อินเทอร์เน็ต ทมี่ าของอนิ เทอร์เนต็ อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ซึ่งเป็นเครือข่าย สำนักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการ สร้างเครอื ข่ายคอื เพือ่ ให้คอมพิวเตอร์สามารถเช่ือมต่อ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็น เครือข่ายเริ่มแรก ซึ่งต่อมาได้พัฒนาให้เป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในปจั จุบนั อนิ เทอรเ์ น็ตคอื อะไร อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่าย โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐาน การเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอม พิ ว เต อ ร์ท ุก เ คร ื่ อ ง ใ น อินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็น เครอื ข่ายที่กว้างขวางทสี่ ดุ ในปัจจุบัน เนอื่ งจากมีผู้นิยม ใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
อินเทอร์เน็ตจึงมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทำงานที่ แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็น เครือข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบท่ี รับผดิ ชอบแน่นอน แต่อนิ เทอรเ์ น็ตจะเป็นการเชื่อมโยง กันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวร ขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบ อินเทอร์เนต็ บ้าง ใครจะตดิ ตอ่ ส่ือสารกับใครก็ได้ จึงทำ ให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้ง ระบบ การประยุกต์ใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ต การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันทำได้ หลากหลาย อาทิ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล (email), สนทนา (chat), อ่านหรือแสดงความคิดเห็น ในเว็บบอร์ด, การติดตามข่าวสาร, การสืบค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรือซื้อสินค้าออนไลน์, การ ดาวโหลด เกม เพลง ไฟล์ข้อมูล ฯลฯ, การติดตาม ขอ้ มูล ภาพยนตร์ รายการบนั เทิงตา่ ง ๆ ออนไลน์, การ เล่นเกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์, การเรียนรู้ออนไลน์ (e- learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (video conference), โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต
(VoIP), การอับโหลดข้อมูล หรืออื่น ๆ แนวโน้มล่าสุด ของการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตคอื การใช้อินเทอร์เนต็ เปน็ แหล่ง พ บ ป ะ ส ั ง ส ร ร ค ์ เ พ ื ่ อ ส ร ้ า ง เ ค ร ื อ ข ่ า ย ส ั ง ค ม ( Social Network) ซึ่งพบว่าปัจจุบันเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมดังกล่าวกำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ทวิตเตอร์ ไฮไฟฟ์ และการใช้เริ่มมี การแพร่ขยายเข้าไปสู่การใช้อินเทอร์เน็ตผ่าน โทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น เนื่องจาก เทคโนโลยีปัจจบุ นั สนับสนุนใหก้ ารเข้าถงึ เครือข่ายผ่าน โทรศพั ทม์ อื ถือทำไดง้ ่ายข้นึ มาก ความสำคัญของอินเทอรเ์ นต็ กบั งานสือ่ สารมวลชน ในปัจจุบันนี้อินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลกับงานทุก สาขาอาชีพรวมทั้งงานสื่อสารมวลชนด้วย สำหรับงาน สอื่ สารมวลชนเปน็ งานทตี่ ้องเนน้ ความรวดเร็วเป็นหลัก ให้ทันกับสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน เพราะ ข่าวสารนั้นมีการอัปเดตอยู่ตลอดเวลา มิใช่มีประโยชน์ เพียงแค่นี้ อีกทั้งยังยังสามารถใช้ในการติดต่อสื่อสาร การโฆษณาสินค้า การค้าขาย รวมทั้งการ ประชาสัมพันธ์ การส่อื สารโดยใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นถือ ว่าเป็นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน มีการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายได้ในจำนวนมากได้เป็นเวลาอันรวดเร็ว และใช้ต้นทุนต่ำ และอินเทอร์เน็ตถือว่าเป็นสื่อที่ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของสอื่ มวลชนตาม ความตอ้ งการดังกล่าว ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ตในตา่ งประเทศ อินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet (Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ ( U.S.Department of Defense - DoD)ค . ศ . 1960 (พ.ศ.2503) ARPA ได้ถูกก่อตั้งและได้ถูกพัฒนา เรื่อยมา ค.ศ. 1969 (พ.ศ.2512) ARPA ได้รับ ทนุ สนนั สนนุ จากหลายฝ่าย ซ่งึ หนงึ่ ในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปล่ยี นแปลงนโยบายบางอย่าง และใน ป ี ค . ศ . 1969(พ . ศ . 2512)น ี ้ เ อ ง ท ี ่ ไ ด ้ ท ด ล อ ง ก า ร เชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แหง่ เข้าหากัน เป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบ ความสำเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ. 2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็น
เครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่ รับผดิ ชอบโดยตรง ใหแ้ ก่ หน่วยการส่อื สารของกองทัพ ส ห ร ั ฐ ( Defense Communications Agency - ป ั จ จ ุ บ ั น ค ื อ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทำงานท่ี รับผิดชอบบริหารเครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก , IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติ ม า ต ร ฐ า น ใ ห ม ่ ใ น Internet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่งเป็นการทำงานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิน้ ค.ศ. 1983 (พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนำ TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กบั คอมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองในระบบ ทำ ให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่อง คอมพวิ เตอรท์ กุ เคร่ืองทีจ่ ะต่อ internet ไดจ้ ะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกำหนดที่ทำ ให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได้อย่างถูกต้องการกำหนดช่ือโดเมน (Domain Name System) มขี ้นึ เมอื่ ค.ศ.1986 (พ.ศ. 2529) เ พ ื ่ อ ส ร ้ า ง ฐ า น ข ้ อ ม ู ล แ บ บ ก ร ะ จ า ย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และ
ใ ห ้ ISP(Internet Service Provider) ช ่ ว ย จ ั ด ท ำ ฐานขอ้ มลู ของตนเอง จึงไม่จำเป็นต้องมีฐานขอ้ มูลแบบ รวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่ น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปท่ีตรวจสอบวา่ มชี ่อื น้ี หรอื ไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของเว็บที่ลงท้าย ด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น- DARPA ได้ทำหน้าท่ี รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึงค.ศ. 1980 (พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์ แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกำเนิดเม่ือ ประมาณ 30 ปีท่แี ล้ว ถือกำเนดิ ข้นึ คร้ังแรกในประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหาร ของสหรฐั อเมรกิ า ช่ือวา่ ย.ู เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบ ขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่ มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทำงานได้ ซ่ึง ระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลในรูปของคลื่น ไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ต เวิร์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคำว่า Advance Research Project Agency net ซง่ึ ประสบ ความสำเร็จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงาน
ทหาร องค์กร รฐั บาล และสถาบันการศึกษาตา่ งๆ เป็น อย่างมาก ประวตั ิความเปน็ มาของอนิ เทอเน็ตในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยการเชื่อมต่อเข้าสู่ อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยมีจุดกำเนิดมาจาก เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัย หรือท่ี เรียกว่า \"แคมปัสเน็ตเวอร์ก\" ( Campus Network ) เครือข่ายดัง กล่าวได้รับการสนับสนุนจาก \"ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ\" ( NECTEC ) จนกระทั่งได้ เชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดย สมบูรณ์ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ.2535 พัฒนาการ ประเทศไทยได้เริม่ ติดตอ่ กับอนิ เทอรเ์ น็ตโดยใช้ E-mail ต ั ้ ง แ ต ่ ป ี พ . ศ . 2530 โ ด ย เ ร ิ ่ ม ท่ี \"มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่\" เป็นแห่งแรก และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ภายใต้ ความร่วมมือระหว่างไทยและออสเตรเลียในช่วงเวลา ตอ่ มา ในขณะนั้นยงั ไมไ่ ด้มกี ารเชื่อมต่อ แบบ On-line หากแต่เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ด้วย E-mail โดย ใช้ระบบ MSHnet ละ UUCP โดยทางออสเตรเลียจะ โทรศัพท์เชื่อมเข้ามาสู่ระบบวันละ 2 ครั้ง ในปีถัดมา NECTEC ซึ่งอยู่ภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ( ชื่อเดิมในขณะนั้น ) ได้
จัดสรรทุนดำเนินโครงการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ สถาบันอุดมศึกษา โดยแบง่ โครงการออกเปน็ 2 ระยะ การดำเนนิ งานใน ระยะแรกเปน็ การเช่อื มโยง 4 หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ - กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั - สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชยี - สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้า คณุ ทหารลาดกระบงั ระยะที่สองเป็นการเชื่อมต่อสถาบันอุดมศึกษาที่เหลือ คอื - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ - มหาวทิ ยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขต ธนบรุ ี
- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยา เขต พระนครเหนือ - มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ - มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2534 คณะทำงานของ NECTEC ร่วมกับกลุ่มอาจารย์และ นักวิจัยจาก สถาบันอุดมศึกษาได้ก่อตั้งกลุ่ม NEWgroup ( NECTEC E-mail Working Group) เพื่อ ประสานงาน และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้วย E-mail โดยยังคง อาศัยสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชียเป็นทางออกสู่ อินเทอร์เน็ตผ่านทางออสเตรเลีย ปี พ.ศ.2538 ร ั ฐ บ า ล ไ ท ย ไ ด ้ ป ร ะ ก า ศ ใ ห ้ เ ป ็ น ป ี แ ห ่ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ( Information Technology Year ) เนื่องจากตระหนักถึงความสำคัญของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลใน ขณะเดียวกันกม็ ี การดำเนินการจัดวางเครือข่ายความเร็วสูงโดยใช้ใย แก้วนำแสงเพื่อใช้เป็นสายสื่อสาร ไทยสาร เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2535 สำนักวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจร สื่อสารความเร็ว 9600บิต
ตอ่ วินาที จากการสอื่ สารแห่งประเทศไทยเพือ่ เชื่อมเข้า สู่อินเทอร์เน็ตที่ \"บริษัท ยูยูเน็ตเทคโนโลยี ประเทศ สหรัฐอเมริกา\" ภายใต้ข้อตกลงกับ NECTEC ในการ พัฒนาเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อ ร่วมใช้วงจรสื่อสาร จนกระทั่งในเดือนธันวาคมปี เดียวกันมีหน่วยงาน 6 แห่งที่ เชื่อมต่อแบบ On-line โดยสมบรู ณ์ ไดแ้ ก่ NECTEC ,จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ,สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ,มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์,มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครือข่ายที่ก่อตั้งมี ชื่อว่า \" ไ ท ย ส า ร \" ( Thaisarn : Thai Social/scientific ,Academic and Research Network ) หรอื \"ไทยสาร อินเทอร์เน็ต\" ในปี พ.ศ. 2536 NECTEC ได้เช่าวงจร สื่อสารความเร็ว 64 กิโลบิตต่อวินาทีจากการสื่สาร แห่งประเทศไทยเพื่อ เพิ่มความสามารถในการขนส่ง ข้อมูล ทำให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสารระดับ ที่ ให้บริการแก่ผู้ใช้ไทยสารอินเทอร์เน็ต 2 วงจร ใน ปัจจุบันวงจรเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศที่จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ NECTEC ได้รับการปรับปรุงให้มี ความ เร็วสูงขึ้นตามลำดับ นับตั้งแต่นั้นมาเครือข่าย ไทยสารได้ขยายตัวกว้างขึ้น และมีหน่วยงานอื่นเชื่อม เข้ากับ ไทยสารอีกหลายแห่งในช่วงต่อ มากลุ่ม สถาบนั อดุ มศกึ ษาประกอบดว้ ย สำนกั วทิ ยบรกิ าร จุฬา
ฯ ,ส ถ า บ ั น เ ท ค - - โ น โ ล ย ี แ ห ่ ง เ อ เ ชี ย ,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้ ร่วมตัวกันเพื่อแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายวงจร สื่อสาร โดย เรียกชื่อกลุ่มว่า \"ไทยเน็ต\" ( THAInet ) สมาชิกส่วน ใหญ่ของไทยสาร คือ สถาบันอุดมศึกษา กับหน่วยงาน ราชการบางหน่วย งาน และ NECTECยังเปิดโอกาส ให้กบั บคุ ลากรของหน่วยงานราชการที่ยังไม่มีเครือข่าย ภายในเป็นของตัว เองมาขอใช้บริการได้ แต่ทว่ายังมี กลุ่มผู้ที่ต้องการใช้บริการอินเทอร์เน็ตอีกเป็นจำนวน มาก ทั้งบริษัทเอกชนและบุคคลทั่วไปซึ่งไม่สามารถใช้ บริการ จากไทยสารอินเทอร์เนต็ ได้ ท้ังนี้เพราะไทยสาร เ ป ็ น เ ค ร ื อ ข ่ า ย เ พ ื ่ อ ก า ร ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ว ิ จ ั ย ท ี ่ ใ ช ้ เ งิ น งบประมาณอุดหนุนจากรัฐภาย ใต้ข้อบังคับของ กฏหมายด้านการสื่อสารจึงไม่สามารถให้นิติบุคคลอ่ืน ร่วมใช้เครือขา่ ยไดป้ ี พ.ศ.2535 เป็นปีเริ่มต้นของการ จดั กลุม่ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพื่อการศึกษาและวิจัย โดยมชี อ่ื ว่า เอ็นดับเบิลยจู ี ( NWG : NECTEC E- mail Workking Group) โดยหน่วยงานของรัฐ คือ ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค ( NECTEC: National Electronic and Computer Technology Centre) ส ั ง กั ด กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีเครือข่าย \"ไทยสาร\" ( ThaiSarn : Thai Social / Scientific and
