดังปรากฏชอื่ ของเมอื งราชบุรีอยู่ในศลิ าจารกึ เปน็ ภาพพระพทุ ธรูปปางไสยาสน์ ดา้ นหลงั เป็นลวดลายปูนปั้นรูปต้นสาละ มี ปราสาทพระขรรค์ ทน่ี ครวดั ประเทศกมั พชู า มขี อ้ ความกลา่ วถงึ การพระราชทาน ความหมายถึงพระพุทธเจ้าเสด็จสู่มหาปรินิพพานซ่ึงนับเป็นภาพพระพุทธรูป พระพุทธรูปนามวา่ “พระชัยพทุ ธมหานาถ” ไปประดษิ ฐานยงั เมอื งตา่ งๆ ปางไสยาสนท์ ี่เกา่ แกท่ ี่สดุ ทีพ่ บในประเทศไทย จำ� นวน ๒๓ แห่ง ในความตอนหนึ่งวา่ ถำ้� ฝาโถ ภายในผนงั ถ้ำ� มีภาพสลัก บนผนังทางดา้ นทิศใต้เปน็ ภาพ พระพุทธไสยาสนข์ นาดใหญ่ เหนอื ข้ึนไปเป็นภาพเทพชมุ นุม และภาพปูนปน้ั “....ศรีชยราชธานี ศรีชยันตนครี ชยสิงหวตี ตน้ ไม้ ส่วนผนงั ด้านทิศเหนอื เป็นภาพสลกั พระสาวกสององค์ ศรชี ยวรี ตี ละโว้ทยปรุ ี สวุ รรปุระ วดั มหาธาตุ ตำ� บลหนา้ เมอื ง อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี เปน็ รอ่ งรอยหลกั ฐาน ศมั พูกปฏั ฏนะ ชยราชบรุ ี ศรีชยสงิ หปุรี...” การสรา้ งพระปรางคเ์ นอื่ งในวฒั นธรรมทวารวดี และพระพทุ ธรปู สลกั หนิ สเี ทา และสดี ำ� ขนาดใหญ่ในบริเวณระเบียงคด ลอ้ มองค์ปรางค์ประธานมีลักษณะ ภาพสลกั พระสาวกสององค์หน้าถ�ำ้ ฝาโถ ชือ่ เมืองดังกล่าวนแ้ี มไ้ มช่ ดั เจนวา่ อย่ใู นท้องที่ใด แต่หลายเมอื ง เป็นพุทธศิลป์แบบทวารวดี สนั นษิ ฐานวา่ อยใู่ นดนิ แดนไทย เชน่ เมอื งละโวท้ ยปรุ ี สนั นษิ ฐานวา่ คอื เมอื งละโว้ วัดเขาเหลอื ในอ�ำเภอเมอื งราชบรุ ี พบเทวรูปพระอิศวรหรอื พระศวิ ะ หรือลพบรุ ที ี่มีศาสนสถานแบบอาณาจกั รเขมรหลายแห่ง เช่น ศาสนสถาน เนือ่ งในศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู ปรางคแ์ ขก ศาลพระกาฬ และพระปรางคส์ ามยอด ในบริเวณเขาวัดสะดงึ ในท้องที่ตดิ กบั เขตโพธาราม พบช้ินส่วน เมอื งสวุ รรปุระ สันนิษฐานวา่ เป็นชุมชนหนงึ่ ในเมอื งสุพรรณบรุ ที ม่ี ี ประติมากรรมหนิ ขนาดเล็กเป็นรปู คชลักษมี คล้ายคลึงกับประตมิ ากรรมหิน ศาสนสถานสำ� คญั ตงั้ อยู่ ศรีชยสงิ หปรุ ี สันนิษฐานว่าเป็นเมอื งสงิ ห์ จังหวดั ที่พบทเ่ี มอื งนครปฐมโบราณ กาญจนบรุ ที ม่ี ปี ราสาทเมอื งสงิ หเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางเมอื ง เมอื งชยราชบรุ ี จงึ นา่ จะ นอกจากนย้ี งั พบรอ่ งรอยของชมุ ชนโบราณหลายแหง่ บางแหง่ มฐี านสถปู หมายถึงเมอื งราชบุรีทม่ี ีพระปรางค์วดั มหาธาตเุ ป็นศนู ยก์ ลาง ตั้งอย่ทู างทศิ และเครอ่ื งประดับประเภทลูกปัด เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา ซากเรือจมในเขตอำ� เภอ ตะวนั ตกรมิ ฝัง่ แม่นำ้� แม่กลอง ซงึ่ สันนิษฐานว่าสรา้ งขนึ้ ในวฒั นธรรมทวารวดี วดั เพลงตอ่ เนอ่ื งกบั อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี ชนิ้ สว่ นประดบั สถาปตั ยกรรม ทงั้ ทเ่ี ปน็ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๖ ตอ่ มาเมอ่ื วฒั นธรรมเขมรไดแ้ พรเ่ ขา้ มาจงึ ได้ ดินเผาและปนู ปัน้ ในเขตอำ� เภอบา้ นโป่ง ในเขตอ�ำเภอสวนผง้ึ บริเวณเชิงเขา มกี ารสรา้ ง “ปราสาท” ซอ้ นทบั ลงไปเพอื่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางของเมอื งตามความเชอ่ื ส�ำปะแจ ในถ�ำ้ พระพิมพ์ พบพระพมิ พ์เป็นภาพพระพุทธรูปประทับน่ังหอ้ ย ของเขมร ซึง่ ภายหลังคงได้ชำ� รดุ หักพังลง จงึ ไดส้ รา้ งพระปรางค์ตามรูปแบบ พระบาท ปางแสดงพระปฐมเทศนาภายใต้สถูปแบบพทุ ธคยาทอี่ ินเดีย มีสถปู ทป่ี รากฏในปัจจบุ นั ขนาดเลก็ โดยรอบ ที่ฐานมคี าถา “เยธมมฺ า” ซ่ึงถือเป็นหัวใจพระพทุ ธศาสนา

34 35 รอดคณที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบรุ ี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งทะเล พระโพธิสัตวอ์ วโลกเิ ตศวร ทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำแม่กลองพบ ไหส่หี เู คลอื บสนี ำ้� ตาล สมทุ รเป็นท่ีแลว้ เบ้ืองตะวนั ตก รอดเมอื งฉอด เมอื ...น หงสาวดี สมุทรหา รอ่ งรอยเมืองโบราณ นอกก�ำแพงเมอื ง มสี ระนำ้� เครื่องถว้ ยเคลือบสีเขียว ศลิ ปะจนี เป็นแดน เบื้องตีนนอน รอดเมืองแพร่ เมอื งมา่ น เมอื งน...เมอื งพลวั พน้ ฝ่งั กว้างใหญเ่ รียกว่า “สระโกสินารายณ์” ภายใน ของเมอื งขวา เป็นที่แล้ว...” ตัวเมืองมีโบราณสถานขนาดใหญเ่ รยี กวา่ “จอม แสดงให้เห็นว่าราชบุรีเป็นหนึ่งในกลุ่มเมืองชาวไทยที่รวมอยู่ใน ปราสาท” ทั้งภายในและภายนอกตวั เมอื งมี อาณาจักรสุโขทัย และคงเป็นเมอื งทา่ ในเส้นทางการคา้ ระหวา่ งหวั เมืองในเขต ร่องรอยเนินโบราณสถานขนาดเล็กอยู่หลายแห่ง ท่รี าบลุ่มแมน่ �ำ้ เจา้ พระยากบั หัวเมอื งตะนาวศรี ซงึ่ เปน็ เมอื งทา่ ชายฝั่งทะเล โบราณสถานจอมปราสาทซงึ่ สนั นษิ ฐานวา่ รปู ทรง อนั ดามนั ในบริเวณอา่ วมะตะบนั หรอื เมาะตะมะ (อย่ใู นประเทศเมียนมารใ์ น อาคารมีลักษณะเป็นปราสาทในวัฒนธรรมเขมร ปจั จุบนั ) ประติมากรรมชิ้นสำ� คัญที่พบคือ “พระโพธสิ ตั ว์ ความส�ำคัญของเมืองราชบุรีในฐานะเส้นทางการค้ามีปรากฏใน อวโลกเิ ตศวร” สลกั จากหนิ ทรายในพระพทุ ธศาสนา ศลิ าจารกึ เขากบ พบทอ่ี ำ� เภอเมอื งนครสวรรค์ กลา่ วถงึ เสน้ ทางแสวงบญุ ของ ลัทธมิ หายาน และชน้ิ ส่วนลวดลายปนู ป้นั ทใ่ี ช้ พระเถระ ซงึ่ อาจเป็น “พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจฬุ ามณ”ี ท่เี ดนิ ทางจาก ประดบั ตกแตง่ โบราณสถานจอมปราสาท แสดงถงึ สุโขทยั ไปถึงประเทศศรีลงั กา ความว่า “ข้ามมาลตุ ะนาวศรี เพอื่ เลอื กเอาฝูง การผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมเขมร และ คนด.ี ..สงิ หลทีป รอดพระพทุ ธศรอี ารยไมตรี เพชรบุรี ราชบุรี น...ส อโยธยา วัฒธรรมทวารวดีท่ีเป็นพ้ืนฐานด้ังเดิมของผู้คน ศรรี ามเทพนคร...” รวมทงั้ หลกั ฐานทางดา้ นโบราณวตั ถุ เชน่ เครอื่ งเคลอื บจนี ในดนิ แดนแห่งน้ี และเครือ่ งถ้วยสังคโลก จากเตาเผาเมืองศรีสัชนาลยั และสุโขทัย ในแมน่ ้ำ� การพบเครื่องถ้วยจีนที่มีอายุร่วมสมัย แม่กลองก็เป็นหลักฐานยืนยันถึงความส�ำคัญของเมืองราชบุรีในฐานะเมืองท่า เดียวกับวัฒนธรรมเขมรจมอยู่ในแม่น�้ำแม่กลอง บนเส้นทางคา้ ขายระหว่างเมืองดงั กล่าว จึงมผี ู้คนเดินทางเข้ามาค้าขาย รวมทั้งแผน่ พิมพ์ดินเผาจารกึ อกั ษรจีน และ ตง้ั ถนิ่ ฐาน และแลกเปลย่ี นวฒั นธรรมกนั ตอ่ มาเมอื่ อาณาจกั รอยธุ ยา สถาปนา ลักษณะหน้าตาของรูปปั้นยักษ์ประดับตกแต่ง กรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานีข้นึ ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ และไดข้ ยายอำ� นาจครอบครอง โบราณสถานคล้ายขุนนางจีนแสดงถึงการติดต่อ ดินแดนตา่ งๆ โดยรอบ โดยเฉพาะอาณาจกั รสุโขทัย ส่งผลให้เมืองราชบรุ ี ค้าขายและอิทธิพลของศิลปะจีนที่มีอยู่ในราชบุรี ถกู รวมเขา้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจกั รอยุธยาดว้ ย ในฐานะหวั เมืองช้นั ในที่ มาชา้ นานแล้ว ขึ้นอยกู่ บั การปกครองสว่ นกลางหรือราชธานโี ดยตรง เมื่ออาณาจักรอยุธยาท�ำสงครามกับอาณาจักรพม่าครั้งแรกในศึก ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ภายหลงั การสวรรคตของพระเจา้ ชยั วรมนั เชยี งกรานสมยั พระเจ้าไชยราชาธริ าช (พ.ศ. ๒๐๗๗ - ๒๐๘๙) และศกึ อีก ที่ ๗ อาณาจักรเขมรเร่มิ เส่อื มอ�ำนาจลง ส่งผลให้หัวเมืองตา่ งๆ แยกตัวเป็น หลายครง้ั ตลอดสมัยอยุธยา เมืองราชบรุ จี ึงไดก้ ลายเป็นเมอื งหนา้ ดา่ นส�ำคัญ อสิ ระ คนไทยทก่ี อ่ รา่ งสรา้ งบา้ นเมอื งในพน้ื ทตี่ า่ งๆ กไ็ ดร้ วมตวั กนั เปน็ ปกึ แผน่ ของอาณาจกั รอยธุ ยา และเปน็ พน้ื ทพี่ ำ� นกั ของชาวมอญทห่ี นศี กึ พมา่ เขา้ มาพง่ึ แล้วสถาปนาอาณาจักรไทยขึ้นหลายพ้ืนท่ีและสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรือง พระบรมโพธสิ มภารกษัตริยอ์ ยุธยา ทงั้ สงครามระหว่างพม่ากบั ไทย ทำ� ให้เกดิ บนผนื แผน่ ดนิ ไทยสบื ตอ่ มาจนถงึ ปัจจุบนั น้ี การอพยพผคู้ นไปมา เกดิ ชมุ ชนใหมๆ่ ในหลายพน้ื ทข่ี องจงั หวดั ราชบรุ ี เกอื บ ตลอดชว่ งสมยั อยุธยา ราชบุรมี บี ทบาทสำ� คญั ในการท�ำศกึ กับพมา่ เจ้าเมือง ราชบรุ ใี นวัฒนธรรมไทย มีบรรดาศักด์ิเปน็ “พระยา” และมีหนา้ ท่ีในการรวบรวมก�ำลงั คน ส�ำหรบั การ ปอ้ งกนั อาณาจกั รไทย และคุมไพร่พลเป็นกองหนนุ หรือเปน็ กองโจรดกั ซมุ่ ราชบรุ เี ปน็ ค�ำทม่ี ีรากศัพท์มาจากภาษาสนั สกฤต แปลวา่ เมอื งแห่ง แบบจำ� ลองโบราณสถานเมอื งโบราณคูบวั โจมตีกองทหารพม่าทย่ี กเข้าดินแดนไทย โดยมี “ยกกระบัตร” ซง่ึ เปน็ ขนุ นาง พระราชาหรือดินแดนของพระราชา ร่องรอยการตัง้ ถิ่นฐานและเมืองโบราณ จากราชส�ำนักอยุธยาส่งมาให้ท�ำหน้าที่ควบคุมและดูแลการปฏิบัติหน้าท่ีของ รวมทั้งนามเมอื ง “ชยราชบรุ ”ี ในศลิ าจารกึ ยอ่ มแสดงถงึ ความเจริญร่งุ เรอื ง เจ้าเมือง รวบรวมส่วยจากเมอื งราชบุรี เช่น งาชา้ ง ดนิ ปะสิว กำ� มะถัน ของกลมุ่ คนในทอ้ งถิน่ ราชบรุ ีทมี่ มี าชา้ นาน ก่อนทจ่ี ะถกู รวมเข้าเป็นสว่ นหนึ่ง ไมฝ้ าง ไมแ้ ดง สง่ ใหเ้ มอื งหลวงหรอื กรงุ ศรอี ยธุ ยา ตำ� แหนง่ ยกกระบตั รเมอื ง ของอาณาจักรสุโขทัย ดงั ปรากฏชื่อเมืองราชบุรีร่วมกบั หัวเมืองตา่ งๆ ใน ราชบรุ ี ปลายสมยั อยุธยาน้ี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ศิลาจารกึ สุโขทยั หลักที่ ๑ สมยั พ่อขนุ รามค�ำแหงมหาราช จารกึ ขนึ้ ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๘๒๖-๑๘๓๕ ความวา่ “...มเี มอื งกวา้ งชา้ งหลาย ปราบเบอื้ งตะวนั ออก รอดสรหลวง สองแคว ลุมบาจาย สคา เทา้ ฝ่ังของ เถิงเวยี งจันทน์ เวียงคาเป็นที่แลว้ เบื้องหวั นอน

36 พระประธานภายในวหิ ารแกลบ วิหารแกลบวดั เขาเหลือ 37 ปฐมกษตั รยิ ร์ าชวงศจ์ กั รใี นสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เคยรบั ราชการในตำ� แหนง่ ดงั กลา่ ว พระบรมราชานสุ าวรีย์ จิตรกรรมภายในวหิ ารแกลบวดั เขาเหลือ จงึ ไดม้ กี ารอพยพผคู้ นทกี่ วาดตอ้ นมาจากเมอื งตา่ งๆ ทไี่ ดไ้ ปทำ� สงคราม โดยเฉพาะ ก่อนท่กี รงุ ศรีอยธุ ยาจะเสยี แกก่ องทัพพมา่ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๑๐ อยา่ งไรกต็ าม สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช สงครามกบั เขมร ลา้ นนา (เชยี งใหม)่ ลา้ นชา้ ง และหลวงพระบาง (ลาว) เพอื่ ให้ ราชบุรีก็ยังคงเป็นเมืองท่าค้าขายบนเส้นทางการคมนาคมการค้าทางด้าน เข้ามาเป็นก�ำลงั แรงงานสำ� คัญในการรบั ศึกพมา่ ผู้คนที่ถูกกวาดต้อนมีหลาย ตะวันตกท่ีจะเขา้ สกู่ รุงศรอี ยุธยา ซงึ่ มฐี านะเป็นศนู ย์กลางการคา้ นานาชาติท่ี เช้ือชาติ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ ชาวมอญ เขมร และลาว เข้ามาปะปนอย่กู บั ชาว สำ� คญั แหง่ หนงึ่ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยสว่ นใหญพ่ อ่ คา้ นานาชาติ พืน้ เมอื งเดิม ทผ่ี ่านเขา้ มาทางทะเลอนั ดามัน ทางเมอื งตะนาวศรี มะรดิ และเมอื งอน่ื ๆ ในสมยั ต้นรัตนโกสนิ ทร์ (รชั กาลท่ี ๑ - ๓) อาณาจักรไทยยงั คงทำ� จะเดินทางบกเข้ามายงั เมอื งเพชรบรุ ี ผ่านแมน่ ้�ำเพชรบุรีและแม่น�้ำแมก่ ลอง สงครามกับพม่าตอ่ เนอ่ื งจากสมยั อยุธยาและธนบุรี สงครามคร้งั สำ� คญั ได้แก่ ทางเมืองราชบรุ แี ละแมน่ ำ�้ ท่าจีนสู่แมน่ ้ำ� เจา้ พระยาไปถึงกรงุ ศรอี ยุธยา การ สงครามเกา้ ทพั (พ.ศ. ๒๓๒๘) ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า ตง้ั อยใู่ นเสน้ ทางคมนาคมดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ยความอดุ มสมบรู ณท์ างธรรมชาติ จุฬาโลกมหาราช กองทัพพมา่ ยกทพั ใหญถ่ งึ ๙ ทัพมาตอี าณาจักรไทย ทพั ทำ� ใหร้ าชบรุ เี ปน็ เมอื งทม่ี ผี คู้ นหนาแนน่ และหลายชาตหิ ลายภาษา ทง้ั ชาวจนี พมา่ ยกเข้ามาทางดา่ นบอ้ งต้ีเพอื่ ตหี วั เมอื งตะวันตก จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ ชาวมอญ ชาวอินเดีย เปอร์เซยี อาหรับ และชาวยุโรป ดังปรากฏในภาพ เจา้ พระยาธรรมา (บญุ รอด) กบั พระยายมราช คมุ กำ� ลงั พลมารบกบั พมา่ ทเี่ มอื ง จติ รกรรมภายในวิหารแกลบวัดเขาเหลือ อำ� เภอเมืองราชบุรี ราชบรุ ี แตเ่ นอ่ื งจากทัพไทยประมาท พม่าสามารถยกทัพล่วงลำ�้ เขา้ มาต้งั ค่าย ในสมยั ธนบรุ ี ราชบรุ ยี ังคงเป็นเมอื งสำ� คญั ในฐานะเมอื งหนา้ ด่าน อยทู่ ท่ี งุ่ จอมบงึ และดา่ นเจา้ เขวา้ รมิ แมน่ ำ�้ ภาชี สงครามดงั กลา่ วทพั ไทยไดร้ บั และสมรภูมิสงครามกับพม่าเชน่ เดียวกับสมยั อยธุ ยา เนอ่ื งจากมีพนื้ ท่ตี ิดกบั ชยั ชนะเมอื่ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลมหาสรุ สงิ หนาทมชี ยั ชนะทล่ี าดหญา้ ดา่ นเจา้ เขวา้ ในบรเิ วณริมแมน่ ้ำ� ภาชี ในทอ้ งทีบ่ ้านดา่ น ต�ำบลชฏั ปา่ หวาย แลว้ จงึ ใหก้ องทหารเขา้ ตคี า่ ยพมา่ ที่ราชบุรจี นพา่ ยหนีไป ในรัชกาลนี้ไทยได้ อำ� เภอสวนผง้ึ โดยเสน้ ทางการเดนิ ทพั ของพมา่ จะมาทางเมอื งทวาย ดา่ นบอ้ งตี้ ยกทพั ไปช่วยเมืองเชียงใหม่ทำ� ศึกกบั พม่าเม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๕ และตีทัพพมา่ ที่ เทอื กเขาตะนาวศรี แลว้ เลยี บลงมาทางใต้เข้าเขตราชบุรขี า้ มแมน่ �้ำภาชี ผ่าน เมอื งเชียงแสนจนแตกพ่ายไป และเพอื่ มใิ หเ้ มอื งเชยี งแสนเป็นทตี่ ัง้ กำ� ลังของ ชอ่ งเขา เข้ามาถงึ เขตอำ� เภอจอมบงึ ก่อนถงึ ท่งุ เขางซู ึ่งเปน็ สมรภูมริ บใกล้ พมา่ ได้อีก จึงใหร้ ้อื กำ� แพงเมืองพรอ้ มกวาดต้อนครัวเรอื นชาวโยนกเชยี งแสน ตวั เมอื งราชบุรี สงครามคร้ังสำ� คัญ ได้แก่ สงคราม พ.ศ. ๒๓๑๑ พมา่ ยกทพั (ไทยยวน) กระจายไปอย่ใู นหลายเมืองและบางส่วนมาอยทู่ เี่ มอื งราชบรุ ี เขา้ มาทางเมอื งทวายเขา้ มาลอ้ มคา่ ยทหารจนี ทบี่ างกงุ้ เขตพรมแดนเมอื งราชบรุ ี ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) กบั เมืองสมทุ รสงคราม สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชได้ให้ทพั ไทยเข้าตที ัพ ไดโ้ ปรดเกล้าฯให้ปรบั ปรงุ เขตแดนบางท้องทใี่ นสงั กดั เมืองราชบรุ ี สพุ รรณบุรี พมา่ ทบ่ี างก้งุ สว่ นพระองค์ทรงคุมกองทพั เรอื จากสมทุ รสงครามตที พั พม่าจน และกาญจนบรุ ี และพิจารณาเห็นว่าตัวเมอื งราชบรุ ีเดมิ ไม่เหมาะสมในทาง แตกพา่ ยไป ยุทธศาสตร์ หากฝา่ ยไทยเสยี เปรยี บทัพพมา่ จะถอยทัพล�ำบาก เพราะมแี มน่ ำ�้ สงคราม พ.ศ. ๒๓๑๗ หรือศึกบางแกว้ เนื่องจากพม่าตีหัวเมอื งมอญ ขวางกนั้ อยู่ จงึ ใหย้ า้ ยตวั เมอื งราชบรุ จี ากฝง่ั ขวาหรอื ฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ�้ ไปอยู่ ท�ำให้พระยาแจ่ง หัวหนา้ ครวั มอญพาครอบครวั อพยพหนเี ข้ามาไทยทาง ฝง่ั ซา้ ยหรอื ฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ�้ แมก่ ลอง โดยมกี ารวางศลิ าฤกษฝ์ งั หลกั เมอื ง ดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ กองทัพพม่าจงึ ตามครัวมอญเขา้ มาถึงดนิ แดนไทย และ เม่อื พ.ศ. ๒๓๖๐ แลว้ จงึ ก่อสรา้ งกำ� แพงเมอื ง ป้อม ประตเู มือง และ กวาดต้อนผู้คนในหวั เมืองราชบรุ ี สมุทรสงคราม และเพชรบุรี โดยกองทัพ สง่ิ กอ่ สร้างอื่นๆ จนแลว้ เสร็จ (ปจั จุบนั เป็นท่ีตัง้ ของกรมการทหารช่าง และ พมา่ ตัง้ ค่ายขึ้นท่บี ้านบางแกว้ ในพ้นื ท่ีตำ� บลเขาชะงุ้ม เขตอำ� เภอโพธาราม จงั หวดั ทหารบกราชบรุ )ี ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงยกทัพเรือไปยังเมืองราชบุรี ๒๓๖๗-๒๓๙๔) เมอื งราชบรุ ยี งั คงเปน็ เสน้ ทางการคมนาคมสำ� คญั ทางตะวนั ตก ตั้งค่ายหลวงอยทู่ างฝ่งั ตะวันตกของแม่น้�ำแมก่ ลอง โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ กบั กรงุ เทพมหานครราชธานขี องไทย ดงั เชน่ ใน พ.ศ. ๒๓๘๑ มสิ เตอรร์ ชิ ารด์ สนั ลกู ยาเธอพระองคเ์ จา้ จยุ้ กบั พระธเิ บศบดตี งั้ คา่ ยทโี่ คกกระตา่ ย (ปจั จบุ นั อยใู่ น (Mr. Richardson) ชาวองั กฤษ ไดถ้ อื สาสน์ เจา้ เมอื งเบงกอลซง่ึ เปน็ ผวู้ า่ ราชการ ทอ้ งทต่ี ำ� บลธรรมเสน อำ� เภอโพธาราม) เพอื่ รกั ษาเมอื งราชบรุ รี ว่ มกบั ทหารจนี บรษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออกขององั กฤษ เดนิ ทางมาขน้ึ บกผา่ นเมอื งเมาะลำ� เลงิ เมอื ง ศึกบางแกว้ ใช้เวลานานกวา่ เดือนครึง่ เมอื่ เจ้าพระยาจกั รแี ละเจา้ พระยาสรุ สหี ์ ตะกรานของพมา่ เขา้ มาทางเมอื งกาญจนบรุ ี ผา่ นเมอื งราชบรุ ี และนครชยั ศรี ยกทพั มาสมทบชว่ ยรบพม่าท่รี าชบุรี กองทัพพม่าจงึ แตกพ่ายไป เขา้ มายงั กรงุ เทพฯ ทางดา้ นเศรษฐกจิ เมอื งราชบรุ ใี นสมยั ธนบรุ คี งซบเซาลงไมร่ งุ่ เรอื งดงั เชน่ สมยั อยธุ ยา เนอ่ื งจากสาเหตหุ ลายประการ เชน่ การสงคราม เกดิ ทพุ ภกิ ขภยั พระบรมราชานุสาวรีย์ ข้าวยากหมากแพง แตเ่ นือ่ งจากเมืองราชบรุ ียงั คงเป็นเมอื งหน้าดา่ นสำ� คัญ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