Research Network ) พ.ศ. 2535 ได้มีการจัดตั้ง เครือข่ายไทยสารข้ึนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ โดยเนคเทค ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆเช่นมหาวิทยาลัยและ บริษัทเอกชน โดยมีวัตถุประสงค์แรกคือการทำให้ นักวิชาการไทยทั้งจากภาครัฐและเอกชนสามารถ แลกเปลี่ยนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กันได้ทั่วโลก ทั้งนี้ มีคณะทำงานจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (NECTEC Email Working Group หรือ NEWgroup) เป็นผู้ช่วยกัน พัฒนา และมีผู้ใช้แรกเริ่มเพียง 28 ท่าน จาก 20 หน่วยงาน โดยใช้คอมพิวเตอร์ 8 เครื่อง เชื่อมต่อกัน ผ่านสายโทรศัพท์ โดยใช้ซอฟต์แวร์ UUCP และ MHSNet โดยในเดือนเมษายน ประเทศไทยมี รหัสอักขระมาตรฐานประกาศในร่างมาตรฐาน ISO- 10646 และในเดือนกรกฎาคมประเทศไทยได้ เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มเวลา (ผ่าน วงจรเช่าต่างประเทศ ระหว่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษัท UUNET) ด้วยความเร็ว 9,600 บิต/วินาที และในเดือนธันวาคม มีสถาบันไทยรวม 6 แห่ง ที่ เชื่อมโยงกันด้วยวงจรเช่าแบบถาวรเข้าถึงอินเทอร์เนต็ ได้คลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน ได้แก่ เนคเทค จฬุ าลงกรณ์ ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเซีย) พ.ศ. 2536 เนคเทคเปิดใช้วงจร
ต่างประเทศความเร็วปานกลาง (64kbps) ขึ้นเป็น วงจรแรก เพื่อทำให้ผู้ใช้ทั้งหมดในประเทศไทยได้รับ และสง่ ขอ้ มลู ไดโ้ ดยสะดวกยิ่งขนี้ และในเดอื นสิงหาคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ได้ปรับปรุงวงจร 9,600 bps เป็น 64kbps ด้วย ในเดือนสิงหาคม ได้มีการ เรมิ่ นำระบบ Linux Operating System เข้ามาใชง้ าน เป็นครั้งแรกในประเทศไทย และเดือนตุลาคม ได้เปิด บรกิ าร WWW เป็นคร้งั แรกในประเทศไทยเช่นเดยี วกัน คือ www.nectec.or.th ซึ่งทำหน้าที่แนะนำประเทศ ไทยให้กับทั่วโลกเป็นภาษาอังกกฤษ ภายใต้ช่ือ Thailand the Big Picture และเปิดบริการอย่าง ต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 7 ปีจนถึงปัจจุบัน [1] ในปี นั้น เครือข่ายไทยสารมีหน่วยงานเชื่อมต่ออย่างถาวร รวม 19 หน่วยงาน พ.ศ. 2537 เป็นปีที่ประเทศไทย นำเครื่องคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงสองเครื่อง ต่อเข้า กับเครือข่ายไทยสาร-อินเทอร์เน็ต เครื่องแรก คือ MasPar ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เดือน ก ุ ม ภ า พ ั น ธ ์ ) แ ล ะ เ ค ร ื ่ อ ง ท ี ่ ส อ ง ค ื อ Cray Supercomputer รุ่น EL98 (เดือนพฤษภาคม) และ ในเดือนกรกฎาคม ได้มีการสาธิตการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 2 ล้านบิตต่อวินาที ระหว่าง เนคเทค กับงานวันสื่อสารแห่งชาติ ที่ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ในเดือนกรกฎาคม เพื่อสาธิตระบบ
มัลติมีเดียและการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย อ ิ น เ ท อ ร์ เ น ็ ต ( IP Video Conference) ใ น ป ี น้ี เครือข่ายไทยสารได้เชื่อมโยงสถาบันอุดมศึกษาได้ 34 แห่ง ใน 27 สถาบันและพ.ศ. 2538 เป็นปีแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปิดศักราชด้วยการท่ี การสื่อสารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้เปิดบริการ อนิ เทอร์เน็ตเชงิ พาณิชย์ โดยคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ ก่อตั้งบริษัทอินเทอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด (การร่วม ทนุ ระหวา่ งเนคเทค/สวทช. กับ กสท. และ ทศท.) เป็น ผู้ให้บริการรายแรก ซึ่งได้มีการเริ่มบริการอย่างเป็น ทางการในวันที่ 1 มีนาคม 2538 และตั้งแต่เดือน มิถุนายนก็เริ่มมีผู้ให้บริการอื่นเริ่มได้รับอนุญาต ให้บริการอินเทอร์เน็ตที่ถูกกฎหมาย ในเดือนมีนาคมปี นี้ ก็เป็นการเริ่มโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือ โรงเรียนไทย หรือ SchoolNet โดยมีโรงเรียนเข้าร่วม โครงการรุ่นแรก 30 โรงเรียน การใช้อินเทอร์เน็ต หลงั จากปี พ.ศ. 2538 เปน็ ตน้ มา เรมิ่ เป็นท่ีแพร่หลาย และเป็นข่าวออกสู่หน้าหนังสือพิมพ์เป็นประจำ และ คอ่ นขา้ งจะหาเอกสารอา้ งอิงต่างๆได้ง่าย อยา่ งไรก็ดี ก็ มเี หตุการณ์ตา่ งๆที่ควรแกก่ ารบนั ทึกดงั น้ี มีนาคม 2538 องค์ก รเอก ชนที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตอย่างถาวรด้วยความเร็ว 64kbps ราย
แรก คือ ธนาคารไทยพาณิชย์มิถุนายน 2538 มีการ ขยายวงจรต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดในขณะนั้น คือ 512kbps โดยศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตประเทศไทย และในเดือนเดียวกัน ได้มีการรายงานผล การเลือกตั้งทางอินเทอร์เนต็ โดย นสพ.บางกอกโพสต์ ร่วมกับเนคเทค กันยายน 2538 ประเทศไทยเปิดใช้ วงจรอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงระหว่างประเทศ 2 ล้าน บิตต่อวินาทีเป็นวงจรแรกของ วงจรนี้เชื่อมเนคเทคกับ NACSIS (National Center for Science Information Systems) ในประเทศญี่ปุ่น เป็นความ ร่วมมือเพื่อการศึกษาวิจัย โดยสถาบันเป็นสมาชิก เครือข่ายไทยสารทุกแห่งสามารถเข้าถึงสถาบันต่างๆ ในญี่ปุ่นได้จากวงจรนี้ได้กุมภาพันธ์ 2539 ประเทศ ไทยเริ่มเปิดใช้วงจรความเร็วสูงเพื่ออินเทอร์เน็ตเชิง พาณิชย์เป็นครั้งแรก โดยศูนย์บริการอินเทอร์เน็ต ประเทศไทยเป็นผู้ลงทุนเชื่อมระหว่างประเทศไทยกับ สหรัฐอเมริกาโดยผ่านเคเบิลใยแก้วนำแสง ทั้งนี้เป็น การลงทุนเพื่อทำให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการ ประชุมสุดยอด เอเซีย-ยุโรป พร้อมกับบริการอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงให้แก่ผู้สื่อข่าวจากทั่วโลก และบุคคล สำคัญได้อย่างเต็มภาคภูมิ วันที่ 5 ธันวาคม 2539 เวลา 9.09 น. ได้มีการเปิดบริการข้อมูลเครือข่าย กาญจนาภิเษก ตามพระราชดำรขิ อง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ที่ http://kanchanapisek.or.th เพื่อเป็นการ นำเสนอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ ผลงานของหน่วยงานต่างๆกว่าสิบหน่วยงาน ที่ทำงาน สนองพระราชดำริ รวมถึงกิจกรรมด้านเทคโนโลยีเพื่อ การพัฒนาประเทศ พฒั นาสงั คมตา่ งๆ ในโอกาสตอ่ มา ในวนั ที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2540 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดเครือข่ายกระจายความรู้แก่ประชาชน ให้ บุคคลทั่วไป เข้าถึงข้อมูลเครื่อข่ายกาญจนาภิเษกได้ ผ่านเลขหมายออนไลน์ 1509 ได้จากทุกแห่งใน ประเทศไทยโดยไมต้องเสียค่าสมาชิกและค่าโทรศัพท์ ทางไกลเครือข่ายนี้ ต่อมาได้รับพระราชานุญาตให้นำมาใช้เป็น access network สำหรับโรงเรียนทั่วประเทศในการ เขา้ ถงึ อนิ เทอร์เนต็ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายโดยทรงเปิด เครือข่ายใหม่ ที่เชื่อมเครือข่ายกระจายความรู้ฯ กับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยเข้าด้วยกัน เรียกว่า SchoolNet@1509 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2541 [6] ทำให้ประเทศไทยเป็นประเทศแรกใน อาเซียนที่จัดระบบอินเทอร์เน็ตฟรีให้แก่ โรงเรียนทั่ว
ประเทศ เพื่อลดความด้อยโอกาสของโรงเรียนที่อยู่ใน ชนบท ก่อนที่จะมีการกลา่ วถึงคำวา่ “digital divide” ในเวทีนานาชาติ พ.ศ. 2542 แม้ว่าเศรษฐกิจยังไม่ฟื้นตัว และใน วงการคอมพิวเตอร์ต่างก็ต้องกังวลเรื่องการแก้ปัญหา Y2K แต่จัดได้ว่าเป็นปีแหง่ การเพิ่มความเร็วของวงจร อินเทอร์เน็ตต่างประเทศ ในเดือนมกราคม มีวงจร ต่างประเทศระดับ8 ล้านบิตต่อวินาทีถึงสองวงจร คือ ของอินเทอร์เน็ต ประเทศไทย และของ การสื่อสารแห่งประเทศไทย ทั้งสองวงจรเป็นวงจรใย แก้วคุณภาพสูง ในเดือนเมษายน มีเพิ่มอีกหนึ่งวงจร คือของ KSC (เป็นวงจรดาวเทียม 8 Mbps) และใน เดือนตุลาคม KSC เป็นรายแรกที่เปิดใช้วงจร ต่างประเทศขนาด 34 Mbps (เป็นวงจรดาวเทียม แบบSimplex คือ ส่งข้อมูลเข้าประเทศไทยทิศทาง เดียว) เมื่อถึงสิ้นปี ประเทศไทยมีวงจรต่างประเทศ รวมทงั้ สิ้น118.25 Mbps พ.ศ. 2543 ซึ่งเริ่มเป็นปีที่เงินบาทเริ่มคงตัว และหนี้ที่ไม่ก่อรายได้ (NPL) เริ่มลดลง การเพิ่ม ความเร็วของอินเทอร์เน็ตทั้งในประเทศและระหว่าง ประเทศได้เพิ่มความเข้มข้นยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จาก สถิตเิ ปรียบเทยี บดงั นี้