38 39 เจา้ เมอื งราชบุรใี นสมยั ตน้ รตั นโกสินทร์ นอกจากนยี้ งั เปน็ การเสดจ็ ประพาสตน้ ในพนื้ ทจี่ งั หวดั ราชบรุ ถี งึ ๒ ครง้ั ลำ� ดบั ที่ พระนามหรอื นาม ใน พ.ศ. ๒๔๔๗ เป็นการเสด็จประพาสต้นทางชลมารคทคี่ ลองดำ� เนินสะดวก นบั เปน็ ครง้ั แรกของการเสดจ็ ประพาสตน้ และกลายเปน็ เรอ่ื งราวทเ่ี ลา่ ขานสบื มา ๑ พระยาราชบรุ ี (เสม วงศาโรจน์) จนถึงปจั จบุ ันน้ี เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงปฏิรูปการ ๒ พระยาราชบรุ ี (แสง วงศาโรจน์) ปกครองทั้งส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค และสว่ นทอ้ งถ่นิ ได้แบง่ การปกครอง หัวเมืองออกเป็นมณฑล เรียกวา่ มณฑลเทศาภบิ าล โดยใหแ้ ตล่ ะเมือง ๓ พระยาราชบุรี (เนียม วงศาโรจน)์ มีผู้วา่ ราชการเมอื ง เป็นผู้บงั คับบัญชาและบรหิ ารงานภายใต้การบงั คบั บัญชา ของข้าหลวงเทศาภิบาลส�ำเรจ็ ราชการมณฑล รวมเมืองหลายเมอื งเป็นมณฑล ๔ พระยาราชบรุ ี (กลน่ั วงศาโรจน์) ใหข้ ้าหลวงเทศาภิบาลเปน็ ผปู้ กครองขนึ้ อยกู่ ับกระทรวงมหาดไทย ส�ำหรบั มณฑลราชบรุ ีประกอบด้วยเมืองราชบุรี กาญจนบรุ ี สมุทรสงคราม เพชรบรุ ี ๕ พระยาอมรนิ ทรฦาไชย (กุ้ง วงศาโรจน)์ อาคารมณฑลราชบรุ ี ปราณบรุ ี และประจวบคีรขี ันธ์ โดยต้ังศาลาวา่ การมณฑลอยู่ท่ีเมืองราชบรุ ี ปจั จบุ นั เป็นพพิ ิธภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติ ราชบุรี โดยมพี ระยาสรุ ินทรฦๅไชย เจา้ เมืองเพชรบรุ ี (ตอ่ มาไดเ้ ป็นเจ้าพระยาสรุ พนั ธ์ ๖ พระยาอมรนิ ทรฦๅไชย (นิม่ วงศาโรจน)์ พิสทุ ธิ์ (เทศ บุนนาค) เปน็ ขา้ หลวงเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการมณฑลราชบุรี คนแรกใน พ.ศ. ๒๔๓๘ และต่อมากไ็ ด้ยา้ ยศาลากลางเมอื งราชบรุ ี ซง่ึ อยทู่ าง ๗ พระยาอมรนิ ทรฦๅไชย (เทยี น บุนนาค) ฝง่ั ซา้ ยหรอื ฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ�้ แมก่ ลอง (ตงั้ แตส่ มยั รชั กาลท่ี ๒) มารวมกนั ทศี่ าลาวา่ การมณฑลใน พ.ศ. ๒๔๔๐ จงึ ท�ำให้ศนู ยก์ ลางของเมืองราชบุรี ท่มี า : สมดุ ราชบุรี พ.ศ. ๒๔๖๘ กลบั มาอย่ทู ่ฝี ง่ั ขวาหรือฝัง่ ตะวนั ตกของแมน่ �้ำแมก่ ลองจนถึงปัจจุบันนี้ ในสมัยปฏริ ูปประเทศตามแบบตะวนั ตก (รชั กาลท่ี ๔-๖) เริม่ ใน พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ตำ� แหนง่ ขา้ หลวงเทศาภบิ าลสำ� เรจ็ ราชการมณฑลราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๗๖ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) ไทย สะพานจฬุ าลงกรณ์ สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ได้ทำ� สนธสิ ญั ญาเบาว์รงิ่ กบั อังกฤษ ซง่ึ ถือวา่ เปน็ สญั ญาการค้าเสรฉี บบั แรก ลำ� ดบั ท่ี พระนามหรอื นาม พ.ศ. ทด่ี �ำรงต�ำแหน่ง ของไทย เพราะไทยต้องยกเลกิ ระบบการคา้ ผกู ขาด มีข้อความระบุในสัญญา วา่ นอกก�ำแพงเมอื ง ๒๐๐ เสน้ คนในบงั คบั ขององั กฤษสามารถเช่าที่เรอื น ๑ เจ้าพระยาสรุ พนั ธพ์ สิ ุทธ์ิ (เทศ บนุ นาค) พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๔๒ ท่สี วน ทีไ่ ร่ ที่นาได้ แถบหวั เมอื งตะวนั ตกกำ� หนดต้งั แต่กำ� แพงเมอื งเพชรบรุ ี มาถงึ ปากแมน่ ้ำ� แมก่ ลอง เดนิ บกขน้ึ ไปจนครบ ๑ วนั ต้ังแต่ปากน�้ำแมก่ ลอง ๒ พระยาวรเดชศักดาวุธ (เจ๊ก จารจุ ินดา) พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๔๔ ถึงก�ำแพงเมืองราชบรุ ตี รงไปเมืองสพุ รรณบุรี และตัง้ แต่แมน่ ำ�้ สพุ รรณบุรไี ป ปากคลองบางพทุ ราทตี่ ดิ กบั แม่น้�ำเจา้ พระยา โดยใหอ้ �ำนวยความสะดวกใน ๓ พระยาอมรนิ ทร์ฦๅไชย (จ�ำรัส รัตนกลุ ) พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๔๖ การคมนาคมทางเรือแกช่ าวตะวันตก เช่น อังกฤษ และอเมริกาด้วย ผลของสนธสิ ัญญาดังกล่าวทำ� ให้การค้าขยายตวั เพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะ ๔ พระยาไกรเพช็ รรัตนสงคราม (แฉ่ บุนนาค) พ.ศ. ๒๔๔๖-๒๔๕๓ การค้าข้าว เปลีย่ นระบบเศรษฐกจิ จากการผลติ เพอื่ บรโิ ภคภายในครัวเรอื น เป็นการผลิตเพ่ือขาย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ๕ หมอ่ มเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๕๙ ให้ขดุ คลองเพือ่ ขยายพื้นที่ท�ำนาและเสน้ ทางคมนาคมในหลายพนื้ ที่ ส�ำหรับ พนื้ ทที่ างตะวนั ตก พ.ศ. ๒๔๐๙ โปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ คลองดำ� เนนิ สะดวกเชอื่ มตอ่ ๖ หม่อมเจ้าประดิพทั ธ์เกษมศรี พ.ศ. ๒๔๕๙-๒๔๖๑ ระหวา่ งเมอื งสมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม และเมอื งราชบรุ ี ในรชั สมยั พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) พระองคไ์ ด้เสด็จ ๗ พระยามหาอ�ำมาตยาธิบดี (เสง วิริยะศริ ิ) พ.ศ. ๒๔๖๑ พระราชด�ำเนนิ เมอื งราชบรุ หี ลายครัง้ สว่ นใหญเ่ ป็นการเสด็จพระราชด�ำเนิน เมืองกาญจนบุรี เมืองเพชรบุรี และเย่ียมเยือนราษฎรเมืองราชบุรี เสด็จ ๘ พระยามนตรสี รุ ยิ วงศ์ (ฉี่ บนุ นาค) พ.ศ. ๒๔๖๑-๒๔๖๕ พระราชด�ำเนินเพ่ือประกอบพระราชกรณียกิจที่เมืองราชบุรีเป็นการเฉพาะ ๒ ครั้ง คือ ครั้งแรกเปน็ การเสด็จเพื่อประกอบพระราชพธิ เี ปดิ สะพานรถไฟ ๙ พระยาคทาธรบดี (เทยี บ อัศวรักษ์) พ.ศ. ๒๔๖๕-๒๔๗๖ “จฬุ าลงกรณ์” ข้ามแมน่ �ำ้ แม่กลอง เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๔ และครงั้ ที่สองเป็นการ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เพือ่ น�ำทหารมาฝึกทีค่ ่ายหลมุ ดนิ ใน พ.ศ. ๒๔๔๖ ทีม่ า : สมดุ ราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๖๘

40 41 ซุม้ ประตทู างเขา้ อาคารศาลแขวง ศาลแขวง : อาคารสถาปตั ยกรรมทมี่ รี ปู แบบการสรา้ งตามแบบตะวนั ตกในสมยั รชั กาลท่ี ๖ อาคารสโมสรเสอื ปา่ ในระยะแรกการปกครองในรูปแบบมณฑลราชบุรียังไม่ค่อยประสบ คลองชลประทานส่งนำ้� ในการเกษตร อาคารศาลากลางจังหวัดราชบรุ ใี นปจั จบุ ัน ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๕๓- ความส�ำเร็จเทา่ ใดนกั เนอ่ื งจากข้าราชการสว่ นใหญ่ยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจ การท�ำนาซง่ึ ตอ้ งอาศัยแหล่งนำ้� ๒๔๖๘) ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เมอื งราชบรุ หี ลายครง้ั และพกั อยใู่ นเมอื งราชบรุ ี ในแบบแผนการปกครองแบบใหม่ แตต่ อ่ มาไดม้ กี ารปรบั ปรงุ สว่ นราชการตา่ งๆ จากคลองชลประทาน เปน็ เวลานาน เพื่อซอ้ มรบเสอื ป่าซงึ่ สง่ ผลตอ่ พัฒนาการของจงั หวดั หลายด้าน พร้อมทัง้ กำ� หนดบทบาทหนา้ ทีข่ องขา้ ราชการมิใหป้ ะปนกา้ วกา่ ยกัน มีการ เช่น การปรบั เปลี่ยนตราสญั ลักษณ์ประจำ� จังหวดั จากเดิมทใี่ ช้ “เขางู” ออกกฎขอ้ บงั คบั และกำ� หนดโทษแกข่ า้ ราชการทฝ่ี า่ ฝนื กฎระเบยี บ ทำ� ใหก้ าร เปลย่ี นเปน็ ตราสญั ลักษณร์ ปู เครอื่ งราชกกธุ ภัณฑ์ของพระมหากษัตริย์ คือ บรหิ ารมณฑลราชบุรมี ปี ระสทิ ธิภาพเพมิ่ ข้ึน โดยไดม้ กี ารปรับปรุงแกไ้ ขปัญหา พระแสงขรรคช์ ยั ศรี และฉลองพระบาทคปู่ ระดษิ ฐานบนพานทอง ปรากฏบน ตา่ งๆ ในจงั หวดั ราชบรุ ี เชน่ การปราบปรามโจรผรู้ า้ ย การสำ� รวจสำ� มะโนครวั ผืนธงซึ่งพระราชทานใหแ้ ก่กองเสือป่า มณฑลราชบรุ ี เมือ่ พ.ศ. ๒๔๖๗ ประชากร สง่ เสรมิ การทำ� นาและการคา้ ขายดว้ ยการขดุ คลองสง่ นำ�้ และพฒั นา การสร้างถนนทรงพล ใน พ.ศ. ๒๔๕๘ เชอื่ มจากเมืองนครปฐมไป เสน้ ทางคมนาคมท้งั ทางบกและทางน�้ำ จัดตัง้ ศาลมณฑลขน้ึ ทเ่ี มืองราชบุรี ยงั คา่ ยประทบั ต่างๆ ในเมอื งราชบุรี นับเปน็ การวางรากฐานให้กบั การสร้าง (อาคารศาลแขวงราชบุรใี นปจั จุบนั ) ตามรูปแบบการศาลตามแบบตะวนั ตก ถนนสายใต้ในเวลาตอ่ มา การสนบั สนนุ การศกึ ษาใหข้ ยายตวั ออกไปทวั่ ราชอาณาจกั ร พระองค์ ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงเปิดโรงเรียนเบญจมราชูทิศ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๖ พรอ้ มท้งั ทรงรบั ไว้เป็นโรงเรยี นหลวง พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทาน พระแสงราชศัตราประจำ� มณฑลราชบุรี แก่หม่อมเจา้ สฤษดิเดช ชยางกรู สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลราชบรุ ใี นคราวทเี่ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ตรวจราชการ และ เยย่ี มราษฎรเมอื งราชบรุ ี พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ รบั ปรุงการปกครองมณฑลราชบรุ ี โดยยุบหัวเมอื งมณฑลราชบุรีให้มี ขนาดเล็กลง รวมเมอื งปราณบรุ ีเขา้ กบั ประจวบครี ีขนั ธ์ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๘ โปรดใหร้ วมมณฑลตา่ งๆ เขา้ เปน็ ภาคโดยมอี ปุ ราชเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา มอี ำ� นาจ บังคบั บัญชาสมหุ เทศาภิบาลขึ้นตรงตอ่ พระมหากษัตรยิ ์ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว (พ.ศ. ๒๔๖๘- ๒๔๗๗) ได้ประกาศยบุ มณฑลและภาคมาเป็นจังหวัด ทำ� ใหร้ าชบรุ มี ฐี านะ เปน็ จงั หวัดหนง่ึ ของประเทศไทยตราบถงึ ทกุ วันน้ี

42 43 ภาพเกา่ เล่าเร่อื ง เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ ภาพถา่ ยเปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ บ่ี อกเลา่ ความเปน็ มา ในอดีตไดช้ ดั เจน และเชื่อถือได้มากกวา่ หลกั ฐานประเภทอื่นทง้ั ยงั ให้รายละเอียดและสร้าง ความสนใจในเรอื่ งราวทผี่ า่ นมาแลว้ ไดอ้ ยา่ งดยี ง่ิ แมว้ า่ การถา่ ยภาพในประเทศไทยไดเ้ กดิ ขน้ึ คร้ังแรกในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว (รชั กาลท่ี ๓) โดยบาทหลวงใน ครสิ ตศ์ าสนานกิ ายโรมนั คาทอลิกเปน็ ผูน้ �ำมาใชแ้ ตไ่ ม่ไดร้ บั ความนิยมจากคนไทย จนกระทง่ั มาถึงรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว (รัชกาลที่ ๔) และพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี ๕) ไดท้ รงเปน็ ผนู้ ำ� ในการถา่ ยภาพพระบรมฉายาลกั ษณ์ ท�ำใหก้ ารถ่ายภาพได้รับความนยิ มในหมชู่ นช้ันสูง ต่อมาจงึ ไดแ้ พรห่ ลายในหม่ปู ระชาชน ชาวไทยทว่ั ไปสืบมาจนถึงปัจจบุ นั นี้ ภาพเก่าเมอื งราชบรุ ที เ่ี ก่าแกท่ ่ีสุดและยังคงปรากฏเป็นหลักฐานให้สบื คน้ ได้ คอื ภาพชุดเสด็จประพาสเมืองราชบรุ ขี องพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว และการ เสด็จพระราชด�ำเนินของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อทอดพระเนตรการ ซอ้ มรบของเสอื ปา่ ทจี่ งั หวดั ราชบรุ ี รวมทง้ั ภาพชดุ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินเมืองราชบุรีพรอ้ มด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศานวุ งศ์ ภาพชดุ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนีเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปน็ ประธานการประชมุ หน่วยแพทย์ พอ.สว. ภาพสถานที่ และเหตุการณ์ส�ำคญั ทสี่ ะทอ้ น วถิ ชี วี ติ ของชาวราชบรุ ใี นอดตี รปู ภาพดงั กลา่ วนห้ี ลายภาพรวบรวมไวท้ ห่ี อจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ หนว่ ยงานต่างๆ ทงั้ ราชการและเอกชน และภาพทีส่ ่อื มวลชนและท้องถิน่ ชาวราชบุรไี ด้ รวบรวมไว้ รวมทงั้ หนงั สอื เรอ่ื ง “ภาพเกา่ เลา่ อดตี เมอื งราชบรุ ”ี ของพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบุรี ซ่ึงไดจ้ ัดพมิ พ์เนอื่ งในวันอนุรกั ษม์ รดกไทย ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ อันเป็น ประโยชนใ์ ห้คนร่นุ หลังไดเ้ รยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร์ราชบุรีไดช้ ัดเจนขึ้น

44 45 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ทรงฉายพระรูปร่วมกบั พระราชโอรส พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงฉายพระรูปรว่ มกบั ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนินเมืองราชบุรี ถงึ ๑๐ ครงั้ และขา้ ราชบริพารบรเิ วณพระราชวงั บนเขาสตั ตนารถ (เขาวัง ราชบรุ ี) ประทบั บนแครไ่ ม้เหนอื ปากถ้�ำจอมพล พระราชโอรส และขา้ ราชบรพิ ารบรเิ วณเขางู ราชบุรี เรมิ่ ใน พ.ศ. ๒๔๑๕ เปน็ การเสดจ็ เขาวงั เมอื งราชบรุ ี ท่ามกลางพระบรมวงศานุวงศแ์ ละขา้ ราชบริพาร เปน็ คร้ังแรก บริเวณเขาวังเดิมเรยี กวา่ “เขาสัตต- พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า นารถ” อยูใ่ นท้องทต่ี ำ� บลหน้าเมอื ง อำ� เภอเมอื ง เจา้ อยหู่ วั ทรงเสวยพระกระยาหารเชา้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ราชบุรี และมีวัดตง้ั อยบู่ นยอดเขา โปรดเกล้าฯ บรเิ วณลานหนา้ บนั ไดขน้ึ สถู่ ำ้� มจุ ลนิ ทร์ เสด็จประพาสเขาวัดสะดึง โดยประทบั บน ใหส้ มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ชว่ ง เขากลางเมอื ง ปจั จบุ นั คอื ถำ้� จอมพล แครห่ ามขึน้ ไปจนถงึ หนา้ ผา ทีท่ างการ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาณุวงศ์ มหาโกษาธิบดี อ�ำเภอจอมบึง จังหวดั ราชบรุ ี เม่ือ เตรียมราวบันไดและแคร่ไม้ เปน็ ทีป่ ระทบั ผาตกิ รรมทีธ่ รณีสงฆ์ (หมายถงึ การนำ� ทว่ี ดั ไปทำ� วันท่ี ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๓๘ เม่อื วันท่ี ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๔๒ อยา่ งอน่ื แลว้ สรา้ งวดั ถวายใหมเ่ ปน็ การชดเชย) โดย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ย้ายวัดไปสร้างใหม่ท่ีบริเวณวัดร้างริมฝั่งแม่น�้ำ เสด็จประทบั แครไ่ มป้ ากถ้�ำสาลกิ า แม่กลอง และพระราชทานนามวา่ “วดั สตั ตนารถ (เดิมชื่อถ้ำ� หนองตีเหลก็ ) ปรวิ ตั ร” และโปรดเกล้าฯใหส้ รา้ งพระราชวงั ข้นึ เมอื่ วนั ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ บนเขาน้ี โดยพระองคเ์ คยเสด็จไปประทับที่ พระราชวงั นค้ี รงั้ หนง่ึ ในคราวทเี่ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ขบวนเรอื เสดจ็ พระราชดำ� เนินประพาสเมืองราชบุรี ผา่ นบริเวณทุ่งเขางู ในคราว กลบั จากไทรโยค และยงั ไดเ้ สดจ็ ออกรับราชทตู เสดจ็ ประพาสเขาวดั สะดงึ ถำ�้ สาลิกา เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๒ ซงึ่ เปน็ ช่วงท่ีนำ้� หลากเขา้ โปรตุเกส ณ พระราชวงั แห่งนี้ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๒๐ ใน พ.ศ. ๒๔๓๘ รชั กาลที่ ๕ เสดจ็ ประพาส ทุง่ จนเจง่ิ นองกลายเป็นทะเลสาบย่อมๆ ถำ้� จอมพล และได้ทรงจารึกพระปรมาภไิ ธยย่อ “จปร” ไวบ้ นผนังถำ้� ตรงทางเข้าดว้ ย เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๒ รชั กาลท่ี ๕ เสด็จ ประพาสเขาวัดสะดึงซ่ึงต้ังอยู่หลังวัดหนองหอย ต�ำบลเกาะพลบั พลา อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี และได้ ทรงจารกึ พระปรมาภไิ ธยยอ่ “จปร” ไวบ้ นหนา้ ผา เขาวดั สะดงึ ในคราวเดียวกันน้ีได้เสด็จประพาสถ�้ำ จระเข้ ถำ�้ ระฆัง ต�ำบลเกาะพลับพลา อำ� เภอเมือง ราชบรุ ี และถ�้ำสาลิกา ตำ� บลธรรมเสน อ�ำเภอ โพธาราม และได้ทรงจารึกพระปรมาภิไธยยอ่ “จปร” ไวท้ ีผ่ นังถ�้ำทัง้ ๓ ถ�้ำ พระราชวังบนเขาสตั ตนารถในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ปัจจบุ นั พระราชวังบนเขาสตั ตนารถ ได้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ขึน้ ใหม่เป็นวดั เขาวัง ราชบุรี และไดร้ ับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓

46 47 พ.ศ. ๒๔๔๔ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชด�ำเนินเมืองราชบุรีเพ่ือ ประกอบพระราชพิธีเปิดสะพานรถไฟจุฬาลงกรณ์ ข้ามแม่น�ำ้ แมก่ ลองช่วงทีผ่ า่ นตวั เมอื งราชบรุ ี ขบวนรถไฟพระท่นี ัง่ รัชกาลที่ ๕ ทส่ี ถานีรถไฟราชบรุ ี พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั เสด็จประพาส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวเสด็จประพาสเมอื งราชบรุ ี ในคราวเสด็จพระราชด�ำเนินเพอ่ื ท�ำพิธีเปิดสะพานรถไฟจฬุ าลงกรณ์ วัดมหาธาตุวรวหิ าร ราชบุรี เม่อื พ.ศ. ๒๔๓๑ มีพระยาไกรเพ็ชรรัตนสงคราม (แฉ่ บุนนาค) สมุหเทศาภบิ าล โดยพระองค์เจ้าอุรุพงศส์ มโภช ผูต้ ามเสดจ็ ทรงยืนอยู่ทางขวาของภาพ มณฑลราชบรุ ียนื รับเสด็จอยทู่ างซ้ายของภาพ ข้าราชการเตรยี มเฝา้ รอรบั เสด็จรชั กาลที่ ๕ ที่สถานรี ถไฟราชบุรี ข้าราชการยืนแถวรอรับเสด็จรัชกาลที่ ๕ ในการเสด็จพระราชดำ� เนนิ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ก�ำลงั สนพระทัย เปิดสะพานรถไฟจุฬาลงกรณ์ เมอื งราชบรุ ี ในการถา่ ยรปู สถานท่ี ขณะเสดจ็ ประพาสเมืองราชบุรี กองดรุ ยิ างค์รอรบั เสดจ็ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั ที่ราชบรุ ี ประชาชนเฝา้ รอรบั เสด็จรชั กาลที่ ๕ ในการเสด็จ ใน พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเดจ็ พระ- จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสต้น เปน็ คร้งั แรก เปน็ การเสด็จทางชลมารคท่ีคลอง ด�ำเนินสะดวกโดยปลอมพระองค์เป็นสามัญชน และมิให้ผใู้ ดทราบเป็นการล่วงหน้า การเสดจ็ ประพาสต้นคร้ังนั้นท�ำให้เกิดเร่ืองเล่าของผู้คนท่ี ได้เข้าเฝ้าฯ หลายเร่อื งราวเป็นตำ� นานมาจนถึง ทกุ วนั น้ี พระราชดำ� เนนิ เปดิ สะพานรถไฟจฬุ าลงกรณ์ เมืองราชบุรี ตลาดมณฑลราชบรุ ใี นสมัยรัชกาลท่ี ๕