Growth of Internet International Bandwidth of Thailand in January of each year (January) 1998 1999 2000 2001 Mbps 32.75 49.5 153.25 316.365 Growth on 51.15% 209.60% 106.44% previous year จะเห็นได้ชัดว่า ในต้นปี 2543 ความเร็วของการ เชื่อมตอ่ อนิ เทอร์เนต็ ได้เพ่ิมขนึ้ ถงึ 209% (คือเพิ่มเป็น สามเท่า) จากเดือนเดียวกันในปี 2542 ส่วนในเดือน มกราคม 2544 เป็นการเพิ่มเป็นสองเท่าจากในปี 2542 สำหรับอัตราการเพิ่มของการไหลเวียนข้อมูล ในประเทศ ก็มีการเพิ่มขึ้นด้วยอัตราที่สูงกว่าปีละ 160% ทง้ั สามปตี ิดต่อกันดงั ตารางขา้ งล่าง Growth of Domestic Data Exchange Volume of Thailand (January) 1998 1999 2000 2001 47.400 Mbps at 2.300 6.100 17.600 PIE/IIR 165.22% 188.52% 169.32% Growth on previous year จำนวนผู้ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ในประเทศไทย
จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยมีการ เปลย่ี นแปลงดังน้ี ปี 2534 (30 คน) ปี 2535 (200 คน) ปี 2536 (8,000 คน) ปี 2537 (23,000 คน) ข้อมลู ล่าสดุ ของสำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ปี 2551 จาก จำนวนประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 59.97 ล้านคน พบว่า มผี ใู้ ชค้ อมพิวเตอร์ 16.99 ลา้ นคน คิด เป็น ร้อยละ 28.2 และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 10.96 ล้านคน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.2 มาตรฐานการส่อื สารด้านอนิ เทอรเ์ น็ต โปรโตคอล (Protocol) คือตวั กลาง หรอื ภาษากลาง ที่ ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการสื่อสาร ในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ติดตอ่ สื่อสารเชื่อมโยงกัน ระหว่าง เครื่องคอมพวิ เตอร์ นบั ร้อยลา้ นเครอ่ื งซงึ่ แตล่ ะเครื่องมี ความแตกต่างกัน ทั้งรุน่ และขนาดของคอมพิวเตอร์ ถ้า ขาดโปรโตคอลก็จะไม่สามารถที่จะติดต่อสื่อสาร ให้ เข้าใจกันได้ เพราะฉะนั้นโปรโตคอล ก็เปรียบเหมือน เป็นล่ามที่ใช้แปลภาษา ของระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต มาตรฐานนี้เรียกว่า TCP/IP การทำงาน ของ TCP/IP จะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ เรียกว่า แพ็คเก็ต (Packet) แล้วส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจะกระจายแพ็คเก็ต ออกไปหลายเส้นทาง แพ็คเก็ตเหล่านี้ จะไปรวมกันที่
ปลายทาง และถูกนำมาประกอบรวมกัน เป็นข้อมูลที่ สมบรู ณอ์ กี ครงั้ ระบบไอพีแอดเดรส (IP Address) เมื่อเราต้องการ สื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เราจะต้องทราบที่อยู่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น คอมพิวเตอร์ที่ใช้ โปรโตคอล TCP/IP จะมีหมายเลขประจำเครอ่ื งที่ไม่ซ้ำ กับเครื่องอื่นในโลก มีชื่อเรียกว่า ไอพีแอดเดรส ไอพี แอดเดรสจะมลี กั ษณะเป็นตวั เลข 4 ชดุ ทมี่ ีจุด ( . ) ค่ัน เช่น 193.167.15.1 เป็นต้น ตัวเลขแต่ละชุด จะมี ค่าได้ตั้งแต่ 0-255 คอมพิวเตอร์ ที่มีไอพีแอดเดรส เป็นของ ตัวเองและใช้เป็นที่เก็บเว็บเพจ เราเรียกว่า เซิรฟ์ เวอร์ (Server) หรอื โฮสต์ (Host) ส่วนองคก์ รหรอื ผู้ควบคุมดูแลและจัดสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส เรา เรียกว่า อินเทอร์นกิ (InterNIC) โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม (Domain Name) เป็นระบบที่นำ ตัวอักษร ที่จำได้ง่ายเข้ามาแทนไอพีแอดเดรส ที่เป็น ตัวเลข แต่ละโดเมนจะมีชื่อไม่ซ้ำกัน และมักจะถูกตั้ง ให้คล้ายกับชื่อของบริษัทหน่วยงาน หรือองค์กรของผู้ เป็นเจ้าของ เพื่อความสะดวกในการจดจำชือ่ ความหมายโดเมนเนม
โดเมนเนม ความหมาย Com Edu กลมุ่ องค์การค้า Gov (Commercial) Mil Net กลมุ่ การศกึ ษา Org (Education) กลุ่มองคก์ รรัฐบาล (Governmental) กลุ่มองคก์ รทหาร (Military) กลมุ่ องค์การบริหาร (Network Service) กลมุ่ องค์กรอื่น ๆ (Organizations) ความหมายโดเมนทเี่ ปน็ ช่ือยอ่ ของประเทศ โดเมนท่ีเป็นชื่อย่อของ ความหมาย ประเทศ au ออสเตรเลีย (Australia) fr ฝรั่งเศส (France) th ไทย (Thailand) jp ญป่ี ุ่น (Japan) uk อังกฤษ (United Kingdom)
โดเมนเนมเซริ ์ฟเวอร์ โ ด เมนเนมเซิร์ฟเวอร์ ( Domain Name Server) ถึงแม้ระบบโดเมนเนม จะทำให้จดจำชื่อได้ ง่าย แต่การทำงานจริง ของอินเทอร์เน็ต ก็จำเป็นต้อง ใช้ไอพแี อดเดรส อย่างเดมิ ดงั นน้ั จงึ จำเปน็ ต้องมีระบบ ที่จะทำการแปลงโดเมนเนม ไปเป็นไอพีแอดเดรส โดย จะต้องจัดการให้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ทำหน้าที่ใน การแปลงโดเมนเนม ไปเป็นไอพีแอดเดรส เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่นี้ จะถูกเรียกว่าโดเมนเนม เซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server) หรือ ดีเอ็น เซิร์ฟเวอร์ (DNS Server) ตำแหนง่ อา้ งอิงเวบ็ เพจ เป็น ตำแหน่งที่ใช้อ้างอิงเว็บเพจต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตโดย พิมพ์ URL เข้าไปในช่อง Address ของเว็บเบราเซอร์ โดย URL ประกอบด้วย 3 สว่ น ดังนีค้ ือ www.hotmail.com/data.html www คือ การแสดงว่าขณะนี้กำลังใช้บริการ www hotmail คือ โดเมนเนมของเว็บไซต์ที่กำลังใช้ งานอยู่ data.html คือ ตำแหน่งของไฟลท์ ่เี ก็บเว็บเพจ หนา้ นั้นอยู่
การเช่อื มต่อเข้าสู่ระบบอนิ เทอร์เนต็ ก า ร เ ช ื ่ อ ม ต ่ อ เ ค ร ื ่ อ ง ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ เ ข ้ า สู่ อินเทอร์เน็ตผู้ใช้จะต้องสมัครเป็นสมาชิกเครือข่าย จะต้องมีบีประจำเครื่อง (Account Number) ท่ี ศูนย์บริการ แล้วเชื่อโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื่องท่ี ศูนย์บริการ โดยใช้สายโทรศัพท์ผ่านทางโมเด็ม (Modem) และจะมีซอฟต์แวร์ทำหน้าที่แปลง คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เป็นเทอร์มินัลของคอมพิวเตอร์ที่ ศูนย์บริการเมื่อสมัครเป็นสมาชิกแล้ว ผู้ใช้จะมี User ID ห ร ื อ User name ห ร ื อ Login name แ ล ะ Password ผู้ใช้จะต้องจัดเตรียมและเชื่อมต่ออุปกรณ์ ดงั นี้ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่จำกัดชนิดและยี่ห้อ สว่ นใหญท่ ่นี ิยมใช้จะใช้เครอื่ ง PC 2.โมเด็ม ทำหน้าที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ ความเร็วของ โมเด็มเป็นความเร็วในการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ โมเด็มมีขนาดความเร็วต่าง ๆ กัน โมเด็มมีขนาด ความเร็วสูงตั้งแต่ 14.4 Kbps ขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้ว จะมีความสามารถรับส่ง Fax ได้ด้วย เรียกกว่า Fax
Modem โมเด็มที่มีความเร็วสูงจะมีราคาแพงกว่า ความเร็วของโมเด็มวดั เป็นบิดตอ่ วินาที (bps) โมเด็มแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1.โมเด็มภายใน (internal modem) เป็น การ์ดทเี่ สยี บลงบนสล็อต (slot) ของเมนบอร์ด 2.โมเด็มภายนอก (External nodem) เป็น กล่องขนาดเล็ก มีพอร์ต (port) เพื่อเสียบสัญาณจาก คอมพิวเตอร์เข้าโมเด็ม มีช่องสำหรับเสียบ สายโทรศัพท์ และมีสายไฟจากโมเด็มเพื่อต่อเข้ากับไฟ บา้ น 3. โทรศัพท์ เพื่อเชื่อมต่อสายโทรศัพท์เข้ากับโมเด็ม เพื่อให้สัญญาณข้อมูลส่งผ่านสายโทรศัพท์ ดังนั้นผู้ ต้องการใช้บริการอินเทอร์เน็ต จะต้องมีโทรศัพท์หนึ่ง เลขหมายในการตอ่ เข้ากับอินเทอร์เนต็ 4.ซอฟต์แวร์ ในการใช้อินเทอร์เน็ตจะมีโปรแกรมท่ี เกย่ี วขอ้ งอยู่ 3 ประเภทคอื 1.โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อเพื่อจัดการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอินเทอร์เน็ต ถ้า เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ระบบปฏิบัติการ Window
95 จะมีโปรแกรม dial-Up Networking ที่ใช้ในการ สอ่ื สารอยู่แลว้ 2. โปรแกรมที่ใช้รับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เช่น Eudora 3. โปรแกรมที่ใช้ค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เรียกกว่า บราวเซอร์ (Browser) เช่น Netscape Navigator, Internet Exploer 5.ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider) ผู้ใช้จะต้องสมัครเป็นสมาชิกเครือข่ายกับผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นศูนย์บริการให้กับ สมาชิก ซง่ึ มที ้ังภาครัฐและเอกชน ซงึ่ ผู้ให้บรกิ ารเหลา่ น้ี จะเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลกโดย ศูนย์บริการเหล่านี้จะต้องเสียเงินค่าเช่าสายสัญญาณ ไปต่างประเทศให้กบั รฐั ข้อมลู ข่าวสารบนเว็บไซต์ 1. เว็บเพจ (Web Page) คือ ข้อมูลที่แสดงบน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นเอกสารที่สามารถเชื่อมโยง ไปยงั หนา้ อน่ื ๆ ได้
2. เว็บไซต์ (Web Site) คือ เว็บเพจทั้งหลายที่ มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต และบรรจะไว้ ในเครื่อง คอมพวิ เตอร์หน่งึ ๆ เชน่ เว็บไซต์ www.google.com 3. โฮมเพจ (Home Page) คือ เว็บเพจหลัก ของเว็บไซต์ ภายในโฮมเพจจะมีจะเชื่อมต่อเปิดเข้าไป ชม เวบ็ เพจอ่นื ๆ ทอี่ ยู่ภายในเวบ็ ไซต์นไ้ี ด้ 4. โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ (Web Browser) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ ในการเปิดเว็บเพจ และ สามารถรับส่ง ไฟล์ทางอินเทอร์เน็ต โดยการแปลง ภาษา HTML แล้วแสดงผลคำสัง่ ให้ออกมาเป็นรูปภาพ เสียง และข้อมูล ต่าง ๆ ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันได้แก่ NCSA Mosaic, Netscape Navigator, Internet Explorer และ Opera โปรแกรมที่ได้รับความนิยม สูงสุดคือ Internet Explorer 5. ภ า ษ า HTML (Hyper TextMarkup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจ โดย สามารถใส่จุดเชื่อมโยง (Link) ไปยังเอกสารหน้าอื่น ๆ ซึ่งการเชื่อมโยงนี้ถูกเรียกว่า Hypertextหรือเอกสาร HTML ซึ่งเว็บเพจจะใช้รหัส คำสั่ง สำหรับควบคุมการ แสดงผลข้อความ หรือรูปภาพในลักษณะต่าง ๆกันได้ โดยใช้สง่ิ ทเี่ รียกว่า แท็ก (Tag) ซง่ึ แท็กจะกำหนด ใหเ้ บ
ราเซอร์แปลความหมายของรหัสคำสั่งดังกล่าว เป็น ข้อมูลของเว็บเพจและคุณสมบัติพื้นฐานต่าง ๆ ด้วย นอกจากนี้ยังได้มีการนำเอาโค้ดภาษาโปรแกรมท่ี เรียกว่าสคริปต์ (Script) มาช่วยเพิ่ม ความสามารถ และสีสนั ให้เว็บเพจมากขึ้น 6. WYSIWYG (What-You-See-Is-What- You-Get) โปรแกรมแบบวิสสิวิกน้ี ใชส้ ร้างเว็บเพจโดย การนำรูปภาพ หรือข้อความมาวางทับบนเวบ็ เพจ และ เมื่อแสดงผลเว็บเพจ จะปรากฎหน้าเอกสารของเว็บ เพจ เหมือนกับขณะที่ ทำการสร้าง การใช้งานจะใช้ งานได้ง่ายกว่า การเขียนด้วยภาษา HTMLมาก โปรแกรมที่สามารถตอบสนอง การสร้างเว็บเพจแบบ WYSIWYG มีอยู่หลายโปรแกรมให้เลือกใช้เช่น FrontPage, Dreamweaver เปน็ ตน้ บริการตา่ ง ๆ บนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งที่ใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนมาก ที่เราสามารถค้นคว้า และรับส่งข้อมูลไป มา ระหว่างกันได้ อินเทอร์เน็ตจึงมีประโยชน์สำหรับ ยุคสังคมและข่าวสาร ในปัจจุบันอย่างมาก อินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่ เหมือนห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ส่งข้อมูลที่เราต้องการมาให้
ถึงบ้านหรือที่ทำงาน ภายในไม่กี่นาที จากแหล่งข้อมูล ทว่ั โลก โดยจัดเป็นบรกิ ารในรปู แบบต่าง ๆ ดังนี้ 1. เวิลด์ไวดเ์ วบ็ (World Wide Web : WWW) คือบริการค้นหาและแสดงข้อมูลแบบมัลติมีเดีย บน อินเทอร์เน็ตทุกประเภท ซึ่งข้อมูลและสารสนเทศอาจ จัดอยู่ในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ หรือ เสียงก็ได้ ข้อดีของบริการประเภทนี้คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง เวบ็ เพจหนา้ อ่ืน หรือเว็บไซด์อื่นไดง้ า่ ย เพราะใช้วิธีการ ของไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) โดยมีการทำงานแบบ ไคลเอนท์/เซริ ์ฟเวอร์ (Client/Server) ซึ่งผู้ใช้สามารถ ค้นหาข้อมูล จากเครื่องที่ให้บริการซึ่งเรียกว่าเว็บ เซิร์ฟเวอร์ โดยอาศัยโปรแกรม ที่ใช้ดูข้อมูลเว็บ เบราว์เซอร์ (Web Browser) ซึ่งผลที่ได้จะมีการแสดง เป็นไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งในปัจจุบันมีการผนวกรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และสามารถเชื่อมโยงไปยัง เอกสารหรือข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยตรงตัวอย่างเช่น www.yahoo.com สามารถค้นหาและเชื่อมโยงขอ้ มูล ไปยังเรื่องราวต่างๆ เช่น การศึกษาการท่องเที่ยว โรงแรมต่าง ๆ การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ เปน็ ต้น 2. การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) คือ บริการที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดย
พิมพ์ข้อความที่ต้องการสืบค้นเข้าไป โปรแกรมจะทำ การค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ให้ภายในเวลาไม่กี่นาที โปรแกรมประเภทนี้เราเรียกว่าSearch Engines เพราะฉะนั้นถา้ เราไม่สามารถจำชื่อเว็บไซด์ บางเว็บได้ ก็สามารถใช้วิธีการสืบค้นข้อมูล ในลักษณะนี้ได้ เว็บ ไซด์ที่ทำหน้าทีเ่ ป็น Search Engines มีอยู่เป็นจำนวน มาก เช่น google.com , yahoo.com , sanook.com ฯลฯ เปน็ ตน้ 3. การสนทนากับผู้อื่นบนอินเทอร์เน็ต จะ คล้ายกับการใช้โทรศัพท์แต่แตกต่างกันที่ เป็นการ สื่อสาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะใช้ไมโครโฟน และลำโพงทตี่ ่ออยูก่ บั คอมพวิ เตอร์ในการสนทนา 4. กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (News Group or Use Net) เป็นบริการกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และแสดงความคิดเห็นลงไปบริเวณกระดาน ข่าวได้ มีการแบ่งกลุ่มผู้ใช้ออกเป็นกลุ่ม ๆ ซึ่งแต่ละ กลุ่มจะสนใจเรื่องราวที่แตกต่างกันไป เช่นการศึกษา การท่องเที่ยว การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม การเกษตร และอตุ สาหกรรม เปน็ ตน้
5. การสื่อสารด้วยข้อความ IRC (Internet Relay Chat) เป็นการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น โดยการ พิมพ์ข้อความโต้ตอบกัน ซึ่งจำนวนผู้ร่วมสนทนาอาจมี หลายคนในเวลาเดียวกัน ทุกคนจะเห็นข้อความ ที่แต่ ละคนพิมพ์เหมือนกับว่ากำลังนั่งสนทนาอยู่ในห้อง เดียวกัน โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารได้แก่ โปรแกรม mIRC โปรแกรม PIRCH และโปรแกรม Comic Chat นอกจากโปรแกรม IRC แล้ว ในปัจจุบัน นี้ภายในเว็บไซต์ ยังเปิดให้บริการห้องสนทนาผ่านทาง โปรแกรมเวบ็ เบราเซอร์ไดอ้ กี ด้วย 6.telnet เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สำหรับติดต่อ กับเครอ่ื ง Server ที่เปน็ UNIX หรอื LINUX เพอื่ ใช้เขา้ ไปควบคุม การทำงานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรม ประมวลผลใด ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานใน เคร่อื งน้ัน เปน็ ต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะ ยอมให้ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษา ต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจาก ระบบ UNIX น้เี อง ประโยชนอ์ ยา่ งหน่งึ ที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ ใน Telnet สำหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่