48 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั เสด็จประลองยทุ ธเ์ สือปา่ 49 ที่คลองตาคต โพธาราม ราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๖๒ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว (รชั กาลที่ ๖) ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เมอื งราชบรุ ี ขณะทอดพระเนตรการซ้อมรบของเสือปา่ ในจงั หวัดราชบุรี หลายครงั้ เรมิ่ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๕๖ ไดท้ รงนำ� สมาชกิ เสือป่าเดินทางไกลจากพระราชวังสนามจันทร์ ไปถงึ พนื้ ทอ่ี ำ� เภอดอนเจดยี ์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ผี า่ น จังหวัดกาญจนบุรี แล้วลอ่ งไปถึงอำ� เภอบ้านโป่ง จงั หวดั ราชบรุ ี โดยเสดจ็ ประทบั ทค่ี า่ ยหลวงบา้ นโปง่ ถงึ ๕ วัน หลังจากนั้นได้เสด็จพระราชด�ำเนิน เมืองราชบรุ อี ีกหลายครั้ง เพ่อื น�ำพลเสือปา่ มาฝึก ประลองยุทธท์ ีค่ ่ายหลวงบ้านโปง่ และค่ายหลวง โพธาราม และเสด็จประทับทจ่ี ังหวดั ราชบรุ ีเป็น เวลาหลายวนั หมวดพยาบาลในกองเสือปา่ ขณะพักแรมกลางท่งุ เจด็ เสมียน อำ� เภอโพธาราม การซ้อมรบเสอื ปา่ ท่คี ลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ. ๒๔๖๒ การประลองยทุ ธห์ รือการฝกึ ซ้อมรบทคี่ า่ ยหลวงบ้านโป่ง พ.ศ. ๒๔๖๔ เหล่าเสือปา่ ทีแ่ ม่น้ำ� แม่กลอง อำ� เภอบา้ นโปง่ จังหวัดราชบรุ ี รถไฟล�ำเลยี งกองเสือปา่ ทสี่ ถานีรถไฟบา้ นโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี

50 51 เดมิ อาคารกองบญั ชาการรฐั บาลมณฑล เปน็ จวนเจา้ เมอื งราชบุรี ทท่ี ำ� การสมาคม ราชบุรี เป็นบา้ นพกั (จวน) ของสมเดจ็ เจ้าพระยา บรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการ ส่งเสรมิ วัฒนธรรมหญงิ ราชบุรี ห้องสมดุ แผ่นดนิ ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวในระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๑๖ ประชาชนจังหวดั ราชบรุ ี และอาคารจดั เมอื่ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๖ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรสี รุ ิยวงศ์ พ้นจาก นิทรรศการของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ต�ำแหน่งผสู้ �ำเร็จราชการแผน่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ราชบุรี ตามลำ� ดบั ทางชลมารคไปพระราชทานแผน่ สุพรรณบฏั จารึก สมญานาม “สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ”์ เดิมอาคารหลังนี้มีลักษณะเป็น พร้อมเครื่องยศอย่างพระองค์เจ้าต่างกรม ณ บา้ นพกั หลงั น้ี เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ บา้ นขนาดใหญ่ช้นั เดยี วใตถ้ ุนสงู ต่อมา คร้งั เมือ่ ท่านสิ้นชวี ติ ลง บา้ นหลงั นไี้ ดใ้ ช้ เป็นกองบญั ชาการรัฐบาลมณฑลราชบุรตี ลอดมา ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ จึงไดม้ ีการต่อเติมใตถ้ นุ จนเมอื่ มกี ารสรา้ งอาคารศาลารฐั บาลมณฑลราชบรุ ี ขน้ึ ใหมใ่ น พ.ศ. ๒๔๖๕ จงึ ไดใ้ ช้อาคารหลงั นี้ ชั้นล่างและอาคารด้านหน้าจนกลายเป็น อาคารสองช้ันดังที่ปรากฏในปจั จบุ นั นี้ ศาลากลางจังหวัดราชบุรีในอดตี ปัจจุบันเป็นพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ราชบรุ ี สร้างขน้ึ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) เพอื่ เปน็ ศาลารัฐบาลมณฑลราชบุรี ตอ่ มาในสมัยรัชกาลที่ ๗ ได้ทรงยกเลิกการ ปกครองแบบมนฑลเทศาภบิ าล ศาลารัฐบาลจงึ ไดเ้ ปลีย่ นมาเปน็ ศาลากลาง จังหวัดราชบรุ ีจนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๔ อาคารกองบัญชาการรฐั บาลมณฑลราชบรุ ี สรา้ งข้นึ ในสมยั รัชกาลที่ ๕ อาคารศาลแขวงราชบรุ ี สรา้ งขึน้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หวั เพอื่ ใช้เปน็ ทท่ี ำ� การศาลมณฑลราชบรุ ี ตอ่ มาในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว ไดย้ กเลิกศาลมณฑลราชบุรี จัดต้ังเป็นศาลจังหวัดราชบุรี เมอื่ มีการสรา้ งอาคารศาลจงั หวัดราชบรุ ีขน้ึ ใหม่ ในพ.ศ. ๒๕๐๑ จึงได้ใชอ้ าคารนี้เปน็ ที่ทำ� การศาลแขวงราชบุรจี นถึงปัจจบุ ัน

52 53 พระมหากรณุ าธคิ ณุ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั พร้อมด้วยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯพระบรมราชินนี าถ และสมเด็จพระบรมราชชนนี ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดชต่อราชบุรี เสด็จพระราชด�ำเนินประพาส เขางู ซง่ึ มีภาพจ�ำหลกั พระพทุ ธรูปประทบั นงั่ ห้อยพระบาท บนผนังถ้�ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวพรอ้ มด้วย พระบรมราชนิ นี าถ พรอ้ มดว้ ยพระบรมวงศานวุ งศ์ ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ จงั หวดั ราชบรุ ี สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถและ หลายครง้ั เพอื่ บำ� บดั ทกุ ข์บำ� รงุ สุขใหแ้ กร่ าษฎร สมเด็จพระบรมราชชนนี เสด็จประพาสถ้ำ� จอมพล อ�ำเภอจอมบงึ และไดท้ รงจารึกพระปรมาภิไธยย่อ ภาพเหตกุ ารณ์ไฟไหม้ในเขตเทศบาล ที่หน้าถ้ำ� จอมพลว่า “ภปร ๑ มิ.ย. ๙๙” เมืองราชบรุ ีครงั้ แรก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงปลูกตน้ สกั สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถทรงปลกู เมือ่ วันท่ี ๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้เกดิ อัคคภี ัยครง้ั ใหญ่ทีต่ ลาดบา้ นโปง่ ต้นกลั ปพฤกษ์ สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี อำ� เภอบา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบรุ ี ราษฎรจำ� นวนมากไรท้ อ่ี ยอู่ าศยั และไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ทรงปลกู ตน้ นนทรีไว้เปน็ ทีร่ ะลกึ อยา่ งมาก ความไดท้ รงทราบฝ่าละอองธลุ พี ระบาท พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ณ สวนรกุ ขชาติ ทีบ่ ริเวณหนา้ ถ�้ำจอมพล พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถไดเ้ สดจ็ ฯ ไปยังสถานที่เกิดเหตุ เปน็ การส่วนพระองค์ และไดม้ พี ระราชกระแสรบั ส่ังใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดราชบรุ ี และ ผู้วา่ ราชการภาคให้ความชว่ ยเหลือราษฎรเป็นกรณพี เิ ศษอยา่ งใกลช้ ดิ ๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว พร้อมดว้ ยสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถไดเ้ สด็จ ประพาสเทือกเขางู อ�ำเภอเมอื งราชบุรี และถ้�ำจอมพล อำ� เภอจอมบงึ และทรงเยยี่ ม ราษฎรที่จังหวดั ราชบุรี

54 วันที่ ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๗ พระบาท 55 สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระเทพ เมอื่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเดจ็ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดลุ ยเดช พระราชทานทนุ ทรัพย์ส่วนพระองค์ พระราชดำ� เนินถวายผ้าพระกฐนิ ต้น ณ วัดโชติทายการาม อ�ำเภอดำ� เนนิ สะดวก จังหวัดราชบรุ ี โดยมขี า้ ราชการ พอ่ คา้ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั ร ให้กบั นักเรยี นโรงเรียนวัดสันตกิ ารามวทิ ยา และประชาชนอำ� เภอดำ� เนนิ สะดวก และจังหวัดใกล้เคียงเข้าเฝา้ ฯ และถวายการตอ้ นรับจำ� นวนมาก ราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำ� เนนิ มาทรงเปิดอาคาร เรยี นโรงเรียนวดั สันติการามวทิ ยา เมอ่ื ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ โรงเรยี นวดั สันตกิ ารามวทิ ยา ตั้งขน้ึ เมอื่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวและ วันท่ี ๑๕ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยได้รบั พระ- สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรม มหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ราชินีนาถเสดจ็ พระราชด�ำเนิน ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระราชทานทนุ ทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ถวายผา้ พระกฐินต้น ณ วดั เขาวัง เปน็ ทนุ เรมิ่ แรก รวมทง้ั ทนุ รฐั บาล พอ่ คา้ ประชาชน อ�ำเภอเมืองราชบุรี ซึง่ เจา้ อาวาสวัดสันตกิ ารามเป็นประธานบอกบุญ เมอ่ื ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ สมเด็จพระศรนี ครินทรา รว่ มกันบรจิ าค บรมราชชนนี เสด็จเปน็ องค์ประธานในการประชุมมูลนธิ ิ ปัจจุบันโรงเรียนวัดสันติการามวิทยา แพทยอ์ าสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาสังกัดส�ำนักงาน ณ อาคารเฉลิมราช ศูนย์อนามยั แมแ่ ละเดก็ จงั หวัดราชบุรี เขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๘ สำ� นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร พระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ทม่ี ตี อ่ เกษตรกรผเู้ ลย้ี งโคนม จงั หวัดราชบรุ ี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ กรมปศุสตั วไ์ ด้จัดตั้ง นายใช้ จนั ทรภิวัฒน์ ผูแ้ ทนเกษตรกรผู้เลยี้ งโคนมจังหวัดราชบรุ ไี ดท้ ลู เกล้าฯ ถวาย สถานผี สมเทยี มทต่ี ำ� บลหนองโพ อำ� เภอโพธารามขน้ึ ฎีกาเก่ยี วกับปญั หาความเดือดร้อนทไี่ ม่มีตลาดจำ� หนา่ ยนำ้� นมดบิ ในโอกาสท่ี ปรากฏวา่ ไดร้ บั ความนยิ มจากราษฎร ทำ� ใหม้ รี าษฎร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงเปดิ โรงงานนมผงสวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต ประกอบอาชพี เปน็ เกษตรกรเลย้ี งโคนมเพมิ่ มากขน้ึ เม่ือ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ตอ่ มาในราว พ.ศ. ๒๕๑๒ เกษตรกรผู้เลยี้ งโคนม จงั หวัดราชบรุ ีประสบปัญหาขาดทุน ทางสถานี ผสมเทียมจึงได้น�ำผู้แทนเกษตรกรเข้าเฝ้าฯ กราบบังคมทูลต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ พระตำ� หนกั จติ รลดารโหฐาน เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๒ เมอ่ื ความทราบถงึ พระเนตรพระกรรณไดท้ รงพระ- กรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้เจา้ หนา้ ท่ีท่ีมสี ว่ นเก่ยี วข้อง รับไปพิจารณาดำ� เนินการช่วยเหลือ

56 57 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภมู พิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนนิ ทรงประกอบพธิ ี ใน พ.ศ. ๒๕๑๓ พระบาทสมเด็จพระเจา้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวได้ เจิมป้ายช่อื สหกรณ์โคนมหนองโพราชบรุ ี จ�ำกดั (ในพระบรมราชูปถมั ภ์) อยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ พระราชทานเงนิ แก่นายบญุ ทัน เอื้อพลู ผล รว่ มกับเงนิ ทน่ี ายทวิช กลน่ิ ประทุม ทูลเกลา้ ฯ ประธานสหกรณ์โคนมหนองโพในขณะน้นั ถวายมาก่อสร้างและจัดต้ังโรงงานนมผงขน้ึ ณ เพอ่ื เปน็ ทนุ ในการก่อสร้างพพิ ธิ ภณั ฑ์ ต�ำบลหนองโพ อำ� เภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี โดยใชต้ น้ แบบจากโรงงานนมผงสวนจิตลดา โดย เมอื่ วนั ที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๒๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พรอ้ มดว้ ย พระราชทานนามวา่ “โรงนมผงหนองโพ” และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สด็จพระราชดำ� เนนิ เสดจ็ เปดิ โรงงานนีเ้ มือ่ วันท่ี ๙ มนี าคม พ.ศ. ประกอบพธิ เี ปิดโรงงานผลติ ภัณฑ์นมหลังใหม่ และเจมิ ปา้ ยช่อื สหกรณ์ฯ ไดม้ ี ๒๕๑๕ โดยพระองคไ์ ดก้ ำ� หนดใหด้ ำ� เนนิ การบรหิ าร ขา้ ราชการ พ่อค้าและประชาชนผู้เฝ้ารอรบั เสดจ็ ฯ ได้ทลู เกลา้ ฯ ถวายเงนิ โดย โรงงานในรปู ของบรษิ ทั ในชอื่ วา่ “บรษิ ทั ผลติ ภณั ฑ์ เสดจ็ พระราชกุศลตามพระราชอัธยาศยั และได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ นมหนองโพ จ�ำกัด” และทรงรับไว้ในพระบรม- พระราชทานเงนิ จ�ำนวนดงั กล่าวนน้ั จัดตัง้ เป็นมูลนิธิ โดยพระราชทานนามวา่ ราชปู ถมั ภ์ และในวโรกาสดังกล่าวนไ้ี ดท้ รงมี “มลู นิธิพระบารมปี กเกล้า” เพ่อื ใหช้ ว่ ยเหลอื การศึกษาแกบ่ ุตรของสมาชกิ พระราชปรารภทมี่ คี วามสำ� คญั ตอ่ เกษตรกรผเู้ ลยี้ ง สหกรณโ์ คนมหนองโพราชบรุ ี จำ� กดั (ในพระบรมราชปู ถัมภ์) ทีเ่ รียนดีแต่ โคนมราชบุรี เช่น วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ต้งั ยากจนหรอื ช่วยสงเคราะห์ครอบครัวสมาชกิ สหกรณฯ์ ท่ปี ระสบภัยพิบตั ิ บรษิ ัทดงั กล่าว เพ่อื ให้ซือ้ นมจากสหกรณผ์ ้เู ลีย้ ง เมื่อวันที่ ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั โคนม และเมอื่ งานของสหกรณโ์ คนมเจรญิ กา้ วหนา้ ไดเ้ สด็จพระราชด�ำเนนิ เยยี่ มชมสหกรณ์โคนมหนองโพ ราชบุรีจ�ำกดั (ใน แลว้ จะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหโ้ อนทรพั ยส์ นิ พระบรมราชปู ถัมภ)์ ในวาระฉลองครบรอบ ๑๕ ปี ของสหกรณ์ฯ และ ทงั้ หมดของบรษิ ัทผลติ ภัณฑน์ มหนองโพ จำ� กัด ทอดพระเนตรการจัดแสดงนิทรรศการประวัติความเป็นมาของสหกรณ์ฯ พรอ้ มทง้ั โรงงานใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องสหกรณโ์ คนม ไดม้ พี ระราชกระแสรบั ส่ังกับคณะกรรมการของสหกรณฯ์ ว่า นิทรรศการ หนองโพราชบุรี จำ� กดั เหลา่ นจ้ี ดั ไดว้ า่ เปน็ วชิ าการทางหนงึ่ สำ� หรบั การศกึ ษาหาความรขู้ องคนรนุ่ หลงั และประชาชนท่ีสนใจทัว่ ไปควรเก็บรกั ษาไว้ พรอ้ มพระราชทานเงนิ ซงึ่ มี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ บรษิ ทั ผลติ ภณั ฑน์ มหนองโพ ผทู้ ูลเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัยให้แกส่ หกรณ์ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชด�ำเนินเย่ยี มชมโรงงานผลติ ภณั ฑน์ มหนองโพ จ�ำกดั (ในพระบรมราชปู ถมั ภ)์ ไดร้ วมกบั สหกรณ์ เพ่ือเป็นทุนส�ำหรับการกอ่ สรา้ งอาคารพพิ ิธภณั ฑ์ดงั กล่าว โคนมหนองโพราชบรุ ี จำ� กดั ตามพระราชประสงค์ อาคารพิพธิ ภณั ฑ์โคนม แลว้ เสรจ็ เมอื่ วนั ที่ ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๒ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั โดยดำ� เนิน และได้รบั พระราชทานนามวา่ “อาคารเทพฤทธิ์เทวกุล” เพ่ือเป็นที่ระลึกแด่ กจิ การท้งั หมดในรปู สหกรณใ์ ชช้ อ่ื วา่ สหกรณ์ หมอ่ มราชวงศเ์ ทพฤทธิ์ เทวกลุ ซงึ่ ออกแบบอปุ กรณเ์ ครอื่ งใชใ้ นการผลติ นมผง โคนมหนองโพราชบุรี จ�ำกดั และไดโ้ ปรดเกล้าฯ ของโรงงานนมผงหนองโพต้งั แต่เรมิ่ แรก ให้อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ตั้งแต่น้ันมาจนถึง ปจั จุบนั

58 59 ตลาดราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๙๕ นำ�้ ท่วมทต่ี ลาดราชบรุ ี พ.ศ. ๒๔๙๕ โอง่ มงั กรราชบรุ หี น้าศาลากลางจงั หวดั เก่า โอ่งมงั กรราชบุรรี อการขนสง่ ทางน�้ำในแม่น�้ำแม่กลอง รอการขนส่งทางน�ำ้ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๕ หนา้ ตลาดราชบรุ ี พ.ศ. ๒๕๒๑ ทวิ ทัศนร์ มิ น้ำ� แม่กลองในช่วงราว พ.ศ. ๒๕๐๐ โรงงานปูนขาวในอดตี เมืองราชบรุ ี ตลาดน้�ำดำ� เนินสะดวก เม่ือราว พ.ศ. ๒๕๒๑ บรรยากาศบริเวณถนนอัมรนิ ทร์ เมอื งราชบุรี พ.ศ. ๒๕๑๕ จากอดีตสู่ปัจจุบันราชบุรีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วดังเช่น ในอดีตบริเวณรมิ น้ำ� แม่กลองในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ กวา่ ๆ จะมเี รือบรรทุก ทราย หนิ โอ่ง และเรอื อาศยั จอดลอยลำ� เรียงรายยาวตลอดรมิ ฝั่งแม่น้�ำ หนา้ เมืองราชบุรี ซงึ่ ปัจจุบนั ไมม่ ใี หเ้ หน็ แล้ว รวมทัง้ ตลาดน้ำ� ดำ� เนนิ สะดวก เม่อื ราว พ.ศ. ๒๕๒๑ จะมีพ่อคา้ แม่ค้าพายเรือมาขายสินค้ากนั อย่างคกึ คัก ปจั จุบนั จะคกึ คักเฉพาะวันหยุด เสาร-์ อาทติ ย์ เพ่อื รบั นักท่องเทีย่ วชาวไทย และต่างประเทศ หอนาฬกิ า บรเิ วณสนามหญา้ เมืองราชบรุ ี พ.ศ. ๒๕๐๐ การท�ำโอง่ มังกรของชาวราชบุรใี นอดีต

60 ความหลากหลาย ชาติพันธุ์ในราชบุรี ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อันเป็นที่ตั้งของประเทศสมาชิก หน่ึงในอัตลกั ษณอ์ าเซยี น อาเซยี นน้นั มสี ภาพทางภมู ิศาสตร์ และลกั ษณะทางสังคมวฒั นธรรมหลาย ประการทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ อตั ลกั ษณห์ รอื ลกั ษณะเฉพาะทที่ กุ ประเทศสมาชกิ มรี ว่ มกนั กลุ่มชาติพนั ธใุ์ นแตล่ ะพื้นท่ีต่างมภี าษา การแตง่ กาย ศาสนา และ อัตลกั ษณอ์ าเซยี นทส่ี ำ� คัญประการหนึง่ คอื การเปน็ ดนิ แดนท่ปี ระกอบดว้ ย ความเชื่อ รปู แบบทางศิลปะ รวมทั้งดนตรแี ละการฟ้อนรำ� หรอื กลา่ วไดว้ ่า ผคู้ นหลากหลายกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ อ่ี พยพเขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐาน สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ลว้ นมขี นบธรรมเนยี มประเพณเี ป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง และตา่ งก็ รงุ่ เรอื งให้กับพ้นื ที่ท่ีตนได้เข้าไปอย่อู าศยั และมวี วิ ัฒนาการอย่รู ว่ มกนั กบั ผคู้ น สบื ทอดมรดกทางวฒั นธรรมดว้ ยความภมู ใิ จในศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ ชาตติ น เกดิ เปน็ ในพ้นื ถ่ินสบื ตอ่ มาช้านาน ตงั้ แตก่ อ่ นการสถาปนารัฐหรอื ประเทศทีม่ ีขอบเขต วัฒนธรรมท้องถ่นิ และภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ข้นึ ในหลายพื้นท่ีในภูมภิ าคอาเซยี น ดนิ แดนชัดเจน จนถึงช่วงเวลาทแ่ี ต่ละรัฐตา่ งมพี ฒั นาการข้ึนด้วยเหตุผลหลาย รวมทง้ั เกิดการผสมผสานทางเชื้อชาตแิ ละวฒั นธรรม จนถงึ ปจั จุบันกลมุ่ ชน ประการ เชน่ การแผ่ขยายอ�ำนาจและอทิ ธพิ ลทางการเมือง ความต้องการ เหลา่ นสี้ ว่ นใหญไ่ ดก้ ลายเป็นพลเมืองในแต่ละรฐั ของอาเซียนโดยสมบรู ณ์ ก�ำลังแรงงานเพ่ือสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและความเจริญทางการค้า ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรท์ มี่ อี ทิ ธพิ ลทำ� ใหอ้ าเซยี นมอี ตั ลกั ษณท์ างวฒั นธรรม ความขัดแยง้ ทางศาสนาและความเชอ่ื การแสวงหาความมน่ั คงในชวี ิต การ ดังกล่าว คอื การท่ีมีเทอื กเขาสูงท่ีทอดตวั จากตอนกลางทวปี เอเชยี ลงมา อพยพเคลอ่ื นยา้ ยผคู้ นในแตล่ ะกลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ ที ง้ั ภายในภมู ภิ าคและนอกภมู ภิ าค ตอนใตเ้ ขา้ สู่ดินแดนทางตอนเหนือของเมียนมาร์ ไทย ลาว และเวยี ดนาม อาเซียน ซ่งึ ยงั มีสืบตอ่ มาจนถึงปจั จุบันน้ี ไปถงึ ปลายคาบสมทุ รมลายูในประเทศมาเลเซยี เช่น เทือกเขาอาระกันโยมา ในเมยี นมาร์ เทอื กเขาบรรทดั ทที่ อดตวั ผา่ นไทยและกมั พชู า เทอื กเขาตะนาวศรี ทท่ี อดตวั ยาวผา่ นเมยี นมาร์ ไทย และมาเลเซยี เทอื กเขาอนั นมั ในเวยี ดนาม และลาว เทอื กเขาเหล่าน้ีเป็นแหล่งกำ� เนดิ แมน่ �ำ้ ส�ำคญั หลายสายในภูมิภาคน้ี ในระหวา่ งหบุ เขาจะมแี มน่ ำ�้ ลำ� ธารไหลผา่ น ทำ� ใหเ้ กดิ ทร่ี าบเชงิ เขาเปน็ เสน้ ทาง ยาวตามสองฝ่ังของล�ำน้ำ� เหลา่ นี้ แม่นำ้� สายสำ� คญั ไดแ้ ก่ แม่นำ�้ อิระวดี-ชนิ ดวนิ และแม่นำ้� สาละวิน ในเมียนมาร์ แมน่ �้ำแดงในเวียดนาม แมน่ �ำ้ เจา้ พระยาในไทย แม่น�้ำโขงทไี่ หล ผ่านลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ทงั้ ช่องเขา ที่ราบระหวา่ งเขา และแม่น�้ำ ลว้ นเป็นเส้นทางการเคลือ่ นยา้ ยกลมุ่ คนทางตอนใต้ของประเทศจีน หรือ ทางเหนือของภูมิภาคลงมาทางใต้เข้ามาต้ังถิ่นฐานในเขตแดนของรัฐต่างๆ ในภูมภิ าคอาเซียน ดงั นน้ั ในทกุ วนั นเ้ี ราจงึ พบเหน็ ชาวเขาเผา่ ตา่ งๆ ซงึ่ มวี ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ แตกต่างจากชาวพืน้ ราบ เชน่ กะเหรย่ี ง มง้ มูเซอ อาขา่ ในดินแดนไทย เมยี นมาร์ ลาว และเวยี ดนาม สำ� หรบั ชาวพน้ื ราบหรือผูค้ นทีอ่ าศัยอยใู่ น บริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำและที่ราบชายฝั่งทะเลมักมีวิถีชีวิตที่ใกล้เคียงกัน แตแ่ ตกต่างดว้ ยภาษาทใี่ ชก้ นั ในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น กลุม่ ชนทีพ่ ูด ภาษาไทยในเวยี ดนาม เมยี นมาร์ ลาว และมาเลเซยี กลมุ่ ชนทพ่ี ดู ภาษาเขมร ในไทย ลาว และเวยี ดนาม ชนทพี่ ูดภาษามอญในไทย และเมยี นมาร์ รวมทง้ั กลมุ่ คนที่พดู ภาษามลายใู นภาคใต้ของไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ และบรไู น