รู้ตัว ว่าตนเองกำลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่องานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คำสั่ง mail ในการ รับ-ส่งมาก แต่ผู้ใช้ที่ใช้ E-Mail กับเครื่อง UNIX หรือ LINUX ซึ่งใช้ตามมาตรฐาน IMAP มักเป็นกลุ่ม นักศึกษา ในมหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยได้ให้บริการ E-Mail ซึ่งมีข้อจำกัดบางประการ และหลาย มหาวิทยาลัย เช่นกันที่ทำฐานข้อมูล Mail ใน UNIX และใหบ้ ริการ Mail ผา่ น browser ได้ ซงึ่ เปน็ หลกั การ ที่ผู้ให้บริการ mail ฟรีหลายแห่งใช้กันอยู่ สำหรับ โปรแกรม Telnet ผู้ต้องการใช้บริการ ไม่จำเป็นต้อง ไป download เพราะเครื่องที่ทำการติดตั้ง TCP/IP จะติดต้ังโปรแกรม telnet.exe ไว้ในหอ้ ง c:\\windows เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อยู่แล้ว แต่ ปัญหาหนัก อยู่ที่วิธีการใช้ เพราะระบบ UNIX เป็นการทำงานใน Text mode เป็นหลัก การจะใช้คำสั่งต่าง ๆ ผู้ใช้ จะต้องเรียนรู้มาก่อน จึงจะใช้งานได้ในระดับที่ พึ่งตนเองได้ มิเช่นนั้นก็จะเหมือน คนตาบอดเดินอยู่ กลางถนน หากใช้คำสั่งไมถ่ ูกต้อง อาจทำให้เกิดปญั หา ทั้งกับตนเอง และระบบได้ภาพ mailtel.gif 7.Electronic mail
• บริการ E-Mail ฟรี เป็นบริการท่มี ีผู้ใชก้ ันมาก เพราะใช้สำหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผู้ที่ต้องการ ติดต่อด้วย และใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่าย และผรู้ ับจะไดร้ ับในเวลาเกอื บทันทที ี่ ส่งไป ผู้ใหับริการ E-Mail ฟรีในปัจจุบัน เช่นของ hotmail หรือ yahoo mail หรือ ตามแต่ละประเทศ ทคี่ นในประเทศจะทำ Server ใหบ้ รกิ าร สำหรบั กลุ่มที่ มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรือ chaiyo.com ซึ่งเป็นของคนไทย และ mail ฟรีเหล่านี้ จะให้บริการไปเรื่อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะ หมดอายุถ้าผู้ใช้เกดิ เลิกใช้เป็นเวลานานเกนิ ไป สำหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่ สำเร็จการศึกษา จึงเป็นจุดบกพร่องข้อใหญ่ ที่ทำให้ นกั ศึกษา หนั ไปใช้ E-Mail ฟรี มากกว่าท่สี ถาบัน จดั ไว้ ให้ • การใช้ E-Mail กับผู้ให้บริการฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com ห รื อ chaiyo.com นัน้ ผใู้ ช้จะตอ้ งไป download โปรแกรม browser เช่น netscape หรือ Internet Explorer หรือ Opera หรือ NeoPlanet มาไ ว้ในเคร ื ่ อ ง คอมพิวเตอร์ที่ต่อ Internet แล้วเปิดหน้าเว็บของ แหล่งบริการ เพื่อใช้บริการ E-Mail ดังกล่าว ซึ่งผู้ใช้
จะต้องขอใช้บริการ และจะได้รับ userid และ password ประจำตวั เพ่ือ login เขา้ ใชบ้ ริการ E-Mail ทุกคร้ัง • ปัจจุบันการขอใช้บริการ E-Mail สามารถ เลือกได้ที่จะใช้ web-based หรือ POP เพราะแต่ละ แบบมีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผู้ที่เดินทางเป็นประจำ ส่วน pop จะ เหมาะกับผมู้ คี อมพิวเตอร์สว่ นตวั 8.USENET news หรอื News group • ในยคุ แรกของ Internet บริการ USENET ได้ มีผู้ใช้บริการ อย่างแพร่หลายอย่างมาก เพราะเป็น แหล่ง ที่ผู้ใช้ จะส่งคำถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ท่ี พอจะตอบคำถามได้ จะช่วยตอบ ทำให้เกิดสังคมของ การแลกเปล่ยี นขา่ วสาร นอกจากการส่งข้อความเข้าไป ใน USENET แล้ว ผู้ใชย้ ังส่งแฟ้มในรปู แบบใด ๆ เขา้ ไป ก็ได้ ซึ่งเรียกว่า Attach file หากแฟ้มที่ส่งเข้าไปเป็น ภาพ gif หรือ jpg หรือแฟ้มที่มีการรองรับ ในระบบ internet ก็จะเปิดได้ทันทีด้วย browser หรือแล้วแต่ โปรแกรมที่ใช้เปิด USENET นัน้ • แต่สำหรับประเทศไทย ผมสังเกตุว่า มีการ เข้าไปใช้บริการในส่วนนี้ไมม่ าก เพราะกลุ่มข่าว(News
group) ที่ชื่อ soc.culture.thai ซึ่งเป็น 1 ในหลาย หมื่นกลุ่มข่าว และมีชื่อที่เป็นไทยอย่างชัดเจน กลับมี คนต่างชาติ เข้าไปฝากข้อความไว้กว่าครึ่ง และมีคน ไทยเพียงครึ่งเดียว ซึ่งเข้าใจว่าผู้ใช้ Internet ใน ประเทศไทยมักเน้นการใช้บริการ Internet 3 อย่างนี้ คอื Browser และ PIRC และ ICQ • อกี เหตุผลหน่งึ ทีค่ นไทยไม่ได้เขา้ ไปใช้บริการ USENET เทา่ ที่ควรกเ็ พราะ ในเวบ็ ของคนไทยหลาย ๆ เว็บจะให้บริการที่ชื่อว่า wwwboard ผ่าน browser อยู่แล้ว ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลงึ กับ USENET อย่างมาก ทำให้คนไทยหันมาใช้ wwwboard แทน USENET ซึ่ง ต้องติดตั้งข้อกำหนดเพิ่มเติมให้กับ browser ซึ่งอาจ รู้สึกยุ่งยาก ไม่รู้ หรือไม่คุ้นเคยก็เป็นได้ และปัจจุบัน บริการต่าง ๆ มักจะรวมมาไว้ใน browser อย่าง สมบูรณ์ ทำให้ผู้ใช้มากมาย ไม่เห็นความจำเป็นที่ต้อง ไปใช้โปรแกรมอื่น เพราะทุกวันนี้ก็ใช้บริการ ที่อยู่ใน browser ไ ม ่ ห ม ด แ ล ้ ว เ ช ่ น web, mail, chat, wwwboard, game, quiz, pager, news, postcard, shopping, download เปน็ ตน้ • ถ้าเครื่องท่านถูก setup ให้อ่าน news ได้ ท่านสามารถเข้าไปที่ soc.culture.thai เพื่ออ่าน หรือ สง่ ขา่ วสาร ต่าง ๆ ได้
9.FTP (File Transfer Protocal - บ ร ิ ก า ร โอนย้ายข้อมูล) • บริการนี้ สามารถใช้ download แฟ้มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอก โปรแกรมจาก server มาไว้ในเครื่องของตน แต่ถ้าจะ upload แฟ้ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้มจากเครื่องของ ตน เข้าไปเกบ็ ใน server เชน่ การปรับปรงุ homepage ให้ทันสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรอื wsftp หรือ ftp ของ windows • การ download นั้นไม่ยาก หากผู้ให้บริการ ยอมใหใ้ ครก็ไดเ้ ข้าไป download แฟม้ ใน server ของ ตน และผู้ใช้บริการรู้ว่าแฟ้มที่ต้องการนั้นอยู่ที่ใด แต่ การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็น และมีความเป็นเจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทำ รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิทธิในการเข้าใช้ บริการ การศึกษาการส่งแฟ้มเข้าไปใน server อาจ ต้องหา บทเรียน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรือ หาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริการ upload แฟ้ม ซึ่งมัก เขียนไว้ละเอยี ดดีอยแู่ ล้ว
10.WAP • Wireless Application Protocal เ ป็ น เทคโนโลยีที่ทำให้โทรศัพท์ สามารถเปิดเว็บที่ถูกเขียน มาเพื่อ โทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะได้ เว็บของไทยที่ ใ ห้ บ ร ิ ก า ร แ ล ้ ว เ ช่ น http://wap.wopwap.com,http://wap.siam2you .com,http://wap.a-roi.com, http://wap.mweb.co.th เป็นต้น • โทรศัพท์ที่ออกมาให้บริการแล้ว เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel OneTouch View WAP หรือ 300 family หรือ 500 family หรือ 700 family, MotorolaV8088 เปน็ ตน้ • เ ว ็ บ ท ี ่ ม ี ข ้ อ ม ู ล เ ร ื ่ อ ง wap เ ช่ น wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com, waptastic.com เป็น ตน้ WAP ยอ่ มาจากคำว่า Wireless Application Protocal เ ป ็ น เ ท ค โ น โ ล ย ี ท ี ่ ส า ม า ร ถ ท ำ ใ ห้ โทรศัพทม์ ือถือ หน้าจอเล็กๆ ของคุณสามารถเชื่อมต่อ เข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้โดยตรง ทำให้คุณ
สามารถ ทำอะไรไดห้ ลากหลายเสมอื นกับคุณใช้เคร่อื ง คอมพิวเตอร์ทีบ่ ้านเช่อื มต่ออินเทอร์เนต็ ผ่าน Browser เลยทีเดียว ไม่ว่าจะเป็น การค้นหาสืบค้นข้อมูล หรือ การใช้บริการต่างๆ ของ WAP Site และที่สำคัญที่สุด คือ คุณสามารถทำกิจกรรมเหล่านี้ได้ทุกที่ทุกเวลา ตราบใดที่ยังมีสัญญาณมือถือ หรือสัญญาณ GPRS อยู่ นนั่ เอง เหตุผลสำคัญที่ทำให้อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยม แพรห่ ลาย 1.การสื่อสารบนอินเต อร์เน็ต ไม่จำกั ด ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ที่ต่างระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
เช่น คอมพิวเตอร์ที่มีระบบปฏิบัติการแบบ Windows 95 ส า ม า ร ถ ส ื ่ อ ส า ร ก ั บ ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ ท ี ่ มี ระบบปฏบิ ัติการแบบ Macintosh ได้ 2.อินเตอร์เน็ตไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคารเดียวกัน หรือห่างกันคนละ ทวปี ข้อมูลกส็ ามารถส่งผ่านถึงกนั ได้ 3.อินเตอร์เน็ตไม่จำกัดรูปแบบของข้อมูล ซึ่งมีได้ ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความอย่างเดียว หรืออาจมี ภาพประกอบ รวมไปถึงข้อมูลชนิดมัลติมีเดีย คือมีท้ัง ภาพเคล่อื นไหวและมเี สียงประกอบด้วยได้ การเชอื่ มต่ออินเทอร์เน็ต 1การเช่อื มต่ออนิ เทอร์เนต็ แบบใชส้ าย (Wire Internet) 1.1 การเชื่อมต่ออนิ เทอรเ์ น็ตรายบคุ คล (Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชือ่ มตอ่ อินเทอรเ์ นต็ จากท่ีบา้ น ( Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่าย อนิ เทอร์เน็ต ผ้ใู ช้ต้อง ส ม ั ค ร เ ป ็ น ส ม า ช ิ ก ก ั บ ผู้ ใหบ้ รกิ ารอนิ เทอร์เน็ตก่อน จากน้นั จะได้เบอร์โทรศัพท์
ของผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผา่ น (Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ร ะ บ บ อินเทอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชือ่ มตอ่ กับคอมพิวเตอร์ ของผใู้ ชห้ มุนไปยงั หมายเลข โ ท ร ศ ั พ ท ์ ข อ ง ผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งาน อินเทอรเ์ นต็ ได้ ดงั รปู องคป์ ระกอบของการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ รายบคุ คล 1. โทรศพั ท์ 2. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ 3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์ โทรศัพท์ รหสั ผู้ใช้และรหสั ผา่ น 4. โมเดม็ (Modem)
โมเด็ม คอื อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการแปลงสญั ญาณ เนอ่ื งจาก สัญญาณในคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณดิจิทัล (Digital) แต่สัญญาณเสียงในระบบโทรศัพท์เป็นสัญญาณ อนาล็อก (Analog) ดังนั้นเมื่อต้องการเข้าสู่ระบบ อินเทอร์เน็ตจึงต้องใช้โมเด็มเพื่อเป็นอุปกรณ์ในการ แปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็น สัญญาณอนาล็อกตามสายโทรศัพท์ และแปลงกลับ จากสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิทัล เมื่อถึง ปลายทาง ความเร็วของโมเด็มมีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที (bit per second : bps) หมายความว่า ในหนึ่งวินาที จะมี ข้อมูลถูกส่งออกไป หรือรับเข้ามากี่บิต เช่น โมเด็มที่มี ความเร็ว 56 Kpbs จะสามารถ รับ-ส่งข้อมูลได้ 56 กิโลบติ ในหน่งึ วินาที โมเด็มสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1. โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก ( External modem) เป็นโมเด็มที่ติดตั้งกับคอมพิวเตอร์ภายนอก สามารถ เคล่ือนย้ายได้สะดวก เพราะในปัจจุบันการเช่ือมต่อกับ คอมพิวเตอร์จะผ่าน USB พอร์ต (Universal Serial Bus) ซึ่งเป็นพอร์ตที่นิยมใช้กันมาก ราคาของโมเด็ม
ภายนอกไม่สูงมากนัก แต่จะยังมีราคาสูงกว่าโมเด็ม แบบ 2. โมเดม็ แบบติดตง้ั ภายใน (Internal modem) เป็นโมเด็มทีเ่ ป็นการ์ดคอมพิวเตอรท์ ีต่ อ้ งติดต้ังเข้าไป กบั แผงวงจรหลกั หรือเมนบอรด์ (main board) ของ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ โมเดม็ ประเภทน้จี ะมีราคาถกู วา่ โมเด็มแบบตดิ ตัง้ ภายนอก เวลาตดิ ตงั้ ต้องอาศัยความ ชำนาญในการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ และติดตั้งไปกบั แผงวงจรหลัก 3. โมเดม็ สำหรบั เครือ่ งคอมพวิ เตอรโ์ นต้ บกุ๊ (Note Book Computer) อาจเรยี กสั้นๆว่า PCMCIA modem 1.2 การเชื่อมต่ออินเทอร์เนต็ แบบองค์กร (Corporate Connection) การเช่อื มตอ่ อนิ เทอร์เนต็ แบบองค์กรน้ีจะพบได้ทั่วไป ตามหน่วยงานต่างๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน หน่วยงาน ตา่ งๆ เหล่านี้จะมีเครือขา่ ยท้องถน่ิ (Local Area Network : LAN) เปน็ ของตวั เอง ซงึ่ เครอื ข่าย LAN น้ี เช่อื มต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดงั นั้น บคุ ลากรในหน่วยงานจงึ สามารถใช้
อินเทอร์เนต็ ได้ตลอดเวลา การใช้อนิ เทอร์เน็ตผ่าน ระบบ LAN ไม่มกี ารสรา้ งการเชอ่ื มตอ่ (Connection) เหมอื นผู้ใชร้ ายบุคคลที่ยังตอ้ งอาศยั คู่สายโทรศัพทใ์ น การเขา้ สู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet) 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายผ่าน เครอ่ื งโทรศพั ท์บ้านเคลอื่ นที่ PCT เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCT ซึ่ง ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปรมิ ณฑลได้ 2. การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยตรง (Mobile Internet) 1 . WAP (Wireless Application Protocol) เ ป ็ น โ ป ร โ ต ค อ ล ม า ต ร ฐ า น ข อ ง อุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเทอร์เน็ต ใช้ ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการ พัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ท่ีพบใน www โทรศัพท์มือถือ
ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อ ท่องอนิ เทอร์เนต็ ซึ่งมีความเร็วในการรับส่ง ข้อมลู ที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ทอ่ งอนิ เทอร์เน็ต นัน้ จะมี การคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมี ราคาแพง 2 . GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาข ึ้นเพื่ อใ ห้ โ ท ร ศ ั พ ท ์ม ื อถ ื อ สา ม า ร ถ เ ช ื่ อม ต ่อกั บ อินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็ม มาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้ บริการคิดตามปรมิ าณขอ้ มูลท่รี ับ-ส่ง ตาม จ ริ ง ดงั นั้นจงึ ทำให้ประหยดั กว่าการใช้ WAP และยงั สือ่ สาร ไดร้ วดเรว็ ข้นึ ดว้ ย 3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ร ะ บ บ CDMA นั้ น สามารถรองรบั การสอ่ื สารไรส้ ายความเร็วสูงได้ เปน็ อย่างดี โดยสามารถทำการรบั สง่ ข้อมูล ไ ด้ สูงสุด 153 Kbps ซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์