62 พิธกี รรมทางพุทธศาสนาของชาวไทยพน้ื ถิน่ ราชบรุ ี เรือนไทยทบ่ี ้านโพหกั อ�ำเภอบางแพ จังหวดั ราชบุรี 63 นอกจากนภี้ มู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตย้ งั ตง้ั อยรู่ ะหวา่ งมหาสมทุ ร- การละเล่นมอญซ่อนผา้ พธิ แี ตง่ งาน อนิ เดียกับมหาสมทุ รแปซิฟกิ จึงมีเส้นทางนำ�้ ทัง้ ทางทะเลและแมน่ �ำ้ ทีเ่ ชอื่ มตอ่ เชือ่ กันวา่ ชาวโพหักอาจเปน็ คนไทยจากกรงุ ศรีอยุธยา เน่อื งจากมี ถงึ กนั ทำ� ใหผ้ คู้ นสามารถใชเ้ รอื เปน็ พาหนะเดนิ ทางไปมาระหวา่ งหมเู่ กาะดว้ ยกนั วฒั นธรรมการน�ำสงิ่ ของวางไวใ้ นสาแหรก เร่ืองเล่าสบื กันมาวา่ บรรพบรุ ุษขนสัมภาระบรรทกุ เกวยี นจากกรุงศรอี ยุธยา หรอื ระหว่างคาบสมุทรกับหมู่เกาะต่างๆ หรอื เดินทางเข้ามาถงึ ดนิ แดนภายใน กระจาด กระบงุ ของคนไทยพื้นถ่ินราชบุรี มาจนถงึ โคกววั ลา้ ซงึ่ เปน็ เนนิ ทรายในปา่ หลวงและไมส่ ามารถเดนิ ทางตอ่ ไปได้ ภมู ภิ าคไดส้ ะดวก เสน้ ทางนำ้� ดงั กลา่ วจงึ เปน็ เสน้ ทางการอพยพเคลอ่ื นยา้ ยกลมุ่ การวิง่ วัวลานประเพณีทอ้ งถ่นิ ของชาวไทยพน้ื ถ่ินราชบุรี จึงนำ� ทรัพย์สินทม่ี คี า่ ฝงั ดนิ ไว้ ต่อมามขี า่ วลือจากแม่ชีว่าเปน็ ผู้พบลายแทง ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ รวมทงั้ ยงั เปน็ เสน้ ทางทช่ี าวตา่ งประเทศจากทวปี อนื่ ๆ โดยเฉพาะ สมบตั ิ จงึ มชี าวบา้ นจำ� นวนมากพากนั ขดุ หาสมบตั ดิ งั กลา่ ว แตไ่ มพ่ บทรพั ยส์ นิ ชาวยโุ รปใหส้ ามารถเดนิ ทางเขา้ มาในภมู ภิ าคนไ้ี ดอ้ ยา่ งสะดวก ทำ� ใหเ้ กดิ การคา้ ใดๆ บริเวณทถี่ กู ขุดกลายเป็นหลุมลึก เมอ่ื ฝนตกจงึ กลายเป็นสระน้ำ� ผคู้ น การแผข่ ยายศาสนา การรบั วทิ ยาการ และการแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมระหวา่ งกนั เรียกกันตอ่ มาวา่ “สระยายชี” เราจึงสามารถพบเหน็ วัฒนธรรมในรฐั ตา่ งๆ ท่มี คี วามคลา้ ยคลึงชัดเจน เช่น อยา่ งไรกต็ าม หากพจิ ารณาสภาพภมู ปิ ระเทศของบา้ นโพหกั ในอำ� เภอ วัฒนธรรมจีนในย่านท่ีกลุ่มชาติพันธุ์จีนอาศัยรวมกันในทุกประเทศของอาเซียน บางแพ และพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งจะพบวา่ เปน็ ทรี่ าบลมุ่ มแี หลง่ นำ้� ธรรมชาตอิ ดุ มสมบรู ณ์ ทีเ่ รียกว่า ไชนา่ ทาวน์ (China Town) หรอื ส่งิ กอ่ สรา้ งทางศาสนาต่างๆ เหมาะแก่การท�ำนาและปลูกพืชผัก บรรพบุรษของชาวไทยพนื้ ถ่นิ จงึ สามารถ ท่เี รียกว่า ศาสนสถาน เชน่ ปราสาทหิน พุทธเจดีย์ มสั ยิด โบสถ์ครสิ ต์ ทีม่ ี ท�ำนาและดำ� รงชีวติ โดยอาศัยธรรมชาติเป็นหลัก เอกลักษณ์รว่ มทางวฒั นธรรมในหลายประเทศของอาเซยี น ชาวไทยพน้ื ถนิ่ มีลักษณะเดน่ ทางดา้ นภาษา ซึ่งเก่าแกแ่ ละสอดคลอ้ ง ความหลากหลายทางชาตพิ ันธใุ์ นอาเซยี นดงั กลา่ วน้ี ปรากฏตวั อยา่ ง กบั วรรณกรรมเรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผน เชน่ ใชค้ ำ� นำ� หนา้ ชอื่ วา่ “ออ” เชน่ ออแดง เป็นรปู ธรรมชัดเจนให้เยาวชนไดศ้ ึกษาที่จงั หวดั ราชบุรี ซ่ึงมเี ขตแดนตดิ กบั ออนมุ่ เหมอื นดงั คำ� กลอนทวี่ า่ “ทา่ นขรวั หวั รอ่ วา่ ออแกว้ เรอื่ งเจา้ ชรู้ แู้ ลว้ ตอ้ ง ประเทศเมยี นมาร์ หนง่ึ ในสมาชกิ อาเซยี น ทง้ั ในเรอื่ งประวตั คิ วามเปน็ มา วถิ ชี วี ติ มนั่ หมาย” นอกจากนยี้ งั มคี ำ� อน่ื ๆ เชน่ พอ่ แก่ (หมายถงึ ตา หรอื พอ่ ของแม)่ และความเป็นอยู่ ลักษณะของบ้านเรอื น อาหาร การแตง่ กาย อันสะทอ้ นถึง แมค่ ณุ (หมายถงึ ยายหรือแม่ของแม่) ซงึ่ บางคนกล่าววา่ คำ� เหล่านเ้ี ป็นคำ� ภูมิปัญญาของแต่ละชาติพันธุ์ท่ีได้รักษาและสืบทอดขนบธรรมเนียมของ ไทยแท้แต่โบราณ บรรพบรุ ษุ ของชาตติ นไว้ รวมทง้ั ไดส้ รา้ งสรรค์ความเจริญท้ังดา้ นเศรษฐกิจ บ้านเรือนของชาวโพหัก แต่เดิมมกั ปลูกเรอื นยกพืน้ สงู เพอ่ื ป้องกนั สงั คม และวฒั นธรรม ใหแ้ กจ่ ังหวัดราชบุรตี ้ังแต่อดีตจนถึงปจั จุบันน้ี น�้ำท่วม และมีพน้ื ท่ใี ต้ถุนว่างส�ำหรบั เกบ็ เครือ่ งมอื เครอ่ื งใชใ้ นการท�ำมาหากนิ จงั หวดั ราชบรุ มี กี ลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ ส่ี ำ� คญั ๘ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ จะกระจาย รูปทรงของตวั เรือนเปน็ แบบท่ีเรยี กวา่ เรอื นไทย เชน่ เดยี วกบั คนไทยในแถบ กนั ตง้ั ถนิ่ ฐานรวมกนั เปน็ ยา่ นตามความถนดั หรอื ความสามารถของแตล่ ะกลมุ่ ภาคกลางโดยทั่วไป เชน่ ชาวกะเหรย่ี ง มวี ถิ ชี วี ติ คลกุ คลอี ยกู่ บั ผนื ปา่ มาชา้ นาน รหู้ ลกั การใชป้ ระโยชน์ ในช่วงหลายปีท่ีผา่ นมา เศรษฐกจิ ในชมุ ชนดขี ึน้ ชาวโพหักหลาย จากผนื ปา่ และการนำ� ของปา่ มาแลกเปลยี่ นกบั คนในทอ้ งถน่ิ อนื่ จงึ มกั ตงั้ ถน่ิ ฐาน ครอบครวั เปลย่ี นอาชพี ทำ� นาเปน็ การเลย้ี งกุ้ง หลายครอบครัวจึงมีทนุ ทรพั ย์ อยบู่ นทส่ี ูงใกลป้ ่าเขา ชาวจีนเป็นกลุ่มแรงงานในอดีตและมคี วามถนดั ทาง เพยี งพอ จงึ สรา้ งบา้ นเปน็ เรอื นไทยอยกู่ นั อยา่ งหนาแนน่ จนกลายเปน็ เอกลกั ษณ์ การค้าจึงเป็นกลุ่มที่มักต้ังถ่ินฐานอยู่ในเมืองและน�ำพาเศรษฐกิจของราชบุรี ของชมุ ชนโพหกั ทมี่ เี รอื นไทยรวมกนั เปน็ กลมุ่ ๆ ทา่ มกลางทวิ ไมแ้ ละบอ่ เลยี้ งกงุ้ ใหเ้ จรญิ ก้าวหน้า สว่ นชาวไทยพ้นื ถิน่ มอี าชีพดัง้ เดมิ คอื ทำ� นา จงึ ตง้ั ถนิ่ ฐาน ประเพณขี องชาวไทยพน้ื ถนิ่ ราชบรุ ี รวมทง้ั การละเลน่ พนื้ บา้ นมลี กั ษณะ บริเวณท่รี าบลมุ่ แมน่ ้ำ� ท่ีอุดมสมบรู ณ์ เหมอื นกบั ภาคกลางทั่วไป เชน่ การเลน่ เพลงฉ่อย ร�ำโทน เพลงอีแซว เพลง เกย่ี วข้าว และมกั จะรว่ มในกิจการงานบญุ ในวันสำ� คัญทางพุทธศาสนา เชน่ คนไทยพนื้ ถิ่นราชบรุ ี คนโพหักไดอ้ าศยั คลองโพหัก วันเขา้ พรรษา ออกพรรษา และเทศกาลสำ� คัญของไทย เชน่ วนั สงกรานต์ คนไทยพื้นถ่ินราชบุรีมีเอกลักษณ์เด่นชัดอยู่ท่ีชุมชนบ้านโพหัก แหล่งน�้ำตามธรรมชาติหล่อเล้ียงชีวิตเร่อื ยมา จะมกี ารแข่งขนั วง่ิ วัวลาน เพ่อื ประชนั ความเร็วและความแขง็ แรงของววั เป็น ต�ำบลโพหัก อ�ำเภอบางแพ ซึ่งมักเรยี กกลุม่ ของตนเองว่า “คนโพหัก” เป็น ประจ�ำ ท�ำใหก้ ารแข่งขันววั ลานได้รบั การกลา่ วถึงว่าเปน็ ประเพณีทอ้ งถ่ินของ ที่รับร้กู นั ทวั่ ไปว่าเป็นกลุม่ คนทอ้ งถิน่ ของจังหวดั ท่ีพูดภาษาไทย บรรพบรุ ุษ ชาวโพหกั หรอื ชาวไทยพื้นถนิ่ ราชบุรีจนถึงปัจจุบันนี้ ของตนเกดิ และเติบโตในทอ้ งถ่นิ นี้นานแลว้ และไมม่ ปี ระวัตกิ ารอพยพยา้ ยถ่ิน มาจากท่ีอืน่

64 วถิ ชี ีวิตของชาวไทยจนี ท่ียดึ อาชีพการค้าขาย บา้ นเรอื นชาวไทยยวน 65 ชาวไทยจนี การป้ันโอ่งมังกรของชาวไทยจนี อาณาจกั รพมา่ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ชาวจีนอพยพเขา้ มาตั้งถิน่ ฐานในดินแดนไทยมาชา้ นานแลว้ ตัง้ แต่ เรอื เป็นพาหนะในการคา้ ขายของชาวไทยจีนในอดีต (รชั กาลที่ ๑ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร)์ โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ องทพั ไทยยกทพั ไปตเี มอื ง สมยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และต้นรตั นโกสนิ ทร์ คนจีนสว่ นใหญจ่ ะเข้ามาทำ� การคา้ เชยี งแสนและกวาดตอ้ นผคู้ นชาวเชยี งแสนราว ๑๓,๐๐๐ คน กระจายใหไ้ ปอยู่ เปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการเดนิ เรอื และตอ่ เรือ เปน็ เจา้ ภาษีนายอากร หรือ พน้ื ทตี่ า่ งๆ สว่ นหนงึ่ โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ าอยทู่ ร่ี มิ แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง ตำ� บลหนา้ เมอื ง ประกอบกจิ การเหมืองแร่และอนื่ ๆ ต่อมาในชว่ งสมยั รัชกาลที่ ๔ และรัชกาล อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี จนถึงปจั จุบันชาวไทยยวนไดข้ ยายครัวเรือนออกไปหลาย ที่ ๕ มีชาวจนี อพยพเขา้ มาเป็นแรงงานในดินแดนไทยและพนื้ ที่อ่ืนในภมู ภิ าค พืน้ ทใี่ นอ�ำเภอเมอื งราชบรุ ี อ�ำเภอบา้ นโปง่ และอ�ำเภอโพธาราม อาเซียนเป็นจำ� นวนมาก บรรพบุรุษของชาวไทยเชอื้ สายจีนในราชบุรีสว่ นใหญ่ ลกั ษณะบา้ นเรอื นของชาวไทยยวนในราชบรุ จี ะกอ่ สรา้ งเหมอื นชาวไทย ก็เป็นกลมุ่ แรงงานจนี ดังกลา่ วน้ี กลมุ่ อน่ื ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทรี่ าบ คอื การสรา้ งเรอื นยกพน้ื สงู เพอื่ ใชใ้ ตถ้ นุ เรอื นเปน็ ที่ ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๙-๒๔๑๑ โปรดเกลา้ ฯ ให้ขดุ เกบ็ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้ ทำ� จกั สานหรอื ทอผา้ ในยามวา่ งจากการทำ� นา หลงั คา คลองดำ� เนนิ สะดวก เชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งแมน่ ำ้� ทา่ จนี กบั แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง เพอื่ ขยาย ทรงจ่วั มชี านเรือนสำ� หรับรับแขกหรอื พกั ผอ่ น พ้ืนท่ีเพาะปลูกและเป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งและการค้าระหว่างเมืองต่างๆ ชาวไทยยวนทร่ี าชบรุ มี เี อกลกั ษณท์ างวฒั นธรรมเชน่ เดยี วกบั ไทยลา้ นนา แรงงานส่วนใหญ่ที่รับจ้างขุดคลองเป็นชาวจีนอพยพที่เพ่ิงเข้ามาอยู่ใน ทงั้ ดา้ นภาษาและตวั อกั ษรทเี่ รยี กวา่ “คำ� เมอื ง” การแตง่ กายและขนบธรรมเนยี ม ดินแดนไทยในสมัยรัชกาลท่ี ๔ นี่เอง ประเพณีทส่ี บื ทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยเฉพาะการทอผา้ จกยกลายที่งดงาม ชาวจนี มีคณุ ลักษณะเฉพาะ คอื ขยนั อดทน และถนัดในเรื่องการ ส่งผลใหผ้ า้ ทอไทยยวนราชบรุ ีในชมุ ชนตา่ งๆ สรา้ งรายไดแ้ ละสร้างชอ่ื เสยี งให้ คา้ ขาย ดงั นนั้ เมอื่ พบพนื้ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณใ์ นบรเิ วณทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� ชาวจนี เหลา่ น้ี จงั หวัดราชบรุ ี จงึ บุกเบิกแผ่นดินเพอ่ื ปลกู พืชไรข่ าย บางคนท่มี ีความร้ดู า้ นชา่ ง เช่น ช่างไม้ ช่างโลหะ ชา่ งป้นั กไ็ ด้ใชค้ วามสามารถประกอบอาชพี ของตนไดอ้ ยา่ งเสรี เม่ือ การทอผา้ ของชาวไทยยวนท่สี บื ทอดถงึ ปจั จบุ ัน ชาวไทยมอญ สามารถรวบรวมเงนิ ทุนได้กจ็ ะลงทุนคา้ ขายหรอื ท�ำกิจการต่างๆ ด้วยเหตุ ผูส้ งู อายชุ าวไทยมอญ ชาวมอญเป็นกลุ่มชนที่เข้ามาต้ังถ่ินฐานในดินแดนไทยมาช้านานแล้ว ดงั กลา่ วบรรพบุรษุ ของชาวไทยจนี ในราชบุรีจงึ เปน็ ผูร้ เิ ริ่มอาชพี ใหม่ๆ ทเ่ี ปน็ ดังปรากฏหลักฐานเป็นศิลาจารึกภาษามอญในอาณาจักรทวารวดีที่เมือง ช่ือเสียง และสรา้ งรากฐานทางเศรษฐกิจให้แก่จงั หวัดราชบุรสี ืบจนถงึ ปจั จุบัน อาหารของชาวไทยมอญ นครปฐมโบราณ อยา่ งไรกต็ าม ชาวไทยเชอ้ื สายมอญทตี่ งั้ ถน่ิ ฐานในดนิ แดนไทย เช่น กจิ การโรงสีข้าว โรงเล่ือย โรงน้�ำปลา โอง่ มังกร อ่ตู ่อรถ การทำ� เหมอื งแร่ สบื มาจนถงึ ปจั จบุ นั นนี้ น้ั มบี รรพบรุ ษุ ทอ่ี พยพมาจากประเทศเมยี นมาร์ เมอ่ื ครง้ั ย่านหรือพ้ืนท่ีท่ีชาวจีนเข้าไปต้ังถ่ินฐานมักเป็นเขตเมืองและตลาด อาณาจักรของชาวพม่ามีความเข้มแข็งและขยายอ�ำนาจตีเมืองหงสาวดีและ หรอื ทท่ี มี่ กี ารคมนาคมสะดวก ในเขตอำ� เภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอดำ� เนนิ สะดวก เมอื งเมาะตะมะของชาวมอญได้ ชนชัน้ สูง ผูน้ ำ� และพลเมอื งมอญจึงไดห้ นีภัย อำ� เภอบา้ นโป่ง และอำ� เภอโพธาราม เพอ่ื ประโยชน์ทางดา้ นการค้าขาย และ สงครามเขา้ มาอย่ใู นดนิ แดนไทย ซง่ึ เป็นสาเหตุหน่ึงทท่ี �ำให้เกิดสงครามไทย สามารถอยูร่ ่วมกบั ชาวไทยพนื้ ถน่ิ และกลุ่มเชอื้ ชาตอิ นื่ ๆ ไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุข โดย กับพม่าต้งั แต่สมัยอยุธยา ธนบุรี จนถงึ ตน้ สมัยรัตนโกสินทร์ แตล่ ะครงั้ จะมี ที่ยงั คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี และความเชือ่ ดั้งเดมิ ไว้ ใหม้ ลี ักษณะ ชาวมอญอพยพหนภี ัยสงคราม หรือถูกกวาดตอ้ นมาอยู่ในดนิ แดนไทย ซึ่งจะ ท่เี รยี กวา่ “ไชนา่ ทาวนแ์ ห่งราชบรุ ี” เช่นเดยี วกบั ชุมชนจนี อื่นๆ ท่ตี ง้ั ถน่ิ ฐาน โปรดเกล้าฯ ใหต้ ้งั ถิ่นฐานในบรเิ วณริมแมน่ ำ�้ เชน่ ท่เี กาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในภูมิภาคอาเซียน ทส่ี ามโคก จังหวัดปทุมธานี รวมทง้ั ทร่ี มิ แม่น�้ำแม่กลอง ที่อำ� เภอบา้ นโปง่ และ อ�ำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบุรี ชาวไทยยวน การทำ� บุญกลางบ้านของชาวไทยยวน ชาวมอญมศี รทั ธาในพระพทุ ธศาสนาอย่างมัน่ คง เมือ่ ตั้งชุมชนใน ชาวไทยยวนหรอื ไทยวน มบี รรพบุรษุ มาจากอาณาจกั รล้านนาท่ีต้ัง ดินแดนไทยก็จะร่วมมือกันสร้างวัดเพ่ือประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา อยู่ทางตอนเหนอื ของประเทศไทยในปจั จบุ ัน ตามความเชอ่ื ของตน ผสมผสานกบั ความเชอ่ื ดง้ั เดมิ เชน่ การนบั ถอื ผบี รรพบรุ ษุ ในอดีตอาณาจักรล้านนาเป็นรัฐอิสระและมีความยิ่งใหญ่ควบคู่กับ ทำ� ให้เกดิ ประเพณีร�ำผมี อญ เพื่อปกปอ้ งรกั ษาสมาชิกในครอบครัวให้อยูเ่ ยน็ อาณาจักรสโุ ขทยั มีขอบเขตดินแดนครอบคลุมพนื้ ทเ่ี มืองเชยี งใหม่ เชียงราย เปน็ สขุ งานบญุ จองโอะฮตานหรืองานบญุ เผาฟนื เป็นทานในชว่ งวันมาฆบูชา เชยี งแสน ลำ� ปาง ลำ� พนู แพร่ นา่ น ใน พ.ศ. ๒๑๐๑ ไดต้ กเปน็ เมอื งข้นึ ของ ทเ่ี ราสามารถเข้ารว่ มประเพณีน้ีได้ทว่ี ัดม่วง อ�ำเภอบ้านโปง่ จังหวัดราชบุรี

66 67 ชาวไทยเชื้อสายมอญท่ีราชบุรีมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น ชาวไทยลาวโซ่ง และยงั คงรักษาขนบธรรมเนยี มประเพณดี ง้ั เดมิ ไว้ เช่นกลุ่มผสู้ ูงอายยุ ังสามารถ ชาวไทยลาวโซ่งหรือลาวโส้งมีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณเมืองแถงใน ใชภ้ าษามอญสอ่ื สารกนั ได้ นอกจากนใี้ นงานบญุ ประเพณตี า่ งๆ กม็ กั จะแตง่ กาย ประเทศเวยี ดนาม และตามบรเิ วณชายเขตแดนระหว่างประเทศลาวกบั แสดงถึงความเปน็ มอญอย่างชัดเจน เชน่ ผ้ชู ายจะสวมเส้ือคอกลม นงุ่ โสร่ง เวยี ดนามซง่ึ มสี งครามรกุ รานกนั อยเู่ สมอ ทง้ั ในสมยั ธนบรุ แี ละตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ลายตารางสเ่ี หลี่ยม มีผา้ ขาวมา้ พาดไหล่ สว่ นผูห้ ญงิ สวมเสอ้ื เข้ารูปคอกลม อาณาจักรไทยได้ส่งกองทัพเพ่ือแผ่ขยายอ�ำนาจไปถึงดินแดนของลาว แขนยาวทรงกระบอก สวมผา้ นงุ่ คลมุ ตาตมุ่ มผี า้ สไบพาดไหล่ รวมทง้ั เกลา้ ผม สงครามดงั กลา่ วทำ� ใหช้ าวลาวโซง่ ตอ้ งอพยพหนภี ยั สงครามหลายครง้ั บางกลมุ่ มวยแบบมอญ แล้วแซมผมดว้ ยดอกไมอ้ ยา่ งงดงาม อพยพเขา้ ไปอยูใ่ นประเทศเวยี ดนาม บางกลมุ่ อพยพไปอยู่ในอาณาจักรหลวง พระบางของลาว บางส่วนอพยพเขา้ มายังดนิ แดนไทยด้วยความสมัครใจ และ ชาวไทยกะเหรี่ยง วัฒนธรรมการแตง่ กาย กลมุ่ ผูส้ งู อายุชาวไทยมอญ ชาวไทยกะเหร่ียงราชบุรีร่วมกันแห่รูปหลอ่ บางสว่ นถูกทพั ไทยกวาดตอ้ น ซึ่งไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ให้ตัง้ บ้านเรอื นอยู่ในเขต ชาวไทยกะเหรยี่ งเปน็ กลมุ่ ชนพนื้ ถนิ่ ทอี่ าศยั อยบู่ นเทอื กเขาตะนาวศรี พิธีผกู แขนเรียกขวัญ (กินขา้ วหอ่ ) หลวงพอ่ นวมเพ่อื เขา้ พิธีเหยยี บหลงั ชาวกะเหรี่ยง จังหวดั เพชรบรุ ี ภายหลังเมอ่ื มปี ระชากรเพิ่มขนึ้ จึงมีการอพยพโยกยา้ ยเขา้ มา ซ่ึงเช่ือมตอ่ ระหว่างไทยกับเมยี นมาร์ นโยบายการสรา้ งความเป็นเอกภาพและ ของชาวไทยกะเหรย่ี ง ตั้งถนิ่ ฐานและกระจายกันอยใู่ นพ้นื ที่อ�ำเภอจอมบงึ อำ� เภอด�ำเนินสะดวก ปราบปรามชนกลมุ่ นอ้ ยในประเทศเมยี นมาร์ เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ใหช้ าวกะเหรย่ี ง ประเพณกี ารลม้ ตัวนอนเปน็ สะพาน อำ� เภอบางแพ และอำ� เภอปากทอ่ จงั หวดั ราชบรุ ี รวมทง้ั จงั หวดั ใกลเ้ คยี งอนื่ ๆ อพยพเคลื่อนยา้ ยเขา้ มาอยูใ่ นดินแดนไทยเพิ่มขน้ึ โดยเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานบน พธิ ีบุญกลางบา้ นของชาวไทยกะเหรีย่ ง ของชาวไทยกะเหรีย่ ง ชาวไทยท่ีสืบเช้ือสายมาจากลาวโซ่งยังคงรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิม พนื้ ทสี่ ูงในเขตจังหวัดกาญจนบรุ ี และในอ�ำเภอสวนผ้ึง และอำ� เภอบ้านคา อนั เปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะถ่ินไว้ เช่น การแตง่ กาย ภาษา การทอผ้า รูปทรง จังหวัดราชบุรี บ้านเรอื น และการประกอบพธิ กี รรมตามความเชอ่ื ดั้งเดิม อนั ที่จรงิ ในดินแดนไทยมชี าวกะเหรี่ยงอยหู่ ลายกลมุ่ และกระจายกนั แตเ่ ดิมชาวลาวโซง่ นยิ มน่งุ ห่มดว้ ยผ้าทอจากฝ้าย และย้อมด้วยน้�ำ ในหลายพื้นที่ เช่น กะเหรี่ยงโปทีอ่ ำ� เภอแมส่ ะเรียง จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ตน้ คราม (ตน้ หอ้ ม) เปน็ สนี ้�ำเงนิ เข้ม บา้ งกย็ ้อมด้วยนำ้� ผลมะเกลือเป็นสีดำ� ชาวไทยกะเหร่ียงท่ีราชบุรียังคงรักษางานประเพณีที่สืบทอดจาก รูปแบบของเสือ้ ผา้ มลี ักษณะเฉพาะตามงานประเพณี ซงึ่ เปน็ รปู แบบของ บรรพบรุ ษุ จงึ มีเอกลักษณ์เฉพาะทางวัฒนธรรมท่โี ดดเดน่ หลายประการ เชน่ ชาวไทดำ� ในประเทศเวียดนาม รวมทั้งภาษาชาวลาวโซ่งกค็ ล้ายคลึงกบั ภาษา งานประเพณผี ูกแขนเรยี กขวญั (กินขา้ วหอ่ ) งานประเพณบี ชู าสงิ่ ศักดส์ิ ทิ ธิ์ ไทดำ� น่ันเอง ประจ�ำหมู่บ้าน ซง่ึ ชาวไทยกะเหรีย่ งทง้ั หญงิ ชายจะแตง่ กายตามแบบด้งั เดมิ มาร่วมประกอบพธิ กี รรมตามประเพณดี งั กล่าว เครือ่ งมอื เครื่องใช้ในครวั เรอื นของชาวไทยลาวโซ่ง ชาวไทยกะเหรยี่ งทร่ี าชบรุ สี ว่ นใหญน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา เนอื่ งจาก ทรงผม เสื้อผ้าการแต่งกายของชาวลาวโซ่ง หรอื ชาวไทยทรงดำ� ศรทั ธาหลวงพอ่ นวม (อดีตเจา้ อาวาสวัดแจ้งเจรญิ ตำ� บลจอมประทดั อ�ำเภอ วดั เพลง จงั หวดั ราชบรุ )ี ตงั้ แตเ่ มอื่ ครง้ั หลวงพอ่ นวมออกธดุ งคเ์ จรญิ กรรมฐาน ในปา่ แถบเทอื กเขาตะนาวศรี ไดอ้ บรมสง่ั สอนใหช้ าวกะเหรย่ี งเขา้ ถงึ หลกั ธรรม ทางพระพุทธศาสนา ต่อมาเมือ่ หลวงพ่อนวมได้เป็นเจา้ อาวาสวดั แจ้งเจรญิ ชาวกะเหร่ียง ในเทอื กเขาตะนาวศรเี ดนิ ทางมาพง่ึ บารมหี ลวงพอ่ ตลอดมา เมอื่ ทา่ นมรณภาพ ชาวกะเหรี่ยงก็ยังคงมาสักการะอยู่เสมอจนกลายเป็นประเพณีในช่วงวัน ขน้ึ ๑๕ ค่ำ� เดอื น ๕ ชาวกะเหรยี่ งจ�ำนวนมากจะมารวมตวั กันบ�ำเพญ็ บญุ ถอื ศลี ฟังธรรม เกิดเป็นประเพณกี ารลม้ ตัวนอนทอดเปน็ สะพาน เพอื่ ให้ พระสงฆท์ ี่ตนเองนบั ถือเดินไปสกู่ ารบรรลุหลุดพ้น เปน็ งานบญุ ประเพณอี นั ย่งิ ใหญข่ องชาวไทยกะเหรี่ยงท่รี าชบุรสี บื จนถึงทกุ วันน้ี

68 69 ปัจจุบันชาวไทยท่ีสืบเชื้อสายมาจากชาวลาวโซ่งมีวิถีชีวิตตามแบบ สมยั นยิ ม การแตง่ กายตามขนบประเพณเี ดมิ จะแตง่ เฉพาะในงานประเพณี ลกั ษณะบ้านเรอื นทรงกระดองเตา่ ของชาวไทยลาวโซ่ง สำ� คัญเทา่ นัน้ แมแ้ ต่บ้านเรอื นทีอ่ ยู่อาศัยกเ็ ป็นแบบชาวไทยทวั่ ไป เอกลกั ษณ์ ที่ศนู ย์วฒั นธรรมท้องถ่นิ อ�ำเภอปากท่อ จงั หวดั ราชบุรี บ้านเรือนของชาวลาวโซ่งแต่ด้ังเดิมสะท้อนถึงภูมิปัญญาในการปลูกเรือน ตามสภาพภูมิอากาศ ท่ีอยู่อาศยั ท่เี รียกวา่ เรอื นทรงกระดองเต่า มลี กั ษณะ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทยลาวเวียงที่ยังคงสืบทอดมา โดดเด่น คอื เรอื นยกพนื้ สูง มบี ันไดขน้ึ ท้งั หนา้ บา้ นและหลงั บา้ น และมี จนถงึ ปจั จบุ นั คอื การใชภ้ าษาลาวถน่ิ เวยี งจนั ทน์ การแตง่ กายแบบลาวเวยี งจนั ทน์ หลงั คาทำ� จากหญา้ กรอมฝาเรอื น ชว่ ยปอ้ งกนั ลมหนาวไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ลกั ษณะ ในเทศกาลงานบญุ เชน่ วนั สงกรานต์ วนั สารทลาว การสขู่ วญั แขกบา้ นแขกเมอื ง บา้ นแบบนี้ไมเ่ หมาะกบั ภูมิอากาศในดนิ แดนไทย ดังนน้ั จงึ เหลือใหศ้ กึ ษาได้ท่ี รวมท้ังประกอบพิธกี รรมตามคติความเช่ือทางพระพทุ ธศาสนา และความเช่อื ศนู ย์วัฒนธรรมท้องถิ่นเท่านนั้ ดง้ั เดมิ เชน่ ประเพณแี หด่ อกไม้ การสรงนำ�้ พระและผใู้ หญท่ เ่ี คารพนบั ถอื การ วัฒนธรรมของชาวลาวโซ่งท่ชี ัดเจน คอื การทอผา้ การไว้ทรงผม ทำ� บญุ ข้าวสารท (บญุ เดอื น ๑๐) บญุ ไต้น�้ำมันในช่วงวันออกพรรษา การแตง่ กาย และการประกอบพิธีกรรมตามความเชอ่ื เชน่ พิธเี สนเฮอื น ชาวไทยเขมร หรือพธิ ีแสดงความกตญั ญูตอ่ ผีเรือนท่ชี ว่ ยปกปอ้ งดแู ลคนในครอบครัว การต้ังถ่ินฐานของชาวเขมร หรือชาวกมั พูชาในราชบุรไี ม่มีหลกั ฐาน ชัดเจนนอกจากคำ� บอกเลา่ ของผู้เฒ่าผ้แู กบ่ างคนวา่ ถูกกวาดต้อนมาจาก ชาวไทยลาวเวียง งานบวชของชาวไทยเขมรราชบรุ ี โดยให้นาคขี่ ทางเหนอื จงึ สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็ กลมุ่ ชนทถ่ี กู กวาดตอ้ นจากการทำ� สงคราม ชาวไทยลาวเวียงหรือชาวไทยลาวตี้ เปน็ กล่มุ ชนท่บี รรพบุรษุ มาจาก บนหลงั มา้ กณั ฐกะ ซง่ึ ทำ� จากตง่ั ไมก้ ระดาน ขามา้ ระหวา่ งไทยกับกัมพูชาในสมัยธนบุรีและสมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะใน เมืองเวียงจันทนข์ องประเทศลาว ในยุคทอี่ าณาจกั รไทยท�ำสงครามแผข่ ยาย ทงั้ ๔ ขาผกู ยดึ กบั ไมไ้ ผล่ ำ� เขอ่ื งยาวขา้ งละประมาณ การทำ� ศกึ กบั ญวนหรอื เวยี ดนาม ในสมยั รชั กาลที่ ๓ เพอ่ื แยง่ ชงิ ความเปน็ ใหญ่ อำ� นาจ เมือ่ ได้ชัยชนะจงึ ถกู กองทพั ไทยกวาดตอ้ นใหม้ าอยู่ในดนิ แดนไทย ๒ วา และเขยี นรปู มา้ บนกระดาษแขง็ ตดิ ประกบ ในอาณาจักรเขมร ชาวเขมรจึงถกู กวาดตอ้ นใหม้ าต้งั บ้านเรอื นอยู่ในราชบรุ ี ต้งั แต่สมยั ธนบรุ ี และสมยั ตน้ รัตนโกสนิ ทร์ ซึง่ โปรดเกลา้ ฯ ให้มาตัง้ ถ่ินฐาน ซา้ ยขวา ใชผ้ า้ นวมหรอื ผา้ ขนหนผู กู ตดิ ไวก้ บั หลงั มา้ ในระหวา่ งสงครามดังกล่าว ปจั จบุ นั ชาวไทยเขมรกระจายกนั อยใู่ นเขตอ�ำเภอ ในอ�ำเภอเมอื งราชบรุ ี อำ� เภอโพธาราม อ�ำเภอบ้านโป่ง และอำ� เภอจอมบงึ ใน เพอ่ื ใหผ้ นู้ งั่ สะดวกในการนง่ั และขโ่ี ลดแลน่ ไปตาม เมืองราชบุรี อ�ำเภอปากท่อ และอำ� เภอวดั เพลง จงั หวดั ราชบรุ ี รอยพระพุทธองค์ ปัจจุบันชาวไทยเขมรในราชบุรีมีวิถีชีวิตตามแบบสมัยนิยมจะมีแต่ ชว่ งงานบุญประเพณที ่ผี ูส้ ูงอายจุ ะแต่งกายตามวฒั นธรรมดั้งเดมิ เชน่ การนุ่ง พธิ แี ก้หอ่ ข้าวบุญเดอื นสบิ ของชาวไทยลาวเวยี ง ประเพณแี หด่ อกไมใ้ นชว่ งเทศกาลสงกรานต์ อาหารส�ำหรับพธิ ที �ำบุญกลางบา้ น โจงกระเบน และสวมเสื้อคอกระเชา้ ของผู้หญิง สว่ นชายก็จะนุ่งโจงกระเบนท่ี ของชาวไทยเขมร เรียกว่า นงุ่ ผา้ ม่วง สวมเสอื้ ราชปะแตนหรอื เสือ้ คอตั้งแขนยาวเหมอื นชาวไทย ในอดตี ชาวไทยเช้ือสายต่างๆ ทงั้ ๘ กลุ่มนีล้ ว้ นมีความภาคภูมิใจทเ่ี ปน็ ส่วน หน่ึงของความหลากหลายทางชาตพิ นั ธข์ุ องจังหวัดราชบรุ ี อนั เป็นความโดด เดน่ ทางวฒั นธรรมของจงั หวดั ราชบุรอี ย่างแท้จรงิ

70 แหล่งภมู ปิ ญั ญา คณุ คา่ คเู่ มอื งราชบุรี ราชบุรีท่ีคนส่วนใหญ่รู้จักอาจเป็นเพียงเมืองท่องเที่ยวแห่งหนึ่งท่ีอยู่ ไมไ่ กลจากกรุงเทพมหานครมากนกั แหล่งทอ่ งเท่ยี วทม่ี ีชื่อเสยี งกค็ งเปน็ ตลาดนำ้� ดำ� เนนิ สะดวก และทศั นยี ภาพอนั สวยงามของอำ� เภอสวนผงึ้ ยามหนาว น้อยคนนักที่จะรู้ว่าดินแดนแห่งนี้เคยเป็นบ้านเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมาช้านาน ตงั้ แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ เรอื่ ยมาถงึ ยคุ ประวตั ศิ าสตรท์ ก่ี อ่ ตงั้ ทวารวดี สโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบุรี รตั นโกสนิ ทร์ จวบจนกระท่งั ปจั จบุ นั และในบริเวณลมุ่ น้ำ� แมก่ ลองนยี้ งั เปน็ ทตี่ ง้ั ถน่ิ ฐานของผคู้ นหลากหลายชาตพิ นั ธ์ุ รวมทงั้ ชาวตา่ งชาติ ท่ีเดินทางมาค้าขาย จงึ ท�ำให้ที่นี่เป็นแหลง่ ก�ำเนิดอารยธรรมทส่ี �ำคญั แห่งหน่งึ ทงั้ ศลิ ปวตั ถุ โบราณวตั ถุ และสง่ิ ของเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ทข่ี ดุ คน้ พบ และทช่ี าวบา้ น เก็บรักษาไวเ้ ป็นอย่างดี สะท้อนให้เหน็ วิถชี วี ิต ภูมิปญั ญาอันเกดิ จากความคิด ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณีท่ีน่าสนใจยง่ิ ชาวบ้านหลากหลายชาติพันธุ์ในจังหวัดราชบุรีต่างมีความภาคภูมิใจ ในประวัติความเป็นมาของบรรพบุรุษ และมรดกทางวัฒนธรรมของตน จึง ไดเ้ ก็บรักษาศิลปวัตถุ โบราณวตั ถุ ตลอดจนเครอื่ งมือเครอื่ งใช้ต่างๆ จำ� นวน มากมายไวเ้ ปน็ อยา่ งดี และสบื ทอดตอ่ กนั มานบั หลายรอ้ ยปี ดว้ ยความตอ้ งการ ท่ีจะเก็บรวบรวมสิ่งมีค่าเหล่าน้ไี วเ้ ป็นหลักแหลง่ ใหล้ ูกหลานและคนทว่ั ไปได้ ศกึ ษาเรียนรู้เร่อื งราว ความเป็นอยู่ และภูมปิ ญั ญาของคนรนุ่ ก่อนๆ จงึ กอ่ เกดิ เปน็ พิพธิ ภัณฑ์พ้ืนบา้ นหลายแหง่ ในจังหวัดนี้ องค์กรและหนว่ ยงานต่างๆ ท่ี เหน็ ความมงุ่ มน่ั ตง้ั ใจของชาวบา้ นกใ็ หก้ ารสนบั สนนุ แตก่ ระนน้ั กย็ งั ไมเ่ พยี งพอ เพราะพิพธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นบางแห่งไม่ได้เกบ็ ค่าเขา้ ชม หรอื หากเก็บคา่ เขา้ ชม กแ็ สนถูก ความอยรู่ อดของพิพธิ ภัณฑ์พนื้ บา้ นจึงข้นึ อยกู่ บั วา่ หน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน รวมทั้งคนไทยทั้งปวงจะเห็นคณุ คา่ เพียงใด

72 73 พิพิธภัณฑ์ในความคิดของหลายคนอาจเห็นเป็นเพียงสถานที่เก็บ รวบรวมของเก่าท่หี ่างไกลจากชวี ิต ไมม่ ีชีวิตชวี า การเข้าชมพพิ ธิ ภัณฑ์จึงเปน็ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี เพยี งการดแู บบผิวเผนิ วา่ มีอะไรอยูบ่ ้าง หรือเข้าไปชมเพราะตอ้ งท�ำรายงาน ทำ� วิจยั สง่ ครอู าจารย์ แตพ่ พิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บ้านท่ีตงั้ อยู่ในชุมชนหลากหลาย อาคารสชี มพบู นถนนวรเดชอาจเปน็ ทค่ี นุ้ ตาของชาวราชบรุ ี แตส่ ำ� หรบั ชาติพันธุ์ในจังหวัดราชบุรียังคงมีกล่ินอายวิถีชีวิตของเผ่าพันธุ์ท่ีผู้มาเยือน คนตา่ งถิน่ คงสะดดุ ตาไม่น้อย ด้วยสสี นั ทส่ี ดใสและรปู ทรงอาคารท่งี ดงาม สามารถสัมผัสได้ นน่ั เปน็ เพราะทกุ วนั น้ีชาวบา้ นยงั คงดำ� รงรักษาเอกลกั ษณ์ ปา้ ยด้านหนา้ บอกให้ทราบวา่ ที่นค่ี อื พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบรุ ี ตงั้ อยู่ ของตนไว้ได้ท่ามกลางการเปลยี่ นแปลงทถ่ี าโถมเขา้ มา น่ีเองทเี่ ปน็ เสน่ห์ท่ี ทีต่ ำ� บลหนา้ เมอื ง อำ� เภอเมอื งราชบุรี บนฝ่งั ขวา (ฝั่งตะวันตก) ของแม่น้�ำ พวกเรานา่ จะไดไ้ ปเยย่ี มเยือน ซ่ึงนอกจากจะได้รับความรู้เก่ียวกบั วิถชี วี ติ แม่กลอง ด้านหนา้ พพิ ธิ ภัณฑฯ์ เปน็ สนามหญา้ เขยี วขจี ตกแต่งอย่างสวยงาม ความเป็นอยู่ ความภาคภูมิใจในภมู ปิ ญั ญาของคนรุ่นก่อน ความอ่ิมเอมใจ ด้านหนึง่ จัดเป็นเหมอื นสวนสาธารณะ รมิ สนามปลูกตน้ ตะแบกออกดอก จากความประณีตงดงามของศิลปวตั ถุ โบราณวตั ถุ และสง่ิ ของเครอื่ งใช้ต่างๆ สชี มพูงามสะพรัง่ ใต้ต้นไม้ใหญ่มีโต๊ะสนามท่ีเปน็ ม้าหนิ ไวใ้ หผ้ คู้ นพากนั มา แล้วยังจะได้รับความสุขใจจากน้�ำใจของชาวบ้านท่ีให้การต้อนรับด้วยความ นง่ั พักผอ่ นหยอ่ นใจ กลางสนามมีหุน่ สุนัขตวั โตนา่ รักจ้องดลู กู ฟตุ บอลเซรามิก ยิ้มแยม้ แจม่ ใสและอบอ่นุ หลากสี เปน็ ทเ่ี จรญิ ตาเจริญใจ สวนดา้ นหนา้ พพิ ิธภัณฑ์ท้ังสองฝง่ั ได้รับการ การทพ่ี ิพธิ ภณั ฑพ์ ืน้ บ้านจะยังคงอยู่ตอ่ ไปได้มใิ ชเ่ ร่อื งงา่ ย เพราะ ดแู ลเป็นอยา่ งดี ชว่ ยใหอ้ าคารครึง่ ตึกครง่ึ ไม้ ๒ ช้ัน ท่ีอยู่ซา้ ยมอื ของประตู ตอ้ งเลย้ี งตวั เอง ความอยรู่ อดของพพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นในวนั นจี้ งึ รอการสนบั สนนุ ทางเขา้ ดงู ามสงา่ ยงิ่ ขนึ้ อาคารหลงั นยี้ กพนื้ สงู หลงั คามงุ กระเบอื้ งวา่ ว ดา้ นหนา้ จากทกุ ฝา่ ย เพือ่ ให้สามารถดำ� เนนิ งานตอ่ ไปได้ พิพิธภณั ฑสถานนบั เป็น กอ่ เปน็ มขุ ยนื่ ออกไป เรยี กวา่ อาคารสว่ นบรกิ าร ใชเ้ ปน็ ทจี่ ดั นทิ รรศการหมนุ เวยี น แหลง่ เรียนรู้ทีส่ �ำคญั อยา่ งหน่งึ ทีเ่ ราจะได้รู้จักรากเหง้าความเปน็ มาของชมุ ชน เปน็ ส�ำนักงาน และเปน็ คลงั จัดแสดงศลิ ปะโบราณวัตถุ ตรงเข้าไปเปน็ อาคาร ทอ้ งถ่นิ และชาตขิ องตน กอ่ ใหเ้ กิดความรัก ความหวงแหน และความ จดั แสดงนิทรรศการถาวร อาคารทัง้ สองหลังน้ีไดร้ บั อิทธพิ ลดา้ นรูปแบบการ ภาคภมู ิใจ ไดเ้ รยี นรอู้ ดีตท้งั ความเจรญิ และความเสือ่ ม เพือ่ รเู้ ท่าทนั ทีจ่ ะ สรา้ งจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ท่ีไดร้ บั ความนยิ มอย่างแพร่หลายใน ดำ� เนนิ ชวี ติ ในปัจจุบนั ใหอ้ ยูไ่ ด้ด้วยดี ตัวอย่างพิพธิ ภณั ฑสถานที่จะแนะนำ� ช่วงรัชกาลท่ี ๕ – ๖ ให้ทา่ นไปเยย่ี มชมคือ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบรุ ี พิพธิ ภัณฑพ์ ื้นบา้ น อาคารจดั แสดงนทิ รรศการถาวร ลกั ษณะของอาคารเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี ม วัดมว่ ง จิปาถะภัณฑส์ ถานบ้านคบู ัว พิพิธภณั ฑ์วัดคงคาราม และพิพิธภัณฑ์ ผนื ผา้ ชนั้ เดยี ว ตวั อาคารกอ่ อฐิ ถอื ปนู ยกพน้ื สงู หลงั คามงุ กระเบอ้ื งวา่ ว ดา้ นใน ทหารชา่ ง ซงึ่ เปน็ เพียงสว่ นหน่ึงในจ�ำนวนพิพธิ ภณั ฑอ์ ีกหลายแหง่ ในจังหวัด ตรงกลางเปน็ พน้ื ทวี่ า่ งตกแตง่ เปน็ สวนไมด้ อกไมป้ ระดบั อยา่ งสวยงาม อาคาร ราชบุรีทที่ า่ นสามารถไปเย่ยี มชมได้ หลงั นเ้ี ดมิ เปน็ ศาลาวา่ การรฐั บาลมณฑลราชบรุ ี (ใชเ้ ปน็ ทว่ี า่ การเมอื งราชบรุ ดี ว้ ย) อาคารหลงั นไ้ี ดใ้ ชเ้ ปน็ ศาลากลางจงั หวดั ราชบรุ จี นถงึ พ.ศ. ๒๕๒๔ กรมศลิ ปากร ไดป้ ระกาศขน้ึ ทะเบยี นอาคารนเ้ี ปน็ โบราณสถานของชาตเิ มอ่ื วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ และจัดตั้งเปน็ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ ราชบรุ ี ใน พ.ศ. ๒๕๒๙ ใน พ.ศ. ๒๕๓๔ หลงั จากจดั แสดงนิทรรศการถาวรเสรจ็ สมบูรณ์ กรมศลิ ปากรได้กราบบังคมทลู เชญิ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรม- ราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบุรี อย่างเปน็ ทางการ หลังจากน้นั ก็ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปน็ การ ส่วนพระองค์อกี ครงั้ ใน พ.ศ. ๒๕๓๖ อาคารมณฑลราชบรุ ี ปจั จบุ นั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบรุ ี ภาพบน : สวนหยอ่ มภายในอาคารจดั แสดงนทิ รรศการ The Ratchaburi prefecture office was located, Ratchaburi National Museum in present ภาพลา่ ง : ดา้ นหนา้ อาคารจดั แสดงนทิ รรศการถาวร