ตามบา้ นที่เช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตได้ เพยี ง 56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุนการส่งข้อมูล ระบบมลั ติมีเดยี ได้ด้วย 4. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยบี ลทู ธู ถูกพัฒนาขน้ึ มาเพ่ือ ใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้หลักการการส่ง คลนื่ วิทยุ ทีอ่ ยใู่ นย่านความถี่ ระหว่าง 2.4 - 2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้ เทคโนโลยไี ร้ สายบลูธูทเพื่อใช้ใช้ในอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอรโ์ น้ตบคุ๊ คอมพวิ เตอรพ์ อ็ คเก็ตพซี ี 3. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยโน้ตบุ๊ก(Note book) และ เครื่องปาล์ม (Palm) ผ่าน โทรศัพท์มือถือ ที่สนับสนุนระบบ GPRS โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุน GPRS จะทำหน้าที่เสมือนเป็นโมเด็มให้กับอุปกรณ์ท่ี นำมาพ่วงต่อ ไม่ว่าจะเป็น Note Book หรือ Palm และในปัจจุบันบริษทั ที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้มี การผลิต SIM card ที่เป็น Internet SIM สำหรับ โทรศัพท์มือถอื เพ่ือให้สามารถติดต่อกับอินเทอรเ์ นต็ ได้ สะดวกและรวดเร็วมากขึน้ 2.อินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู
2 . 1 บ ร ิ ก า ร อ ิ น เ ท อ ร ์ เ น ็ ต ผ ่ า น ISDN (Integrated Service Digital Network) เ ป ็ น ก า ร เชื่อมต่อสายโทรศัพท์ระบบใหม่ที่รับส่งสัญญาณเป็น ดิจิทัลทั้งหมด อุปกรณ์และชุมสายโทรศัพท์จะเป็น อุปกรณ์ที่สนับสนุนระบบของ ISDN โดยเฉพาะ ไม่ว่า จะเปน็ เคร่อื งโทรศพั ท์ และโมเดม็ สำหรบั ISDN องค์ประกอบของการต่ออินเทอร์เน็ตด้วยระบบ โทรศัพท์ ISDN 1. Network Terminal (NT) เป็นอปุ กรณ์ท่ีใช้ ต่อจากชุมสาย ISDN เข้ากับอุปกรณ์ดิจิทัลของ ISDN โดยเฉพาะ เช่น เครื่องโทรศัพท์ดิจิทัล เครื่องแฟกซ์ ดิจทิ ลั 2. Terminal adapter (TA) เป็นอุปก รณ์ แปลงสัญญาณเพื่อใช้ต่อ NT เข้ากับอุปกรณ์ที่ใช้กับ โทรศัพท์บ้านระบบเดิม และทำหน้าที่เป็น ISDN modem ท่ีความเร็ว 64-128 Kbps 3. ISDN card เป็นการ์ดที่ต้องเสียบใน แผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์เพื่อต่อกับ NTโดยตรง ในกรณีที่ไม่ใช้ Terminal adapter 4. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านคู่สาย ISDN (ISDN ISP) เช่น KSC, Internet Thailand, Lox Info,
JI-Net ฯลฯ ซึ่งผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเหล่านี้จะทำ การเชา่ คูส่ าย ISDN กับองค์การโทรศัพท์ (บริษัท ทศท. คอรป์ อเรชนั่ จำกัด มหาชน ) 2.2บริการอินเทอร์เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เนต็ ด้วยความเร็วสูงโดยไม่ใช้ สายโทรศัพท์ แต่อาศัยเครือข่ายของผู้ให้บริการเคเบิล ทีวี ความเร็วของการใช้เคเบิลโมเด็มในการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตจะทำให้ความเร็วสูงถึง 2/10 Mbps น้ัน คอื ความเร็วในการอัพโหลด ที่ 2 Mbps และความเรว็ ในการ ดาวน์โหลด ที่ 10 Mbps แต่ปัจจุบันยังเปิด ให้บริการอยทู่ ี่ 64/256 Kbps องค์ประกอบของการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตดว้ ยเคเบิล โมเด็ม 1. ต้องมีการเดินสายเคเบิลจากผู้ให้บริการ เคเบิล มาถึงบ้าน ซ่ึงเปน็ สายโคแอกเชียล(Coaxial ) 2. ตัวแยกสัญญาณ (Splitter) ทำหน้าที่แยก สัญญาณคอมพวิ เตอร์ผ่านเคเบลิ โมเดม็ 3. Cable modem ทำหนา้ ทแ่ี ปลงสญั ญาณ
4. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม ในปัจจุบัน มีเพียงบริษัทเดียว คือ บริษัทเอเชีย มัลติมีเดีย ในเครือเดียวกับบริษัทเทเลคอมเอเชีย ผู้ ให้บรกิ าร Asia Net 2.3 บริการอินเทอร์เน็ตผ่านระบบโทรศัพท์ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) ADSL เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผา่ นสายโทรศัพท์ แบบเดิม แตใ่ ชก้ ารส่งด้วยความถส่ี ูงกวา่ ระบบโทรศัพท์ แบบเดิม ชุมสายโทรศัพท์ที่ให้บริการหมายเลข ADSL จะมกี ารตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ คือ DSL Access Module เพื่อ ทำการแยกสัญญาณความถี่สูงนี้ออกจากระบบ โทรศัพท์เดิม และลัดเข้าเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยตรง ส่วนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะต้องมี ADSL Modem ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน ADSL จะมีความเร็วที่ 64/128 Kbps (อัพโหลด ที่ 64 Kbps และ ดาวน์ โหลด ที่ 128 Kbps) และที่ 128/256 Kbps (อัพ โหลด ที่ 128 Kbps และ ดาวน์โหลด ที่ 256 Kbps) ทั้งนีข้ ึ้นอย่กู ับการเลือกใชบ้ ริการ องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย ADSL
1. ADSL modem ทำหน้าที่ในการแปลง สญั ญาณ 2. อุปกรณร์ บั สัญญาณจากดาวเทยี มเพ่ือแปลง เขา้ สคู่ อมพวิ เตอร์ 3. โมเด็มธรรมดา พร้อมสายโทรศัพท์ 1 คสู่ าย เพ่ือส่งสัญญาณกลบั (Upload) 4. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม ใน ปัจจุบันมีเพียงรายเดียว คือ CS Internet ในเครื่อชิน คอรป์ อเรชั่น 2.4 บริการอินเตอร์เนตผ่านดาวเทียม (Satellite Internet) เป็นบริการอินเทอร์เน็ตความเรว็ สูงอกี ประเภทหน่ึง ซ่ึง ในปัจจุบันใช้การส่งผ่านดาวเทยี มแบบทางเดยี ว (One way) คือ จะมีการส่งสัญญาณมายังผู้ใช้ (download) ด้วยความเร็วสูงในระดับเมกะบิตต่อวินาที แต่การส่ง สัญญาณกลับไปหรือการอัพโหลด จะทำได้โดยผ่าน โทรศัพท์แบบธรรมดา ซึ่งจะได้ความเร็วที่ 56 Kbps การใช้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียมอาจได้รับการ รบกวนจากสภาพอากาศได้ง่าย
องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย ดาวเทยี ม 1. จานดาวเทยี มขนาดเล็ก 2. อปุ กรณ์รับสัญญาณจากดาวเทยี มเพื่อแปลง เขา้ สูค่ อมพวิ เตอร์ 3. โมเดม็ ธรรมดา พร้อมสายโทรศพั ท์ 1 ค่สู าย เพ่อื ส่งสัญญาณกลบั (Upload) 4. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม ใน ปัจจุบันมีเพียงรายเดียว คือ CS Internet ในเครื่อชิน คอร์ปอเรชั่น การใชอิ้ ินเตอรเ์ นต็ อย่างปลอดภยั แบบท่ี1 ปัจจุบันการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตมี ประโยชน์อย่างมาก จึงทำให้การใช้งานเป็นไปอย่าง แพร่หลาย บุคคลที่ใช้อินเทอร์เน็ตจึงมีหลาย จดุ ประสงค์ ทั้งใชง้ านในสิ่งที่เป็นประโยชน์ และการใช้ งานที่เป็นผลร้ายต่อบุคคลอื่น ดังนั้นสำนักงานตำรวจ แห่งชาติจึงได้ทำการแปลและเรียบเรียงวิธีการใช้งาน อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น สำหรับผู้ที่เริ่มใช้งาน เพื่อจะได้ ปลอดภยั จากภัยร้ายบนอินเทอรเ์ น็ต
1. เมื่อเริ่มใช้อินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก ควร ปรึกษาผู้ใหญ่เกี่ยวกับแนวทางในการใช้ในการใช้ อินเทอรเ์ นต็ ต่อวัน และเมอ่ื ผใู้ ชม้ ีความรู้ และคุ้นเคยใน การใช้งานจริงบ้างแล้ว จึงค่อยปรับเปลี่ยนแนวทางใน ใช้เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมต่อไป และ ควรเขียนแนวทางในการใช้อินเทอร์เน็ตติดไว้ใกล้กับ คอมพิวเตอร์ เพื่อความสะดวกในการจัดระบบการใช้ อินเทอรเ์ น็ต 2. อยา่ ให้รหสั ลบั แก่ผอู้ ่ืน 3. ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ ทุกครั้งที่ให้ ข้อมูลส่วนตวั กบั บคุ คลอ่ืนในอินเทอรเ์ นต็ 4. ตรวจทานว่าได้พิมพ์ชื่อเว็บไซด์ถูกต้อง เสียก่อน แล้วจึงกด Enter เพื่อจะได้เข้าเว็บไซด์ท่ี ตอ้ งการไดถ้ กู ตอ้ ง 5. ปรึกษาผใู้ หญ่ กอ่ นเข้าใชห้ ้องสนทนาบนอิน เทอร์เนต็ เพราะวา่ ห้องสนทนาแตล่ ะหอ้ งมีการสนทนา ท่ีแตกตา่ งกัน บางหอ้ งอาจไมเ่ หมาะสม 6. ถ้าพบเห็นข้อความ หรือสิง่ ใด ท่ีไม่เหมาะสม หรอื คดิ ว่าไมด่ ตี อ่ การใช้อินเทอร์เน็ต ควรออกจากเว็บ ไซดน์ ้ัน และแจ้งให้ผ้ใู หญ่ทราบทันที
Search