74 หอ้ งแสดงสภาพภมู ศิ าสตรแ์ ละธรรมชาตวิ ทิ ยา พระพทุ ธรปู โบราณสมัยลพบุรี 75 โครงกระดกู มนษุ ย์ยุคแรกทอี่ าศยั อยู่ในราชบุรี ภาชนะดินเผา ต่อมาสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟา้ กัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวง โลงศพรปู เรือ สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ ศนู ยก์ ลางการคา้ ใหมบ่ นคาบสมทุ รตอนใต้ และอิทธพิ ลจากวัฒนธรรมเขมร นราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ก็ไดเ้ สด็จพระราชด�ำเนินเป็นการส่วนพระองคเ์ ม่ือ เครื่องถ้วยลายคราม สมัยราชวงศ์หมงิ โบราณวตั ถุทข่ี ดุ ค้นพบและจดั แสดงในห้องน้ี ไดแ้ ก่ ประตมิ ากรรมรูปพ่อค้า พ.ศ. ๒๕๔๒ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ - ๒๒ ชาวตะวันออกกลาง เครือ่ งถ้วยจนี สมยั ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑-๑๔๕๐) การจัดแสดงนิทรรศการถาวรจะเนน้ เร่อื งราวของท้องถิ่น ทัง้ ดา้ น รวมทง้ั โบราณวตั ถสุ มยั ทวารวดี เชน่ เทวรปู พระศวิ ะ เศยี รพระ เครอ่ื งประดบั ธรณวี ทิ ยา โบราณคดี ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ วฒั นธรรมพนื้ บา้ น สิ่งส�ำคญั ท่จี ดั แสดงในหอ้ งนีค้ อื พระบรมสารีรกิ ธาตุทพ่ี บจากเมืองโบราณคูบัว ชาตพิ นั ธวุ์ ิทยา และแหลง่ ท่องเที่ยวท้งั ด้านวฒั นธรรมและธรรมชาติ มีหอ้ ง ห้องจัดแสดงท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดีจงั หวดั ราชบรุ ี จัดแสดงรวมท้ังสิ้น ๑๒ หอ้ ง สมยั ลพบรุ ี จดั แสดงรอ่ งรอยหลกั ฐานของวฒั นธรรมเขมร (หรอื ทน่ี ยิ มเรยี กวา่ หอ้ งจัดแสดงที่ ๑ สภาพภมู ศิ าสตรแ์ ละธรรมชาติวทิ ยา จดั แสดง ลพบรุ )ี จากเมอื งพระนคร ประเทศกมั พชู า ทเ่ี ขา้ มามอี ทิ ธพิ ลในชว่ งพทุ ธศตวรรษ แหล่งกำ� เนดิ ทรพั ยากรธรรมชาติประเภท ดิน หนิ แร่ พรอ้ มทงั้ มตี วั อย่างของ ท่ี ๑๖-๑๘ วัฒนธรรมเขมรเจรญิ รงุ่ เรืองอยรู่ าว ๓๐๐ ปีก็เสือ่ มลงเมื่อสน้ิ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ หนิ แร่ อญั มณี และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ รชั กาลพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ และผู้น�ำนครรฐั ต่างๆ ในล่มุ นำ้� เจ้าพระยามี ทีม่ ีแหลง่ ก�ำเนดิ ในจงั หวดั ราชบุรี มรี ูปจ�ำลองลกั ษณะภมู ิประเทศของจังหวัด ความเปน็ ปกึ แผน่ ไดพ้ ฒั นาวฒั นธรรมใหมจ่ ากการหลอมรวมวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ราชบรุ ีและจงั หวัดใกล้เคยี ง และรูปจำ� ลองแสดงแหลง่ แร่ ผเู้ ขา้ ชมจะได้รับ วฒั นธรรมทวารวดี วฒั นธรรมเขมร กอ่ เกดิ เป็นวฒั นธรรมไทยในปลาย ความร้เู กีย่ วกับสภาพภูมิประเทศ ลกั ษณะทางธรณีวิทยา สภาพภมู อิ ากาศ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ หลกั ฐานดา้ นโบราณคดพี บที่เมอื งโบราณราชบรุ ซี ่งึ มี พชื พรรณและปา่ ไม้ สตั ว์ แหล่งน้ำ� และแหล่งก�ำเนิดแร่ พระปรางค์วัดมหาธาตเุ ปน็ ศูนยก์ ลางเมอื ง และทเี่ มอื งโบราณโกสินารายณ์ หอ้ งจดั แสดงที่ ๒ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดจี งั หวดั ราชบรุ ี สมยั ในอ�ำเภอบ้านโป่ง ทส่ี ำ� คญั คือ พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกิเตศวร (๑ ใน ๕ องค์ กอ่ นประวัติศาสตร์ แสดงให้เห็นวถิ ีชวี ิตแบบสงั คมลา่ สตั ว์ เมอ่ื ๑๒,๐๐๐ ปี ที่พบในดินแดนประเทศไทย) สง่ิ ทีจ่ ดั แสดงไวใ้ นหอ้ งนม้ี พี ระพทุ ธรูปโบราณ ก่อนเข้าสูส่ ังคมเกษตรกรรม และพฒั นาสู่สงั คมเมือง ผู้เขา้ ชมจะได้เรียนรู้ ช้นิ สว่ นสถาปตั ยกรรมของกรอบประตูทับหลัง และเครื่องเคลอื บจนี ผ่านหุ่นจำ� ลอง ภาพ แผนท่ี และร่องรอยหลักฐานของมนุษยย์ ุคแรกทอ่ี าศัย หอ้ งจดั แสดงที่ ๕ ประวตั ศิ าสตร์และโบราณคดีจงั หวัดราชบุรี อยู่ในบรเิ วณจังหวดั ราชบุรี เป็นต้นวา่ โครงกระดูกมนษุ ย์ เครอ่ื งมอื หนิ และ สมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยา จากหลกั ฐานทปี่ รากฏในศลิ าจารกึ ของพอ่ ขนุ รามคำ� แหง โลหะ ภาชนะดินเผา กลองมโหระทกึ โบราณ (พบทโ่ี บราณสถานเมอื งคบู วั ) หลกั ที่ ๑ และจารกึ สโุ ขทยั หลกั ๑๑ มกี ารกลา่ วถงึ เมอื งราชบรุ วี า่ เปน็ เมอื งทา่ เครือ่ งประดับหนิ สีและโลหะ ที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นวิถกี ารด�ำรงชีพ และการตดิ ตอ่ บนเส้นทางการค้าและการคมนาคมระหว่างหัวเมืองในเขตลุ่มน้�ำเจ้าพระยา สมั พนั ธก์ ับดินแดนใกลเ้ คยี งรวมทงั้ ดินแดนหา่ งไกล เชน่ จนี อนิ เดีย ส่งิ ทน่ี ่า ไปยงั ตะนาวศรซี ่ึงเป็นเมืองทา่ ชายฝ่ังอันดามัน สะดดุ ตาเห็นจะเป็นโลงศพรูปเรือสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ที่เชือ่ วา่ เรอื เปน็ ส่วนในสมัยอยุธยา ฐานะของเมืองราชบุรีเป็นหัวเมืองรวมอยู่ใน พาหนะสง่ วญิ ญาณไปสสู่ คุ ติ มอี ายรุ าว ๒,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ปี พบโดยคณะ เขตราชธานี เรยี กว่า “เมืองในมณฑลราชธานี” ในสมยั พระเจ้าจักรพรรดิ ส�ำรวจไทย-เดนมารก์ (ระหวา่ ง พ.ศ.๒๕๐๒-๒๕๐๔) และสมัยพระนารายณ์มหาราช ใช้เมืองราชบุรีเป็นที่ระดมพลต่อต้านข้าศึก หอ้ งจดั แสดงท่ี ๓ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดจี งั หวดั ราชบรุ ี สมยั ถงึ สมยั พระเพทราชาอยใู่ ต้บังคับการของสมุหพระกลาโหม หลังจากนัน้ ทวารวดี จดั แสดงรอ่ งรอยของวฒั นธรรมทวารวดที พี่ บในจงั หวดั ราชบรุ ใี นชว่ ง หัวเมืองฝ่ายใต้รวมท้ังราชบุรีข้ึนกับกรมท่า สังกัดฝ่ายพระคลังภายใต้การ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๕ โดยเฉพาะเรอ่ื งราวของเมอื งโบราณคบู วั และเทอื กเขางู ก�ำกับดูแลของเจ้าพระยาโกษาธิบดี ซ่ึงติดต่อและควบคุมการค้ากับชาว เมืองโบราณคูบัวเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมทวารวดที ี่ส�ำคัญรองจากนครปฐม ตา่ งชาติ มเี สน้ ทางคมนาคมทงั้ ทางบกและทางน้ำ� มกี ารตดิ ต่อคา้ ขายกับคนภายนอก ในการจดั แสดง มีการจ�ำลองแหลง่ โบราณคดใี ตน้ �ำ้ ลุม่ น�้ำแมก่ ลองที่ ท้ังที่อยู่ในภูมิภาคเดยี วกนั และโพน้ ทะเล จึงเป็นเมืองท่าศนู ย์กลางการ เปน็ เครอื่ งถว้ ยโบราณ นอกจากนี้มพี ระพุทธรปู เตาเผา เครอ่ื งปนั้ ดินเผา แลกเปล่ยี นสินคา้ เมืองโบราณคูบัวเจรญิ รุ่งเรอื งมากในชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ ซึ่งแหลง่ ใหญอ่ ย่ทู างตะวันออกของลุ่มน�้ำแม่กลองที่บ้านโคกหมอ้ ๑๑ - ๑๔ จากนน้ั กเ็ สอื่ มลงจากการทท่ี างนำ้� สายหลกั เปลย่ี นเสน้ ทาง เกดิ เมอื ง

76 77 หอ้ งจดั แสดงที่ ๖ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดจี งั หวดั ราชบรุ ี สมยั ภาพแสดงเหตุการณ์สงคราม ๙ ทัพ เทศกาลสาร์ทลาวของชาวไทยเขมรลาวเดมิ กลุ่มไทยจนี แสดงประเพณกี ินนำ้� ชา ท่ีไหวเ้ จา้ ภายในบ้าน ธนบรุ ี ราชบุรใี นยุคนีม้ ีฐานะเปน็ เมืองปราการชั้นใน เป็นเมืองหน้าด่าน และ ในสมยั รัชกาลท่ี ๑ นิทรรศการแสดงชวี ิตความเปน็ อยู่ กลุ่มไทยพน้ื ถ่ิน (ชาวโพหัก) จำ� ลองประเพณที �ำของอาสาคือ ๑ ปี เปน็ สมรภมู สิ ำ� คญั เพราะตดิ กบั ดา่ นเจา้ เขวา้ ซง่ึ เปน็ ดา่ นสำ� คญั ของพมา่ หลกั ฐาน ของชาวไทยพื้นถ่นิ (ชาวโพหัก) ก่อนแต่งงาน ฝา่ ยชายตอ้ ง “ขนั อาสา” ท�ำขา้ วของเครอื่ งใชไ้ ปก�ำนัลฝ่ายหญงิ สำ� คญั ทพี่ บคอื เนนิ ดนิ ในเขตปอ้ มคา่ ย หลมุ ขวาก หลมุ หลบภยั และอาวธุ ตา่ งๆ สะพานจฬุ าลงกรณ์ เครือ่ งแต่งกายของชาวไทยทรงด�ำ ลงแรงช่วยท�ำการงานต่างๆ อนั เป็นกศุ โลบายให้หนมุ่ สาวได้รจู้ กั กันเป็นอยา่ งดี ส่งิ ทจี่ ัดแสดงคอื งานศิลปกรรมประเภทตา่ งๆ ที่ยงั หลงเหลือรอ่ งรอย นทิ รรศการประวัติศาสตรร์ าชบุรี กอ่ นแตง่ งาน ใหศ้ กึ ษาเรอื่ งราวของราชบรุ ใี นชว่ งสมยั อยธุ ยา ซง่ึ เปน็ เมอื งทา่ สำ� คญั ดา้ นตะวนั ตก กลุ่มไทยทรงด�ำ (ลาวโซ่ง) จดั แสดงชุดแตง่ กาย และจ�ำลองห้อง และเป็นเมืองหน้าด่านปราการชั้นในท่ีเคยเป็นสมรภูมิรบกับพม่าตลอดมา เลยี้ งผเี รอื น (กะลอ้ ห่อง) เพื่อเซน่ ไหวบ้ รรพบรุ ุษ หากเปน็ ชนชั้นเจา้ นายตอ้ ง จนถงึ สมยั ต้นรัตนโกสนิ ทร์ เล้ยี งทกุ ๕ วนั ชนสามัญทั่วไปเล้ียงทุก ๑๐ วนั โดยจดั เล้ียงใหญท่ กุ ปี หรอื ห้องจัดแสดงที่ ๗ ประวตั ศิ าสตร์และโบราณคดีจังหวัดราชบรุ ี ทกุ ๒-๓ ปี สมัยรัตนโกสินทร์ จดั แสดงเร่อื งราวของราชบรุ ีในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ (พ.ศ. กลุม่ ไทยมอญ แสดงเอกลกั ษณใ์ นการแตง่ กายท่นี ยิ มใช้ผา้ หม่ เฉยี ง ๒๓๒๕-๒๔๗๕) แสดงให้เหน็ ความส�ำคญั ของราชบรุ ีทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับพระบรม- ซง่ึ ผหู้ ญงิ จะใชผ้ า้ สขี าว สว่ นผชู้ ายใชผ้ า้ ขาวมา้ มกี ารจำ� ลองประเพณสี งกรานต์ ราชจกั รวี งศใ์ นดา้ นการเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ชาวมอญ มีภาพรำ� ผีมอญ ภาพข่มี า้ รอบหมู่บา้ นเพื่อลาบวชในวนั สกุ ดบิ ภาพ และกจิ การเสอื ปา่ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ๆ ทบ่ี รรยายไวใ้ นหอ้ งนคี้ อื สงคราม ๙ ทพั คมั ภีร์ และภาพเจดีย์ทรงมอญวดั ม่วง ในรชั กาลท่ี ๑ ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ได้ยา้ ยเมืองจากฝัง่ ตะวนั ตกไปยังฝ่ัง กลุ่มไทยยวน แสดงภาพการแต่งกาย ผ้าทอ และเครื่องใชต้ ่างๆ ตะวันออก มีการก่อสร้างกำ� แพงเมือง (ปัจจุบนั คือ กรมการทหารชา่ ง และ กลุ่มไทยกะเหร่ียง มภี าพการแต่งกาย ภาพการรา่ ยรำ� พธิ ีผูกขอ้ มือ จงั หวัดทหารบกราชบุร)ี และส่ิงกอ่ สรา้ งอ่นื ๆ อกี มากมาย สมัยรชั กาลที่ ๔ รับขวัญ บ้านจ�ำลอง และชุดแตง่ กาย ได้ขุดคลองด�ำเนินสะดวก (พ.ศ. ๒๔๐๙ - ๒๔๑๑) เชอื่ มเมืองสมทุ รสาคร กลุ่มไทยเขมรลาวเดิม มีภาพเทศกาลสารทลาวในวันขึน้ ๑๕ ค่ำ� สมทุ รสงคราม และเมืองราชบุรี ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดเ้ สดจ็ เมอื งราชบรุ ี เดือน ๑๐ ท่ีผู้คนจะน�ำข้าวของไปเซน่ ไหวก้ ระดกู บรรพบุรุษทวี่ ัด ๑๐ ครง้ั ครง้ั ทส่ี ำ� คญั คอื ทรงเปดิ สะพานรถไฟ “จฬุ าลงกรณ”์ ใน พ.ศ.๒๔๔๔ ห้องจดั แสดงท่ี ๙ มรดกดเี ดน่ มีแผนท่ีแสดงแหลง่ ท่องเท่ียวทาง ในรชั กาลนม้ี กี ารจดั ระเบยี บการปกครองหวั เมอื งเปน็ มณฑล ซงึ่ มณฑลราชบรุ ี วัฒนธรรม และจดั แสดงมรดกทางวฒั นธรรมในดา้ นตา่ งๆ ท้ังสถาปตั ยกรรม มดี ้วยกนั ๖ เมืองคอื ราชบรุ ี กาญจนบรุ ี สมทุ รสงคราม เพชรบรุ ี ปราณบุรี ทเี่ ป็นวัดวาอาราม ประตมิ ากรรมทเ่ี ป็นพระพทุ ธรปู และพระเครอ่ื ง จติ รกรรม และประจวบคีรขี ันธ์ ต่อมาในรัชกาลท่ี ๖ มกี ารเปลี่ยนแปลงอีกครั้งโดยให้ ทเี่ ปน็ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั และหตั ถกรรมพน้ื บา้ น ไดแ้ ก่ ผา้ ทอจก โอง่ มงั กร รวมมณฑลเปน็ ภาค เครื่องปนั้ ดินเผา งานจักสาน เครื่องทองเหลอื ง อาหารพน้ื บ้าน ประเพณี สง่ิ ที่จัดแสดงได้แก่ ภาพถา่ ยเกา่ ๆ สมัยรัชกาลที่ ๕-๖ และพระแสง การละเลน่ พน้ื บ้าน และเครื่องดนตรี ราชศสั ตราประจำ� มณฑลราชบุรี ที่พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ห้องจัดแสดงที่ ๑๐ มรดกทางธรรมชาตแิ ละแหล่งท่องเทย่ี ว จัด พระราชทานแกป่ ระชาชนชาวราชบรุ ี แสดงกรรมวธิ กี ารผลติ โอง่ มงั กรและตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์ ซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณส์ ำ� คญั หอ้ งจดั แสดงที่ ๘ ชาตพิ นั ธว์ุ ทิ ยา จดั แสดงเรอ่ื งราวของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ของจงั หวดั ราชบุรี และเปน็ สินคา้ มชี อ่ื เสยี งทสี่ รา้ งรายได้ในแต่ละปเี ปน็ ตา่ งๆ ในจงั หวัดราชบุรีทม่ี คี วามแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ี จ�ำนวนมาก นอกจากนี้ยังมภี าพแหลง่ ทอ่ งเท่ียว เช่น ถ�้ำ นำ�้ ตก ความเป็นอยู่ ซ่งึ กล่มุ คนแตล่ ะชาตพิ ันธ์ุยังคงยดึ ถอื ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียม หอ้ งจัดแสดงท่ี ๑๑ บุคคลสำ� คัญ มีภาพและข้อมูลเก่ยี วกบั บคุ คล ประเพณีของตน โดยจดั แสดงเป็นส่วนๆ เป็นการเฉพาะของแต่ละชาติพันธุ์ ส�ำคญั ของจังหวดั ราชบรุ ที ้งั ดา้ นวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา ศลิ ปินแห่งชาติ ศลิ ปิน ในลกั ษณะเดน่ ๆ สิ่งท่ีจัดแสดงมที ั้ง แผนที่ต้งั แหลง่ ชาตพิ ันธ์ุ ลกั ษณะทอี่ ยู่ พน้ื บ้าน การกฬี า และบคุ คลสำ� คญั ในประวัตศิ าสตร์ อาศัย ภาพชีวติ ความเป็นอยู่และวัฒนธรรม ประเพณสี ำ� คัญ ส่ิงของเครือ่ งใช้ การแตง่ กาย ดงั น้ี แบบจำ� ลองการดำ� เนินชีวิตของกลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ตา่ งๆ ในจังหวดั ราชบุรี

78 79 หอ้ งจัดแสดงที่ ๑๒ ราชบุรีวันน้ี จดั แสดงสภาพปัจจบุ นั ของ จังหวัดราชบรุ ที ัง้ ดา้ นการเมืองการปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ ประชากร การ พพิ ธิ ภัณฑ์พน้ื บ้านวัดมว่ ง ประกอบอาชีพ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วส�ำคญั ทางวฒั นธรรมและธรรมชาติ ศิลป- หัตถกรรมพ้นื เมืองทมี่ ีช่อื เสียง และจัดแสดงพระราชกรณยี กิจของพระบาท ห้องแสดงเคร่ืองมอื ทใ่ี ชป้ ระกอบอาชีพ เจ้าอาวาสวดั มว่ งอธบิ ายการทำ� คมั ภรี ์ใบลาน บา้ นมว่ งเปน็ ชุมชนมอญอายเุ กา่ แก่กวา่ ๓๕๐ ปี ชาวบา้ นเชอ่ื กนั วา่ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทมี่ ตี อ่ จงั หวดั ราชบรุ ี ไดแ้ ก่ สหกรณโ์ คนมหนองโพ ราชบรุ ี นทิ รรศการแสดงขั้นตอนการท�ำโอ่งมงั กร บรรพบรุ ษุ รุ่นแรกอพยพมาจากพม่า สมัยอยธุ ยาราวสมยั สมเด็จพระนเรศวร และโครงการศกึ ษาวิธกี ารฟืน้ ฟูดินเส่ือมโทรมเขาชะงมุ้ นทิ รรศการบอกเล่าความเปน็ มา อาคารพิพธิ ภณั ฑพ์ ้นื บา้ นวัดม่วง มหาราช (พ.ศ. ๒๑๓๓-๒๑๔๘) โดยติดตามพระมหาเถรคันฉ่องเขา้ มาต้งั อาคารสว่ นบริการ สร้างก่อน พ.ศ. ๒๔๑๖ ในรชั สมยั พระบาท ของหนังใหญ่ วัดขนอน นิทรรศการบอกเลา่ ความเปน็ มาของชาวมอญ ถน่ิ ฐานรมิ แมน่ ้ำ� แมก่ ลอง ใหช้ ื่อหมบู่ า้ นว่า “บ้านมว่ ง” ตามบา้ นเดมิ ของตน สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั เพอื่ ใชเ้ ปน็ จวนทีพ่ กั ของสมเดจ็ เจ้าพระยา ชาวมอญนบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทเหมอื นไทย และมศี รทั ธามนั่ คง บรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ช่วง บนุ นาค) ผสู้ ำ� เร็จราชการแผ่นดนิ ในต้นรัชกาล ในพระพทุ ธศาสนา ดงั นัน้ สิ่งท่ีอยู่คชู่ ุมชนมอญจึงเป็นวดั ชาวมอญบา้ นมว่ ง ของพระองค์ ในเวลาตอ่ ๆ มาใชเ้ ปน็ จวนทีพ่ กั ของเจา้ เมอื งราชบุรี ที่ท�ำการ ได้สรา้ งวดั ประจ�ำหมบู่ า้ นช่อื ว่า “วัดม่วง” ซึง่ สอดคล้องกบั ข้อความในคัมภีร์ สมาคมสง่ เสริมวฒั นธรรมหญงิ ราชบุรี และห้องสมุดประชาชนจังหวัดราชบรุ ี ใบลานท่ีจารเกา่ ทสี่ ดุ คอื หมายเลข ๓๒๑ ที่ระบวุ า่ คัมภีร์น้ีจารราว พ.ศ. ตามลำ� ดบั ตอ่ มาเมอ่ื กระทรวงศกึ ษาธิการจดั สร้างหอ้ งสมุดประชาชนเฉลิม ๒๑๘๑ หลังรัชกาลสมเดจ็ พระนเรศวรประมาณ ๓๐ ปี ซึง่ ก่อนจะมีการจาร ราชกุมารี กรมศลิ ปากรจึงขอใชแ้ ละปรบั ปรุงอาคารหลังนเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของ คมั ภีรจ์ ะต้องใช้เวลาในการตงั้ ชมุ ชนและสร้างวัดก่อน ดว้ ยความทีเ่ ปน็ ชมุ ชน พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบุรี เก่าแกม่ าแตโ่ บราณ จงึ ไม่แปลกที่จะมีศลิ ปวตั ถแุ ละโบราณวัตถุจ�ำนวนมาก พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ ราชบุรี เปิดใหบ้ ริการวนั พุธถงึ วนั อาทิตย์ ทีช่ มุ ชนแหง่ นี้ ตง้ั แตเ่ วลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. โดยปดิ บรกิ ารในวนั จนั ทร์ วนั องั คาร และวนั หยดุ แม้ชาวมอญจะสญู เสียดนิ แดนใหก้ ับชนชาติอืน่ หรือจะอพยพไปตงั้ นักขตั ฤกษ์ โดยสามารถติดต่อไดท้ ่ีโทรศัพทห์ มายเลข ๐ ๓๒๓๒ ๑๕๑๓ หลกั แหล่งอยูท่ ใ่ี ดก็ตาม แต่ชาวมอญยงั คงด�ำรงรกั ษาวิถกี ารด�ำเนินชวี ติ และ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ราชบรุ ี ในวนั นไ้ี ดล้ บภาพความทรงจำ� ของ วฒั นธรรมประเพณไี วอ้ ยา่ งมนั่ คง ดว้ ยความเชอื่ มน่ั และศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา คนทั่วไปท่ีมีตอ่ พพิ ิธภณั ฑ์ว่า เปน็ สถานท่ีทไี่ ม่มีชวี ติ ชวี า เงยี บเหงา เปน็ ท่ที ี่ ที่เป็นรากฐานของวถิ ีชวี ติ ซึ่งจะเหน็ ได้ว่าชาวมอญที่อาศยั อยู่ในจังหวดั ต่างๆ ผสู้ นใจประวตั ิศาสตร์และผมู้ ีอายุเขา้ ไปเยยี่ มชม แตป่ ัจจุบนั พิพธิ ภัณฑแ์ ห่งนี้ ของไทย เชน่ อำ� เภอสามโคก จงั หวดั ปทุมธานี บา้ นเจด็ รว้ิ จงั หวัดสมทุ รสาคร มคี นหลายกลมุ่ หลายชว่ งวยั เขา้ มาศกึ ษาเรยี นรู้ และทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ บางคน อ�ำเภอบา้ นโปง่ และอ�ำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบรุ ี และอำ� เภอพระประแดง พาลกู หลานเขา้ มานง่ั เลน่ ทส่ี วนดา้ นหนา้ ครบู างคนพานกั เรยี นมาศกึ ษาและทำ� จังหวดั สมุทรปราการ เป็นตน้ ชาวมอญเหล่าน้ียงั คงรกั ษาอตั ลักษณแ์ ละ กจิ กรรมตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วเนอื่ งหลงั จากไดเ้ ดนิ ชมและเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ งๆ ทจี่ ดั แสดงไว้ วฒั นธรรมประเพณขี องตนอยา่ งเคร่งครัด ขณะทบี่ างคนเข้าชมนิทรรศการทีจ่ ัดแสดงไว้ในอาคารสว่ นบรกิ าร ฉะนั้น ชาวมอญบา้ นมว่ งมวี ถิ ชี วี ติ ทผี่ กู พนั อยกู่ บั ประเพณแี ละความเชอื่ ดงั้ เดมิ หากใครมีโอกาสแวะเวียนไปท่จี ังหวดั ราชบุรี คงเป็นทนี่ า่ เสยี ดายไม่นอ้ ยหาก มคี วามภมู ิใจในประวตั ิความเป็นมาของบรรพบรุ ษุ และวัฒนธรรมของตน มไิ ดไ้ ปเท่ยี วชมพพิ ิธภัณฑแ์ ห่งนี้ อันเป็นสถานทที่ ี่จะช่วยให้เราเข้าใจรากเหง้า จึงได้เก็บรักษาและสืบทอดศิลปวัตถุและโบราณวัตถุท่ีสะท้อนภูมิปัญญาและ ความเป็นมา และวถิ กี ารด�ำเนนิ ชีวิตของชาวไทยหลากหลายชาตพิ ันธุใ์ น ประเพณีของตนไวเ้ ป็นอยา่ งดี มที ั้งคัมภรี ์และผ้าหอ่ คัมภรี ท์ ี่ทรงคณุ ค่าหลาย ดินแดนแหง่ น้ีตัง้ แต่โบราณกาลจนกระทงั่ ปจั จบุ ัน พันชิ้น รวมทั้งเครือ่ งมือเครือ่ งใชท้ พ่ี บในเขตลุม่ น�้ำแมก่ ลอง เครื่องแตง่ กาย และสิ่งของเครื่องใชใ้ นการประกอบอาหาร เจา้ อาวาสวดั มว่ งและชาวบา้ นตอ้ งการสบื ทอดความภาคภมู ใิ จในมรดก ทางวฒั นธรรมของตน ประกอบกบั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรกม็ คี วามคดิ ทจ่ี ะสรา้ ง พิพธิ ภณั ฑ์นอ้ มเกล้าฯ ถวาย เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ในวโรกาสทที่ รงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา จงึ เกดิ ความรว่ มมอื กนั ในการจัดตงั้ พพิ ิธภัณฑ์พนื้ บ้านวดั มว่ งข้ึน โดยมงุ่ หวงั ให้เป็นแหลง่ รวบรวมประวตั คิ วามเป็นมา วถิ ีชีวติ และวัฒนธรรมชมุ ชนท้องถนิ่ ชาวมอญตั้งแต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ ัน

80 เคร่ืองปน้ั ดนิ เผา แมพ่ ิมพ์ใบลาน 81 ผา้ หอ่ คมั ภรี ์ งานฝมี อื อนั ประณตี และงดงาม สว่ นที่ ๔ แสดงวถิ ีชีวิตและประเพณตี ่างๆ ของชาวบา้ น วฒั นธรรม พิพธิ ภณั ฑพ์ ื้นบา้ นวดั มว่ งแบ่งการจดั แสดงออกเปน็ ห้องตา่ งๆ ทมี่ ี ตแู้ สดงของใชใ้ นอดตี ของเจา้ อาวาสวดั มว่ ง ประเพณขี องชาวมอญท้งั ๑๒ เดอื นล้วนเกย่ี วขอ้ งกบั ความเช่อื ทางพระพทุ ธ- ท้งั โบราณวัตถุ คมั ภรี ์ใบลานอักษรมอญอายกุ วา่ ๓๐๐ ปี เส้อื ผา้ ข้าวของ ภาพชุดคัมภีรใ์ บลาน จารดว้ ยอักษรมอญ ผ้าทอมือฝมี ือชาวมอญ ศาสนา และสอดคลอ้ งกบั ชว่ งเวลาการทำ� เกษตร กลา่ วคอื เดอื นอา้ ยทำ� ขา้ วเมา่ เครอ่ื งใช้ ทผี่ ู้คนสามารถศึกษาเรยี นรวู้ ิถมี อญในทกุ ๆ ดา้ น เป็นต้นว่า มอญ ถวายผเี รือน เดือนยีล่ งแขกเกีย่ วขา้ ว เดือนสามบุญจองโอะฮตา่ น เดอื นสี่ ในตำ� นาน มอญในประวัตศิ าสตร์ ภาษามอญและจารึกภาษามอญ ประเพณี ส้ินฤดูท�ำนาสะสางงานบา้ น เดือนหา้ บุญสงกรานต์ เดอื นหกแรกนาขวัญ วัฒนธรรมมอญ มอญอพยพ มอญในไทย และผนู้ �ำทางวัฒนธรรม อนั สะทอ้ น เดอื นเจด็ บญุ ถวายผา้ อาบน�้ำฝน เดือนแปดเข้าพรรษา เดอื นเกา้ ท�ำบญุ ให้ ใหเ้ หน็ มรดกทางภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ทน่ี ่าสนใจ ผ้ลู ว่ งลับ เดอื นสิบตักบาตรน�้ำผ้ึง เดอื นสบิ เอ็ดบญุ ออกพรรษา เดอื นสบิ สอง เนอ้ื หาที่จดั แสดงในพิพิธภณั ฑแ์ บ่งเปน็ ๕ ส่วนคอื ไหว้แม่โพสพ สว่ นท่ี ๑ แสดงใหเ้ หน็ สภาพแวดลอ้ มและหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ สว่ นท่ี ๕ แสดงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงในชุมชนบา้ นม่วง โบราณคดตี ั้งแต่ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์จนถึงปัจจบุ ัน ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัง้ และชุมชนใกล้เคยี ง รวมทง้ั ผ้นู �ำทางวฒั นธรรม เชน่ พระเจา้ อโนรธา ถิ่นฐานของมนษุ ย์สมยั โบราณทีม่ กั ตัง้ อยู่ใกล้เสน้ ทางน้�ำ อันเปน็ ปจั จยั ให้เกิด ปฐมกษตั ริย์แหง่ พุกาม ทยี่ กทพั ไปยึดครองเมืองสะเทิมของมอญ โดยรับ เมอื งทา่ และชมุ ชนโบราณทม่ี พี ฒั นาการตอ่ เนอื่ งมาตง้ั แตส่ มยั ทวารวดี สโุ ขทยั พระพุทธศาสนาวัฒนธรรมของมอญ พระเจ้าจันสิทธา กษัตรยิ ์แห่งพุกาม อยธุ ยา ธนบรุ ี ถึงรัตนโกสนิ ทร์ ท้งั ยังแสดงใหเ้ ห็นความส�ำคญั ของลมุ่ นำ้� และวรี บรุ ษุ ผปู้ ราบกบฏมอญ ทรงยกยอ่ งวฒั นธรรมมอญและสง่ เสรมิ พระพทุ ธ- แมก่ ลองวา่ เปน็ เสน้ ทางคมนาคมตดิ ตอ่ คา้ ขายทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ ศาสนา จนเปน็ แบบอย่างของกษัตรยิ พ์ ุกามท่ีได้ชื่อวา่ “ราชวงศ์ผู้สร้างโบสถ์ ส่วนท่ี ๒ แสดงเร่อื งราวเกยี่ วกับประวตั ิศาสตร์ชุมชนบ้านมว่ ง และ วิหาร” มะกะโท พ่อค้าชาวไทยใหญ่ และไดเ้ ป็นราชบตุ รเขยของพระรว่ งเจ้า ชมุ ชนใกลเ้ คียง ความสัมพันธ์ของกลุ่มชนตา่ งๆ บริเวณล่มุ นำ�้ แมก่ ลอง และ ตอ่ มาได้ตัง้ ตนเปน็ กษัตรยิ ผ์ ูย้ ่ิงใหญข่ องมอญ พระนามว่า “พระเจา้ ฟ้ารัว่ ” บทบาทของชาวจีนและคณะเผยแผ่คริสตศ์ าสนา พระเจา้ ราชาธิราช กษตั รยิ ม์ อญผูท้ ำ� สงครามกับพม่าอยา่ งยาวนาน พระเจ้า สว่ นที่ ๓ นบั วา่ เปน็ จดุ เดน่ ของพพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นี้ เพราะมคี มั ภรี โ์ บราณ บเุ รงนองท่โี ดยกำ� เนดิ เปน็ ชาวพมา่ แต่ได้เป็นใหญ่ในเมืองมอญทีม่ ีหงสาวดี หลายพนั เลม่ ทเี่ กบ็ รกั ษาสบื ทอดกนั มาหลายรอ้ ยปี สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความศรทั ธา เป็นศูนยก์ ลาง เปน็ องคอ์ ัครศาสนปู ถัมภกท่ยี ง่ิ ใหญ่ ทรงสร้างพระมหาสถปู อยา่ งมนั่ คงในพระพุทธศาสนาของชาวมอญ ชาวมอญถอื ว่าคัมภรี เ์ ปน็ ของ เจดยี ์ที่หงสาวดีโดยจ�ำลองมาจากพระมหาธาตมุ เุ ตา และทรงบรู ณปฏิสังขรณ์ ศกั ดิส์ ิทธิ์ท่ีพระสงฆ์ใชเ้ ทศน์สัง่ สอนในโอกาสทเี่ ปน็ พธิ ีกรรม คมั ภีร์เปน็ สง่ิ พระมหาสถูปเจดยี ์ชเวดากอง หลวงพอ่ อตุ ตมะ ซ่งึ ชาวมอญ ชาวกะเหรย่ี ง ละเอยี ดออ่ น เปราะบางเพราะจารกึ ลงบนใบลานหรอื วสั ดทุ แี่ ตกหกั งา่ ย จงึ ตอ้ ง และชาวไทยทั่วประเทศใหค้ วามเคารพศรทั ธา พระครวู รธรรมพทิ ักษ์ อดตี เกบ็ รักษาอยา่ งดี ตัง้ แต่การหอ่ และผูกด้วยผ้าบางๆ ท่ตี ้ังใจท�ำอย่างประณีต เจา้ อาวาสวดั ม่วง เปน็ พระนักพฒั นาทสี่ รา้ งความเจรญิ แกว่ ัดและชมุ ชน โดย สวยงาม หรอื บรรจใุ นกลอ่ งไมแ้ กะสลกั แลว้ เกบ็ รกั ษาในตพู้ ระธรรมลายรดนำ�้ เฉพาะอยา่ งยิ่งคือ สร้างพิพิธภณั ฑพ์ น้ื บา้ นวัดมว่ ง และจดั ต้งั ศูนยม์ อญศึกษา ปดิ ทองท่สี รา้ งขึน้ เพอื่ เกบ็ เอกสารศกั ด์ิสิทธโิ์ ดยเฉพาะ ภายในวดั ม่วงยังมีศูนย์มอญศกึ ษาและศนู ย์ทอผ้าพ้ืนบา้ น ท่ซี ง่ึ เรา คมั ภรี ใ์ บลานและสมุดข่อยทวี่ ัดม่วงเท่าทีม่ ีผ้สู ำ� รวจ พบวา่ มีประมาณ จะไดส้ มั ผสั กบั วถิ ชี วี ติ ชาวมอญ อาหารทอ้ งถนิ่ ตามฤดกู าล สนิ คา้ ทางธรรมชาติ ๑,๒๐๙ เรอ่ื ง แยกเปน็ หมวดต่างๆ ดงั นี้ ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรมและ ของทอ้ งถนิ่ ผา้ ทอมอื และผา้ ขาวมา้ ฝมี อื ชาวบา้ น และมจี ำ� หนา่ ยในราคากนั เอง กฎหมาย ประวตั สิ ถานทแี่ ละประวตั บิ ุคคล วรรณคดีไทย และตำ� ราตา่ งๆ หากมคี ณะผชู้ มตง้ั แต่ ๑๐ คนขน้ึ ไปสนใจลองลม้ิ ชมิ รสอาหารคาวหวานพน้ื บา้ น คัมภีร์มที ้ังที่ทำ� ดว้ ยแผ่นใบลาน และงาช้างทท่ี �ำเป็นแผน่ บางลงรกั แบบมอญ เชน่ แกงบอน แกงมะตาด น�ำ้ ปลายำ� (เปน็ น้ำ� จิม้ ชนดิ หน่ึง) ทาสที อง ตัวหนังสอื มภี าพประกอบเปน็ ลายเส้นสีแดงหรือดำ� ลักษณะภาพ กส็ ามารถตดิ ตอ่ ลว่ งหนา้ ได้ ซงึ่ ทนี่ จี่ ะเปดิ ทกุ วนั ตงั้ แตเ่ วลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ในคมั ภรี ์ อาจแบ่งออกได้เป็น ๓ กลมุ่ กลมุ่ ที่ ๑ เชื่อวา่ เปน็ งานสกุลช่าง พิพธิ ภณั ฑ์พน้ื บา้ นวดั มว่ งเปิดให้เขา้ ชมทุกวัน ตงั้ แต่เวลา ๐๙.๐๐- สมยั อยธุ ยา ลักษณะที่เด่นชัดคอื ภาพสัตว์หิมพานต์ กลมุ่ ที่ ๒ อาจเปน็ ฝมี ือ ๑๖.๐๐ น. โดยไมเ่ สยี ค่าเขา้ ชม (เข้าชมเป็นหมู่คณะควรติดตอ่ ล่วงหนา้ หรอื ช่างมอญในพม่า เพราะมีลวดลายประดับแบบฝร่งั กลมุ่ ที่ ๓ มลี กั ษณะทน่ี ำ� ท�ำหนังสือเรียนเจา้ อาวาสวัดม่วง) และสามารถสอบถามรายละเอยี ดเพมิ่ เติม ลวดลายศลิ ปะมสุ ลมิ มาใช้ โดยลวดลายจะสอดสานเปน็ ภาพเหลยี่ ม ชอ่ งตาราง ไดท้ ี่โทรศัพท์หมายเลข ๐ ๓๒๓๗ ๒๕๔๘ หรือ www.monstudies.org

82 83 พิพธิ ภณั ฑ์วดั ม่วง “...อยากใหล้ ูกหลานเหลยี วหลงั มาดูอดีตบา้ ง บรรพชนไดส้ รา้ งสรรคอ์ ะไรไวม้ ากมาย สำ� หรบั การเดนิ ทางไปเทยี่ วชมพพิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นวดั มว่ ง หากเดนิ ทาง ถา้ เราไมร่ จู้ กั อดตี จะหมดความเป็นชาติ หมดเอกลกั ษณ์ ด้วยรถยนต์สว่ นตัว ก็ออกจากตัวเมืองราชบรุ ไี ปตามทางหลวงหมายเลข ๔ เนื้อหาของชวี ติ มีรากแก้วท้ังสนิ้ หลายคนอนุรักษผ์ ้าเพือ่ เกบ็ แลว้ แยกเข้าอ�ำเภอบา้ นโปง่ ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๐๘๙ เส้นโคกสูง- แตเ่ ราคิดอยากสร้างสรรคง์ านผา้ ใหเ้ กิดมากกว่า... เบิกไพร (ทางไปถำ�้ เขาชอ่ งพราน) จากนนั้ ข้ามสะพานแม่น้�ำแม่กลองตรงไป ลายผ้าทกุ ลายลว้ นเป็นมรดกของบรรพชน ประมาณ ๗ กิโลเมตร และจากปากทางแยกเข้าไปอีก ๒.๕ กิโลเมตร ก็จะถึง ถ้าเราเกบ็ ไว้เพียงผ้า นานไปผา้ เกา่ ไปเรือ่ ยๆ พพิ ิธภณั ฑ์ หรือหากเดินทางด้วยรถโดยสารประจำ� ทางจากกรุงเทพฯ นัง่ รถ คุณค่ามันอยู่ทค่ี วามเกา่ หรือเปลา่ หากวันหนึง่ ไฟเผาจะหมดไปไหม สายกรงุ เทพฯ-กาญจนบรุ ี มาลงทอ่ี ำ� เภอบา้ นโปง่ แลว้ นงั่ รถโดยสารประจำ� ทาง แตถ่ ้าเราเกบ็ สง่ิ ทเ่ี คยมีไวเ้ ปน็ องคค์ วามรู้ ไฟเผากไ็ ม่หมด สายบา้ นโปง่ -โพธาราม มาลงทห่ี นา้ วัดม่วง สบื สานตอ่ ไปได้ อีกไมน่ านทนี่ ่จี ะมจี ิปาถะภณั ฑ์สถานบา้ นคบู ัว เราจะเกบ็ เอาองค์ความรู้เรอ่ื งงานผ้าจกไว้ทน่ี .่ี ..” จิปาถะภณั ฑส์ ถานบ้านคูบวั อุดมการณ์อันม่งุ มั่น และความตง้ั ใจแน่วแน่ของ ดร.อุดม สมพร คนไทยเช้อื สายไทยยวน ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ จิปาถะภณั ฑส์ ถานบา้ นคูบัวแหง่ น้ี ไวเ้ ป็น ทส่ี บื สานมรดกทางภูมปิ ัญญาของบรรพชนชาวไทยยวน ในตอนแรกท่านตั้งใจ เพยี งจะอนรุ กั ษ์ภมู ปิ ญั ญาการทอผ้าจกของชาวไทยยวน แต่สง่ิ ที่รวบรวมได้ น้อยเกินไปที่จะดึงดูดความสนใจของผูค้ น ทา่ นจึงคดิ ว่าจะทำ� อยา่ งไรให้มี ความหลากหลายมากขึ้น และเห็นวา่ ส่งิ ของเครื่องใชต้ า่ งๆ ทีเ่ ปน็ วิถีชวี ิตของ ชาวไทยยวนน่าจะตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของทุกคนได้ น่นั จึงเปน็ ทีม่ าของช่ือ จปิ าถะภณั ฑ์สถานบ้านคบู วั พิพธิ ภัณฑแ์ ห่งนจ้ี ดั ตัง้ ข้ึนจากความรเิ ร่มิ ของหลายองคก์ ร เช่น วดั โขลงสุวรรณครี ี มลู นธิ พิ ฒั นาประชากรต�ำบลคบู ัว สมาคมศิษยเ์ ก่าโรงเรยี น วดั แคทราย ศนู ยส์ บื ทอดศลิ ปะผา้ จกราชบรุ ี ชมรมชาวไทยยวน ราชบรุ ี เปน็ ตน้ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณการก่อสร้างและปรับปรุงอาคารจาก องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดราชบุรี และสมาคมต่างๆ ตวั อาคารกอ่ สรา้ งเสรจ็ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๖ หลงั จากก่อสรา้ งอาคารพิพธิ ภัณฑเ์ สร็จแลว้ กไ็ ดม้ อบหมาย ให้ ดร.อดุ ม สมพร (มูลนธิ พิ ฒั นาประชากรต�ำบลคบู วั ) เป็นประธานกรรมการ จดั ตกแตง่ และจดั แสดงภายใน และเป็นวิทยากรกติ ติมศกั ดด์ิ ้วย ดร.อุดม สมพร ผสู้ บื สานมรดกทางภมู ปิ ญั ญาชาวไทยยวน

84 85 จดุ ประสงคใ์ นการกอ่ ตง้ั พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นก้ี เ็ พอ่ื รวบรวมสง่ิ ทเ่ี ปน็ รอ่ งรอย คณะกรรมการจัดสร้างจิปาถะภัณฑ์สถานบ้านคูบัวได้น�ำเศษซากโบราณวัตถุ และสิ่งของเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ มาไวท้ ่ีนี่ ภมู ปิ ญั ญาของบรรพชนไทยยวน ใหผ้ ทู้ สี่ นใจไดเ้ รยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มา ส่วนที่ ๒ แสดงเคร่อื งมือทำ� มาหากนิ ได้แก่ เครอ่ื งไถนา เครื่องจบั ดักสัตว์ และของใชต้ า่ งๆ ของชาวไทยยวนทอี่ พยพมาจากเมอื งเชยี งแสนเมอ่ื กวา่ ๒๐๙ ปที ผ่ี า่ นมา ในครงั้ นน้ั ส่วนที่ ๓ แสดงมมุ หลับนอนสอนลกู หลาน สะท้อนใหเ้ หน็ วิถชี วี ิต ชาวไทยยวน ท่พี อ่ แมล่ กู หลานจะนอนอยู่ในห้องเดยี วกัน ไดด้ ูแลและอบรม มกี ลมุ่ คนหลายชาตพิ นั ธท์ุ อ่ี พยพมาดว้ ยกนั ชาวไทยยวนสว่ นหนง่ึ ไดต้ ง้ั หลกั แหลง่ ส่งั สอนอย่างใกล้ชิด กอ่ ใหเ้ กิดความสัมพันธ์ทางสายเลอื ด สว่ นท่ี ๔ แสดงการระดมความคิดเหน็ ของคนในชมุ ชน จดั ท�ำเป็น ทล่ี มุ่ นำ้� ปา่ สกั อำ� เภอเสาไห้ จงั หวดั สระบรุ ี อกี สว่ นหนงึ่ อพยพลงมาอยทู่ รี่ าชบรุ ี รปู หนุ่ จำ� ลองเหตุการณ์การปรึกษาหารือกัน หุน่ พระภกิ ษสุ งฆช์ าวไทยยวน ทเี่ ป็นผนู้ ำ� ทางจติ วิญญาณทสี่ �ำคญั และภาพผู้น�ำชมุ ชนไทยยวนทส่ี ำ� คญั ๆ แมจ้ ะอยูต่ ่างถ่ินแตค่ นไทยยวนในทีต่ ่างๆ ก็ยังคงไปมาหาสกู่ นั และร่วมกนั สบื สานวฒั นธรรมประเพณใี หค้ งอยสู่ บื ไป สว่ นกลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ นื่ ทอ่ี พยพมาดว้ ย ในคราวน้นั และตัง้ หลกั แหล่งท่รี าชบรุ กี ็มชี าวไทยใหญ่และชาวยอง ตระกูล ไทยใหญ่ท่ีมีชอ่ื เสียงมากคือ ตระกลู เทพายะสุวรรณ ท่ีไดเ้ ปน็ นายอำ� เภอเมือง จงั หวดั ราชบรุ ี ชื่อว่า หลวงศรีสวสั ดิ์ ทค่ี บู วั เมอื่ ราว พ.ศ. ๑๖๐๐ มชี าวมอญตง้ั ถนิ่ ฐานอยู่ จากนน้ั กร็ า้ งไป จนในสมัยรัตนโกสนิ ทรเ์ มื่อ พ.ศ. ๒๓๔๗ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงให้ชาวไทยยวน มาตัง้ หลกั ปักฐาน ไดจ้ บั จอง บุกเบิก ถางป่า ทำ� ไร่ ไถนา ต้งั หลกั แหล่งที่คูบัวแหง่ นี้ เครอ่ื งจบั ดกั สัตว์ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของอาคารพิพิธภัณฑ์เป็นแบบไทยยวน ประยุกต์ ภายนอกอาคารด้านขวามือของพิพิธภณั ฑ์เปน็ อาคารอเนกประสงค์ ใช้เป็นทร่ี วมกลุม่ ของชาวบ้าน ทงั้ ยังเป็นศนู ย์ฝึกและศนู ยส์ าธิตการทอผา้ จก ติดกบั อาคารพิพิธภัณฑด์ า้ นหนา้ เปน็ เรอื นไทยยวนโบราณ ด้านหนา้ อาคาร พพิ ธิ ภณั ฑม์ ศี ลิ าจารกึ เนอ้ื หาดา้ นที่ ๑ เปน็ บทนมสั การพระรตั นตรยั คำ� กลา่ ว สดดุ ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวในวาระทรงครองราชย์ครบ ๖๐ ปี และ ขอ้ มูลทัว่ ไปของชุมชนบ้านคูบัว ดา้ นที่ ๒ กลา่ วถงึ ภูมิปญั ญาในการผลติ โบราณวตั ถสุ มยั ทวารวดี ทขี่ ดุ พบจากโบราณสถานบา้ นคบู วั สนิ ค้าโอทอป การสร้างจิปาถะภณั ฑ์สถานบ้านคูบวั และความเปน็ มาของ หอ้ งจำ� ลองการระดมความคดิ เหน็ ของคนในชุมชน โบราณสถาน เมืองโบราณสมัยทวารวดีทคี่ บู ัว ด้านที่ ๓ กล่าวถึงความเป็นมา ของชาวไทยยวนตง้ั แตก่ ารเคล่อื นย้ายจากเชียงแสน อาณาจกั รล้านนาโบราณ เครอื่ งมือไถนา มาอยทู่ ค่ี บู วั และดา้ นท่ี ๔ กลา่ วถงึ อาณาเขตตำ� บลคบู วั แผนทจี่ งั หวดั ราชบรุ ี และรายช่ือผบู้ รจิ าคเงินซ้ือหินทำ� ศลิ าจารกึ น้ี ภายในอาคารพพิ ิธภณั ฑแ์ บ่งส่วนแสดงไว้ ๑๐ สว่ น ไดแ้ ก่ สว่ นที่ ๑ แสดงภูมปิ ัญญาสมยั ทวารวดี ชน้ิ ส่วนโบราณสถาน โบราณวตั ถทุ จี่ ดั แสดงไดจ้ ากการขดุ คน้ ของกรมศลิ ปากรระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๐๔- ๒๕๐๖ ก่อนหน้านั้นชาวบ้านไม่รูว้ า่ ทีต่ ำ� บลคูบัวแหง่ นเี้ คยเป็นเมืองโบราณ มากอ่ น เมื่อมกี ารปรับพ้นื ทเ่ี พอ่ื ท�ำไร่ ทำ� นา ก็ไถเอาเศษอิฐ ซากวัตถโุ บราณ ไปทับถมรวมกัน ส่วนท่ีเป็นแกว้ แหวน เงนิ ทอง ลกู ปัด หนา้ กากทองคำ� กน็ ำ� ไปขาย สว่ นทปี่ รกั หกั พงั และขายไมไ่ ดก้ น็ ำ� ไปไวท้ ว่ี ดั โขลงสวุ รรณครี ี ตอ่ มา จ�ำลองห้องครัวของชาวไทยยวน ห่นุ จ�ำลองวิถีชวี ิตชาวไทยยวน หุน่ พระภกิ ษสุ งฆ์ ผนู้ �ำทางจิตวิญญาณทส่ี �ำคญั ของชาวไทยยวน

86 87 สว่ นที่ ๕ แสดงวถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวไทยยวน เปน็ การจำ� ลอง หอ้ งครวั ของชาวไทยยวน มกี อ้ นเสา้ เตาไฟ เครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ในการประกอบอาหาร หอ้ งแสดงผลิตภณั ฑผ์ า้ ทอของชาวไทยยวน สมัยที่ยงั ไมม่ ตี ใู้ ส่กับข้าว ชาวไทยยวนจะใชส้ ะโตกทเี่ ปน็ กล่องไมม้ ีฝาครอบ ถัดจากครัวเป็นที่อยูไ่ ฟ สมัยโบราณ เมือ่ หญงิ คลอดลกู แล้วจะตอ้ งอยไู่ ฟให้ ห่นุ จำ� ลองการอย่ไู ฟของหญิงหลังคลอดลูก อุปกรณก์ ารทอผา้ ของชาวไทยยวน นอกจากการก่อตงั้ จิปาถะภัณฑ์สถานบา้ นคูบวั แลว้ ดร.อดุ ม สมพร ครบเดอื น เรียกวา่ อยู่เดอื น เชื่อกนั วา่ หากใครอยูไ่ มค่ รบเดือนจะออ่ นแอ เคร่อื งมือเครือ่ งใชใ้ นชีวติ ประจำ� วัน หอ้ งแสดงเครอ่ื งแตง่ กายของผคู้ นแตล่ ะชาตพิ นั ธ์ุ ยงั ไดท้ ำ� หลายสง่ิ หลายอยา่ งไวเ้ ปน็ มรดกแกล่ กู หลานไทยยวน ไดแ้ ก่ ดำ� เนนิ การ และเจบ็ ป่วยงา่ ย จดลขิ สิทธ์ิลายผา้ ไว้ให้เป็นสมบตั ขิ องชมุ ชนบ้านคูบัว รวมทงั้ ได้สร้างลายขน้ึ สว่ นท่ี ๖ แสดงการทำ� มาหากนิ ของชาวไทยยวน มภี าพบา้ นเรอื นชาว เองเรียกว่า “ลายแคทราย” ไดพ้ ัฒนาโปรแกรมสอนทอผา้ จก และรว่ มจัดตงั้ ไทยยวน สงิ่ ของเครอื่ งใชใ้ นการทำ� ไรไ่ ถนา เครอ่ื งจบั สตั วน์ ำ�้ เครอ่ื งมอื ชา่ งตา่ งๆ สหกรณก์ ารเกษตรไทยยวน เปน็ ทจี่ ำ� หนา่ ยผา้ ซน่ิ ตนี จก ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมต้ าล สว่ นท่ี ๗ ห้องโถงจดั นิทรรศการ ใช้เปน็ ที่สำ� หรับจดั นิทรรศการ และผลไมแ้ ปรรูป นอกจากน้ไี ดส้ รา้ งสวนโคตรเหง้ารำ� ลกึ ไวเ้ ป็นแหล่งศกึ ษา หมนุ เวียน การจดั สัมมนาของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในชุมชน และประชุม หาความรูเ้ กี่ยวกับพชื พรรณไม้ต่างๆ ชาวบ้าน และมีพระประธานศลิ ปะเชียงแสนท่งี ดงาม ทุกวนั น้ี ดร.อุดม สมพร ในวัยกวา่ ๗๐ ปี ยงั คงท�ำหนา้ ทด่ี แู ลและ ส่วนที่ ๘ ภูมปิ ัญญาทอผา้ จก จัดแสดงเครอื่ งมอื ที่ใช้ในการทอผา้ จก เปน็ วทิ ยากรอยา่ งเขม้ แขง็ ด้วยความมุ่งมนั่ ในอดุ มการณข์ องตน แม้ร่างกาย ของชาวไทยยวน จะอ่อนลา้ ดว้ ยความสูงวัยและปญั หาสขุ ภาพ แต่กม็ ิไดท้ ำ� ให้ทา่ นทอ้ ถอยทจ่ี ะ ส่วนท่ี ๙ หอ้ งอนุรกั ษ์ผา้ โบราณ เป็นห้องแสดงผา้ ซนิ่ ตีนจกโบราณ สืบสานมรดกทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไว้ให้ลูกหลานไทยยวนและ ของชาวไทยยวนอนั สวยงาม และผา้ จกสมยั ปัจจุบัน อีกท้งั ยงั มีตู้เกบ็ ผา้ จก ชาวไทยได้ภาคภูมิใจอีกท้ังได้พยายามหาหนทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคเพ่ือ โบราณเป็นจ�ำนวนมาก ความอยู่รอดของพิพิธภัณฑ์จากปัญหาค่าใช้จ่ายเพราะไม่มีการเก็บค่าเข้าชม สว่ นท่ี ๑๐ หอ้ งแสดงชาติพนั ธุ์ในจังหวัดราชบุรี หอ้ งนแ้ี สดงเคร่อื ง โดยเฉพาะคา่ ไฟฟา้ เพอ่ื ความเยน็ สบายแกผ่ เู้ ขา้ ชม โดยตอ้ งการตดิ ตง้ั แผงผลติ แตง่ กาย ลักษณะที่อยูอ่ าศัย รูปรา่ งหน้าตา และเรอ่ื งราวของผคู้ นแตล่ ะ พลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นการผลติ ไฟฟา้ ใชเ้ อง ซง่ึ ยงั รอการสนบั สนนุ จากภาครฐั ชาติพันธ์ใุ นจังหวดั ราชบรุ ี ได้แก่ ไทยยวน ไทยทรงด�ำ ไทยมอญ ไทยจีน หรอื ภาคเอกชน ไทยกะเหร่ียง ไทยลาวเวยี ง และไทยพืน้ ถ่ิน นอกจากน้ีท่านยังได้สะท้อนถึงความห่วงใยในวัฒนธรรมของชาว ไทยยวนทีค่ อ่ ยๆ ลบเลอื นไปตามกาลเวลาเน่อื งจากหมดความจำ� เปน็ เชน่ ดร.อดุ ม สมพร เล่าความเปน็ มาของจปิ าถะภณั ฑส์ ถานบา้ นคูบัว เครอื่ งมอื เครื่องใช้ของชาวไทยยวน ภมู ปิ ญั ญาในการทำ� ไร่ ทำ� นา ทำ� สวน เพราะมกี ารชลประทานสมยั ใหม่ สำ� หรบั ภูมิปัญญาด้านการทอผ้าจกที่ยังคงอยู่ได้เพราะยังมีประโยชน์ในการเลี้ยงชีพ ทา่ นกล่าวดว้ ยความเปน็ ห่วงวา่ อนาคตของวถิ ไี ทยยวนคงอยูไ่ ดไ้ ม่เกิน ๕๐ ปี แตอ่ ยากใหร้ กั ษาภาษาไทยยวนไว้ ปัจจุบนั คนเฒา่ คนแก่ยงั เขียนและพูดภาษา ไทยยวนอยู่ จึงอยากให้ลูกหลานไทยยวนได้เรียนรู้ไว้ ทกุ วันนีท้ ่านได้พยายาม ร้อื ฟนื้ ประเพณีกนิ ขนั โตกขนึ้ ทกุ ปี ใชช้ อ่ื งานว่า “ลอยขนั โตกร่วมใจไทยยวน ปนี ี้นบั เป็นปที ี่ ๑๐ แล้ว โดยชาวไทยยวนแต่ละชมุ ชนจะเวยี นกันเป็นเจา้ ภาพ จัดงาน ทง้ั ยงั ฝากแนวคดิ แก่เยาวชนและคนไทยว่าจงภมู ิใจในวถิ ชี ีวิตของ บรรพบรุ ุษ และไม่ลืมก�ำพดื ของตน

88 89 พพิ ธิ ภัณฑ์พ้ืนบา้ นวัดคงคาราม พิพิธภณั ฑ์ทหารช่าง วดั คงคารามเปน็ วัดเกา่ แกท่ ี่มีมาแต่โบราณ จากการเล่าสืบต่อกนั มา ภาพจติ รกรรมฝาผนังภายในอโุ บสถ อาคารพิพิธภณั ฑท์ หารชา่ ง หากใครไดม้ โี อกาสเดนิ ทางไปจงั หวดั ราชบรุ ี จะตอ้ งเหน็ คา่ ยภาณรุ งั ษี ของชาวบา้ นเช้อื สายมอญกล่าววา่ ปลายสมัยอยธุ ยาต่อกบั สมัยธนบุรแี ละสมัย วดั คงคาราม พิพธิ ภัณฑ์กลางแจ้ง จัดแสดงหวั รถจักร คา่ ยทหารใหญ่ตั้งเด่นเปน็ สง่ารมิ ฝัง่ แม่น้ำ� แม่กลอง ค่ายแห่งนเี้ ดมิ เปน็ ทต่ี ้ังของ ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ พวกมอญไดอ้ พยพเขา้ มาตามลำ� นำ้� แมก่ ลอง แลว้ มาตงั้ ถน่ิ ฐาน พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านวัดคงคาราม ไอน�้ำรถไฟ สมยั สงครามโลก ครง้ั ที่ ๒ กรมทหารราบท่ี ๔ ซงึ่ จอมพลสมเด็จพระราชปติ ุลา บรมพงศาพมิ ุข เจ้าฟ้า อยู่เหนือเขตอ�ำเภอโพธาราม ขน้ึ ไปจดใต้อำ� เภอบา้ นโปง่ ในปจั จบุ นั และได้ ดัดแปลงจากกุฎิเรือนไทย ๙ หอ้ ง ภาณรุ งั ษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช ไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ สร้างวดั นี้ขนึ้ หรือวดั นีอ้ าจจะสร้างก่อนทช่ี าวมอญจะอพยพเข้ามา เม่อื ตัง้ โปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ำ� รงต�ำแหน่งผู้บญั ชาการพเิ ศษเม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๔ จนกระท่ัง ถ่ินฐานแลว้ กไ็ ดท้ �ำนบุ ำ� รงุ เป็นวัดมอญสบื ต่อมา เดิมวัดนีช้ ่ือ “วดั กลาง” ภาษา ถงึ วนั เสดจ็ ทวิ งคต ทรงทำ� นบุ ำ� รงุ กรมทหารราบท่ี ๔ ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ดังน้ัน มอญ เรียกวา่ “เภียโต”้ ในวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๗ จงึ ได้รับพระราชทานนามคา่ ยว่า ปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระยามหาโยธี “ภาณรุ ังษี” เพ่อื เปน็ อนสุ รณ์รำ� ลึกถงึ คุณงามความดขี องพระองค์ท่าน ท่ีค่าย (เจง่ คชเสน)ี ขนุ นางไทยเชอื้ สายมอญไดน้ มิ นตพ์ ระราชาคณะฝา่ ยรามญั นกิ าย ภาณรุ งั ษีแห่งน้ี คนตา่ งถนิ่ สว่ นใหญ่คงไมท่ ราบวา่ ภายในค่ายมีสถานทส่ี ำ� คญั มาเปน็ เจา้ อาวาส วดั นเี้ จรญิ รงุ่ เรอื งสงู สดุ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ หลายแหง่ เป็นต้นว่า ศาลหลักเมืองทที่ ุกๆ วันจะมผี ู้คนพากนั ไปกราบไหว้ เจ้าอย่หู ัว พระครูรามัญญาธบิ ดี(เจ้าอาวาส) เปน็ ทีเ่ คารพนับถือของผ้คู นมาก สกั การะอยา่ งไม่ขาดสาย และพพิ ิธภณั ฑท์ หารช่าง ไดร้ บั การอปุ ถมั ภจ์ ากเจา้ จอมมารดากลนิ่ ในรชั กาลที่ ๔ อกี ทงั้ ไดร้ บั การทลู เกลา้ ฯ ส�ำหรับทหารช่าง จะมใี ครสักก่คี นที่รู้ว่ามหี นว่ ยงานนใ้ี นกองทัพไทย ถวายเปน็ พระอารามหลวง และไดร้ บั พระราชทานนามใหมว่ า่ “วดั คงคาราม” เรามักจะคิดว่าทหารมีหน้าท่ีรักษาความม่ันคงและปกป้องอธิปไตยของชาติ กรมศลิ ปากรไดป้ ระกาศขนึ้ ทะเบยี นเปน็ โบราณสถานของชาตใิ น พ.ศ. ๒๕๑๘ เทา่ นนั้ แตเ่ มอื่ ไดม้ โี อกาสเขา้ ไปชมพพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นี้ ทำ� ใหเ้ ราทราบวา่ ทหารไทย วดั นี้มโี บราณสถานส�ำคัญหลายอยา่ งคือ พระอโุ บสถซง่ึ มีจิตรกรรมฝาผนัง ไดส้ รา้ งคุณูปการแกค่ นไทยและชาวต่างชาติมากมาย ภายในพพิ ิธภณั ฑ์ได้ อนั ทรงคุณค่าทางศิลปะ ฝมี อื สกุลชา่ งกรงุ เทพฯ ชว่ งปลายรชั สมยั พระบาท รวบรวมขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตรเ์ กยี่ วกบั กจิ กรรมทหารชา่ ง ยทุ โธปกรณ์ และ สมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอย่หู ัว ทปี่ ัจจุบนั หาชมได้ยาก เคร่อื งมือเครอื่ งใช้ในอดตี เพอ่ื ใหค้ นรนุ่ หลังไดศ้ ึกษา และภาคภูมใิ จในภารกจิ พิพิธภณั ฑ์พ้นื บา้ นวัดคงคารามก่อตง้ั ใน พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยดดั แปลง ทีท่ หารช่างไดเ้ สยี สละเพอ่ื สร้างความเจรญิ และช่วยบ�ำบดั ทุกข์บำ� รุงสขุ ท้งั แก่ กฏุ เิ รอื นไทย ๙ หอ้ งทำ� เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์ และกอ่ สรา้ งหมเู่ รอื นไทยเชอื่ มตอ่ กบั ประชาชนชาวไทยและประเทศอ่นื ๆ ตวั กฏุ ทิ ส่ี ามารถเดนิ ถงึ กนั ได้ ใหเ้ ปน็ ทจ่ี ดั แสดงโบราณวตั ถแุ ละศลิ ปวตั ถลุ ำ�้ คา่ พิพธิ ภัณฑ์ทหารช่างจดั ตัง้ ข้ึนเมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๒ อยูท่ างด้านทศิ จำ� นวนมาก รวมทงั้ สงิ่ ของเครอื่ งใชท้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ชาวมอญ อนั เปน็ สมบตั ิ ตะวนั ออกของค่ายภาณุรังษี เดมิ มีเพียงอาคาร ๑ หลัง ต่อมามีหนว่ ยงาน ของวดั มาต้งั แตส่ มัยโบราณ เปน็ ต้นว่า โลงมอญอายกุ ว่า ๒๐๐ ปี คัมภรี ์ ทหารชา่ งหลายหนว่ ยไดม้ อบเครอื่ งมอื ชา่ งใหก้ บั พพิ ธิ ภณั ฑ์ ทำ� ใหพ้ น้ื ทจี่ ดั แสดง ใบลานและสมุดไทยที่จารเปน็ ภาษามอญจ�ำนวนมาก หบี ตพู้ ระธรรมและ คับแคบ ดงั น้ันใน พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงได้ปรับปรุงและขยายพ้ืนท่ีจนในปัจจบุ นั มี ตาลปตั รพัดยศ เคร่อื งปนั้ ดนิ เผาศิลปะมอญทีแ่ กะสลักลวดลายวจิ ิตรงดงาม เนอื้ ทปี่ ระมาณ ๒ ไร่ ด้านหน้าเป็นพิพธิ ภณั ฑ์กลางแจ้ง จดั แสดงหัวรถจกั ร เครื่องมือชา่ งสมยั โบราณ เครอ่ื งแตง่ กายชาวมอญ เคร่ืองถ้วยลายคราม และ ไอนำ�้ รถไฟสมัยสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ และเครือ่ งมือหนักต่างๆ เชน่ รถตกั เครอ่ื งทองเหลือง รถเกล่ีย รถปน้ั จั่น รถบด เรือยนตส์ รา้ งสะพาน เป็นตน้ นอกจากนย้ี ังมี ในพิพธิ ภณั ฑ์ไดจ้ ัดแบง่ การจดั แสดงเป็น ๑๐ หอ้ ง ได้แก่ หอ้ งตู้เกบ็ อาคารจดั แสดงอกี ๓ อาคารคอื คมั ภรี ใ์ บลาน ห้องคมั ภีร์ หอ้ งเครอื่ งมือชา่ ง หอ้ งทองเหลอื ง หอ้ งลายคราม ห้องเครอื่ งปั้นดนิ เผาสมยั สโุ ขทัยและอยุธยา ห้องดนตรไี ทย หอ้ งเครือ่ งถ้วย รถเกลยี่ ดนิ จดั แสดงในบรเิ วณ ชา ห้องหนังสอื และหอ้ งรว่ มสมยั พพิ ธิ ภัณฑท์ หารช่างราชบุรี พิพธิ ภัณฑ์เปิดให้เข้าชมทกุ วันต้งั แตเ่ วลา ๐๙.๐๐- ๑๖.๐๐ น. ส�ำหรับการเดินทาง จากตัวจงั หวดั ไปตามทางหลวงหมายเลข ๔ ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร จากนัน้ เล้ียวซา้ ยเข้าทางหลวงหมายเลข ๓๐๘๐ อีก ๑ กโิ ลเมตร หรอื โดยสารรถประจำ� ทางจากกรงุ เทพฯทสี่ ถานขี นสง่ สายใต้ สาย กรงุ เทพฯ-โพธาราม ลงทห่ี นา้ ไปรษณยี โ์ พธาราม แลว้ นง่ั รถจกั รยานยนตร์ บั จา้ ง มาลงทีห่ นา้ วัด

90 91 เครือ่ งหมายสัญลกั ษณ์ ประจ�ำหนว่ ยทหารชา่ ง หอ้ งอดตี เจา้ กรมทหารชา่ ง แบบจำ� ลองแสดงโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชข้ องทหารชา่ ง อาคาร ๒ ชน้ั เดิมเป็นบ้านพักของเจา้ กรมการทหารช่างในอดีต หอ้ งจอมพลสมเดจ็ พระราชปติ ลุ าบรมพงศาภมิ ขุ ชน้ั ลา่ ง จดั แสดงเครอ่ื งมอื ชา่ งทใ่ี ชใ้ นสมยั โบราณ อาวธุ ปนื โบราณ หนุ่ เครอ่ื งแบบ เจ้าฟ้าภาณุรังษสี ว่างวงศ์ หอ้ งทหารชา่ งกบั การชว่ ยเหลอื ประชาชน ทหารช่างในอดีต เคร่ืองหมายสญั ลกั ษณ์ประจ�ำหนว่ ยทหารช่างตา่ งๆ ภาพ กรมพระยาภาณุพนั ธวุ งศว์ รเดช การปฏิบัตงิ านของทหารชา่ ง สว่ นชน้ั บน เปน็ ห้องบคุ คลส�ำคัญท่เี ก่ียวข้องกับ อาวธุ ปนื โบราณ อาวธุ และทนุ่ ระเบดิ ทร่ี อื้ ถอนไดจ้ าก พพิ ิธภณั ฑ์ทหารชา่ งอย่ใู นการดูแลของ กองวทิ ยาการ กรมการ ทหารชา่ ง เช่น ห้องพพิ ธิ ภณั ฑ์ จอมพลสมเด็จพระราชปติ ลุ าบรมพงศาภมิ ุข ภาพแสดงภารกจิ ซอ่ มทางรถไฟของทหารชา่ ง การกอ่ สรา้ งเสน้ ทางในกมั พชู า ทหารชา่ ง เปดิ ใหผ้ สู้ นใจเขา้ ชมในวนั และเวลาราชการคอื ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษสี ว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ห้องพพิ ิธภณั ฑ์ ส�ำหรับผู้ท่ีจะขอเข้าชมเป็นหมู่คณะติดต่อสอบถามได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ พลเอกพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระกำ� แพงเพชรอคั รโยธิน เปน็ ตน้ เครอื่ งมอื ชา่ งทใ่ี ชป้ ฏบิ ตั งิ านในสงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ๐ ๓๒๓๓ ๗๓๘๘ ต่อ ๕๓๑๕๑ อาคารรปู ตวั แอล จดั แสดงเปน็ ห้องต่างๆ ๗ ห้อง ได้แก่ (ห้องท่ี ๑) หากทา่ นเดนิ ทางไปจงั หวดั ราชบรุ ี นา่ จะหาโอกาสไปเยย่ี มชมพพิ ธิ ภณั ฑ์ หอ้ งอดีตเจา้ กรมทหารช่างตัง้ แต่คนแรกถงึ ปัจจุบัน (หอ้ งที่ ๒) ห้องทหารชา่ ง ทหารช่างแหง่ น้ี นอกจากจะได้รบั ความรแู้ ลว้ อีกสงิ่ หนง่ึ ท่ีท่านจะไดร้ ับก็คือ ในอดีตท่ีมบี ทบาทสำ� คัญในการสรา้ งทางรถไฟมาตง้ั แตร่ ัชสมัยรชั กาลท่ี ๕ ความซาบซ้งึ ใจ และความภาคภูมิใจในภารกจิ ของเหลา่ ทหารช่างทเี่ สียสละ มีการจัดตง้ั กองร้อยทหารช่างรถไฟ ภารกจิ คือ การขุดเจาะอุโมงคข์ ุนตาน เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนไทย รวมทง้ั ประชาชนในตา่ งประเทศมาอยา่ งยาวนาน บนเส้นทางรถไฟสายเหนอื เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๐ สมยั สงครามโลกครั้งที่ ๑ แล้ว ตงั้ แต่อดีตจวบจนปจั จุบัน สรา้ งตอ่ จนถึงเชียงใหม่ สายตะวนั ออกเฉียงเหนือสร้างจากนครราชสมี าถึง อุบลราชธานี สายตะวันออกจากฉะเชงิ เทราถึงอรญั ประเทศ รวมถึงการซอ่ ม เสน้ ทางและการเดนิ รถไฟดว้ ย ดงั นั้น พลเอกพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรม พระก�ำแพงเพชรอคั รโยธิน พระบดิ าเหลา่ ทหารชา่ งจงึ ทรงเปน็ พระบดิ าการ รถไฟไทยอีกดว้ ย (ห้องที่ ๓) ห้องทหารช่างกบั การพฒั นาประเทศ (หอ้ งที่ ๔ - ๕) หอ้ งทหารชา่ งกบั การชว่ ยเหลอื ประชาชน (หอ้ งที่ ๖ - ๗) หอ้ งเกยี รตศิ กั ด์ิ ของทหารชา่ งไทยในกมั พูชา อาคารแปดเหลีย่ ม จัดแสดงประวตั ินายทหารชา่ งผูส้ ร้างช่อื เสียง ท่ีนำ� ความภาคภมู ใิ จมาสเู่ หลา่ ทหารช่าง

92 93 สีสัน งานศลิ ป์ มนษุ ยส์ รา้ งศลิ ปกรรมขึ้นดว้ ยความรกั นิยมในสิง่ ที่ดงี าม และหา่ งจากสง่ิ ทเี่ ปน็ ความนา่ เกลยี ด เพราะความงามและความดีนนั้ เปน็ ของค่กู นั สุนทรยี ศาสตรจ์ ึงเป็นส่ิงท่บี ันดาลให้เกดิ อดุ มคตอิ นั ดงี าม คณุ คา่ ของศิลปกรรมจึงเปน็ สิ่งทจี่ �ำเปน็ และมีผลทำ� ใหจ้ ิตใจของมวลมนุษยส์ ูงขน้ึ ได้อย่างแท้จริง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook