Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Published by vavavanvan, 2017-09-21 06:08:10

Description: หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

Computer การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ ] ]

การส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การสื่อสารข้อมูล (Data communication) หมายถึง การส่งขอ้ มูลหรือข่าวสาร จากผสู้ ่งตน้ ทางไปยงั ผรู้ ับปลายทางท่ีอยหู่ ่างไกล โดยผา่ นช่องทางการสื่อสารเพ่ือเป็ นส่ือกลางในการส่งขอ้ มลู ซ่ึงอาจจะเป็ นแบบใชส้ ายหรือไม่ใชส้ ายก็ได้ ส่วนขอ้ มูลหรือขา่ วสารน้นั อาจจะเป็นขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือขอ้ มูลท่ีเป็ นมลั ติมีเดียก็ได้ ดงั น้นั การสื่อสารขอ้ มลู จึงเป็นส่วนหน่ึงของการสื่อสารโทรคมนาคม โดยเนน้ การส่งผา่ นขอ้ มลู โดยใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ยเป็ นหลกั (สุมน อยสู่ ิน. 2527 : 8) เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หมายถึง การนาคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาเชื่อมต่อถึงกนั โดยใชส้ ายเคเบิ้ลเป็นสื่อกลางในการแลกเปล่ียนชุดขอ้ มลู ชุดคาสั่ง และขา่ วสารต่าง ๆ ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ กบั คอมพิวเตอร์และระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กบั อุปกรณ์ตา่ ง ๆ การท่ีระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคญั เพมิ่ ข้ึน เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ไดร้ ับการใชง้ านอยา่ งแพร่หลาย จึงเกิดความตอ้ งการท่ีจะเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่าน้นั ถึงกบั เพ่ือเพ่มิ ขีดความสามารถของระบบให้สูงข้ึน เพม่ิ การใชง้ านดา้ นตา่ ง ๆ และลดตน้ ทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใชง้ านอุปกรณ์และขอ้ มลู ต่าง ๆตลอดจนสามารถทางานร่วมกนั ได้ สิ่งสาคญั ที่ทาใหร้ ะบบขอ้ มลู มีขีดความสามารถเพมิ่ ข้ึน คือ การโอนยา้ ยขอ้ มูลระหวา่ งกนั และการเช่ือมต่อหรือการส่ือสาร การโอนยา้ ยขอ้ มลู หมายถึงการนาขอ้ มูลมาแบ่งกนั ใชง้ าน หรือการนาขอ้ มลู ไปใชป้ ระมวลผลในลกั ษณะแบง่ กนั ใชท้ รัพยากร เช่น แบง่ กนั ใชซ้ ีพยี ู แบ่งกนั ใชฮ้ าร์ดดิสก์ แบ่งกนั ใชโ้ ปรแกรม และแบ่งกนั ใชอ้ ุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่มีราคาแพงหรือไมส่ ามารถจดั หาใหท้ ุกคนได้ การเช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์เป็นเครือขา่ ย จึงเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพการใชง้ านใหก้ วา้ งขวางและมากข้ึนจากเดิม (จตุชยั แพงจนั ทร์. 2547 : 6)องค์ประกอบของการสื่อสาร ปี 1960 แบบจาลอง SMCR ของเบอร์โล ( Berlo) ไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั ส่ิงต่าง ๆ คือ 1. ผสู้ ่งสาร (Source) ตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความสามารถเขา้ รหสั (Encode) เน้ือหาข่าวสารไดม้ ีความรู้อยา่ งดีในขอ้ มูลท่ีจะส่งสามารถปรับระดบั ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั ผรู้ ับ 2. ขา่ วสาร (Message) คือเน้ือหา สญั ลกั ษณ์ และวธิ ีการส่ง 3. ช่องทางการส่ือสาร(Channel) ใหผ้ รู้ ับไดด้ ว้ ยประสาทสมั ผสั ท้งั 5 4. ผรู้ ับสาร (Receiver) ผทู้ ่ีมีความมารถในการถอดรหสั ( Decode) สารที่รับมาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แบบจาลอง SMCR ของเบอร์โล จะใหค้ วามสาคญั ในปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่มีผลทาใหก้ ารสื่อสารประสบผลสาเร็จไดแ้ ก่ ทกั ษะในการสื่อสาร ทศั นคติ ระดบั ความรู้ ระบบสังคมและวฒั นธรรม ซ่ึงผรู้ ับละผสู้ ่งตอ้ งมีตรงกนั เสมอ(ศุภรัศม์ิ ฐิติกลุ เจริญ. 2540)

การใช้เทคโนโลยใี นการส่ือสาร เทคโนโลยี เป็นการนาเอาแนวความคิด หลกั การ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวธิ ี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวทิ ยาศาสตร์ท้งั ในดา้ นสิ่งประดิษฐแ์ ละวธิ ีปฏิบตั ิมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นระบบงานเพ่ือช่วยใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในการทางานใหด้ ียงิ่ ข้ึนและเพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานใหม้ ีมากยงิ่ ข้ึน การส่ือสาร หมายถึง การนาสื่อหรือขอ้ ความของฝ่ ายหน่ึงส่งใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึง ประกอบดว้ ยผสู้ ่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร ช่องทางการส่งขอ้ มลู ซ่ึงเป็นส่ือกลางหรือตวั กลางอาจเป็นสายสญั ญาณ และหน่วยรับขอ้ มลูหรือผรู้ ับสาร ดงั น้นั เทคโนโลยใี นการสื่อสาร คือ การเอาแนวคิด หลกั การ เทคนิค ระเบียบวธิ ี กระบวนการ ผา่ นช่องทางการส่งขอ้ มลู ซ่ึงทาใหผ้ รู้ ับ ไดร้ ับและเขา้ ถึงขอ้ มูลไดเ้ ร็วข้ึน เทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการส่ือสารที่พบเห็น เช่น E-mail, Voice Mail, Video Conferencing เป็นตน้ชนิดของสัญญาณข้อมูล ชนิดของสัญญาณแบง่ ไดเ้ ป็ น 2 ชนิดคือ 1.Analog signalเป็นสญั ญาณต่อเน่ือง ลกั ษณะของคล่ืนไซน์ sine wave ตวั อยา่ งการส่งขอ้ มูลท่ีเป็น analog คือการส่งขอ้ มูลผา่ นระบบโทรศพั ท์ Hertz คือหน่วยวดั ความถ่ีของสญั ญาณ โดยนบั ความถี่ที่เกิดข้ึนใน 1 วนิ าที เช่น 1 วนิ าทีมีการเปล่ียนแปลงของระดบั สัญญาณ 60 รอบแสดงวา่ มีความถ่ี 60 Hz 2.Digital สัญญาณไม่ต่อเน่ือง ขอ้ มลู ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นเลขฐาน 2 จะถูกแทนดว้ ยสญั ญาณ digital คือเป็น 0 และ 1 โดยการแทนขอ้ มูลสัญญาณแบบ Unipolar จะแทน 0 ดว้ ยสญั ญาณไฟฟ้ าท่ีเป็ นกลาง และ 1 ดว้ ยสัญญาณไฟฟ้ าท่ีเป็นบวก Bit rate เป็นอตั ราความเร็วในการส่งขอ้ มลู โดยนบั จานวน bit ท่ีส่งไดใ้ นช่วง 1 วนิ าที เช่น ส่งขอ้ มลู ได้ 14,400 bps (bit per seconds)ทศิ ทางการส่งข้อมูล ทิศทางการส่งขอ้ มลู สามารถจาแนกทิศทางการส่งขอ้ มลู ได้ 3 รูปแบบ ดงั น้ี (ศรีไพร ศกั ด์ิพงศากุล และเจษฎาพร ยทุ ธวบิ ลู ยช์ ยั . 2549 : 100-101) 1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดยี ว (Simplex transmission) เป็นการส่ือสารขอ้ มูลท่ีมีผสู้ ่งขอ้ มลู ทาหนา้ ที่ส่งขอ้ มูลแต่เพยี งอยา่ งเดียว และผรู้ ับขอ้ มลู กท็ าหนา้ ท่ีรับขอ้ มูลแต่เพียงอยา่ งเดียวเช่นกนั การส่งขอ้ มลู ในลกั ษณะน้ีเช่นการส่งขอ้ มูลของสถานีโทรทศั น์ 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลบั กนั (Half-duplex transmission) เป็นการส่ือสารขอ้ มูลที่มีการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลท้งั ผรู้ ับและผสู้ ่ง โดยแต่ละฝ่ ายสามารถเป็นท้งั ผรู้ ับและผสู้ ่งขอ้ มูลได้ แต่จะตอ้ งสลบั กนั ทาหนา้ ท่ีจะเป็นผสู้ ่งและผรู้ ับขอ้ มลู พร้อมกนั ท้งั สองฝ่ ายไมไ่ ด้ เช่น การส่ือสารโดยวทิ ยุ 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกนั (Full-duplex transmission) เป็นการสื่อสารขอ้ มลู ท่ีมีการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ของท้งั ผสู้ ่งและผรู้ ับขอ้ มูล โดยท้งั สองฝ่ ายสามารถเป็นท้งั ผสู้ ่งขอ้ มลู และผรู้ ับขอ้ มลู ไดใ้ นเวลาเดียวกนั และสามารถส่งขอ้ มูลไดพ้ ร้อม กนั เช่น การสื่อสารโดยใชส้ ายโทรศพั ท์

ตวั อย่างทศิ ทางการไหลของข้อมูลตัวกลางการสื่อสาร สื่อกลางหรือตวั กลางในการนาส่งขอ้ มลู เป็นสื่อหรือช่องทางท่ีใชใ้ นการนาขอ้ มูลจากตน้ ทางไปยงัปลายทาง สื่อกลางในการเช่ือมตอ่ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ (จตุชยั แพงจนั ทร์. 2547: 10-11)สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ 1. ส่ือกลางประเภทมีสาย 2. สื่อกลางประเภทไร้สาย 1.1สายคู่บดิ เกลยี ว (twisted pair) ประกอบดว้ ยเส้นลวดทองแดงท่ีหุม้ ดว้ ยฉนวนพลาสติก2 เส้นพนั บิดเป็ นเกลียว เพอ่ื ลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคูส่ ายขา้ งเคียงภายในเคเบิลเดียวกนั หรือจากภายนอก เน่ืองจากสายคูบ่ ิดเกลียวน้ียอมใหส้ ัญญาณไฟฟ้ าความถ่ีสูงผา่ นได้ สาหรับอตั ราการส่งขอ้ มลู ผา่ นสายคูบ่ ิดเกลียวจะข้ึนอยกู่ บั ความหนาของสาย คือ สายทองแดงท่ีมีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางกวา้ ง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ ากาลงั แรงได้ ทาใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ดว้ ยอตั ราส่งสูง โดยทวั่ ไปแลว้ สาหรับการส่งขอ้ มูลแบบดิจิทลั สัญญาณท่ีส่งเป็นลกั ษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคูบ่ ิดเกลียวสามารถใชส้ ่งขอ้ มูลไดถ้ ึงร้อยเมกะบิตต่อวนิ าที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เน่ืองจากสายคูบ่ ิดเกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใชส้ ่งขอ้ มูลไดด้ ี จึงมีการใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวาง ตวั อยา่ งเช่น (ก) สายคู่บิดเกลยี วชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคูบ่ ิดเกลียวที่หุม้ ดว้ ยลวดถกั ช้นั นอกที่หนาอีกช้นั เพ่ือป้ องกนั การรบกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ า (ข) สายคู่บดิ เกลยี วชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคูบ่ ิดเกลียวมีฉนวนช้นั นอกที่บางอีกช้นั ทาใหส้ ะดวกในการโคง้ งอแตส่ ามารถป้ องกนั การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไดน้ อ้ ยกวา่ ชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ากวา่ จึงนิยมใชใ้ นการเช่ือมต่ออุปกรณ์ในเครือขา่ ย ตวั อยา่ งของสายสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุม้ ฉนวนที่เห็นในชีวติ ประจาวนั คือ สายโทรศพั ทท์ ี่ใชอ้ ยใู่ นบา้ น 1.2 สายโคแอกเชียล (coaxial) เป็นตวั กลางเช่ือมโยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกบั สายที่ต่อจากเสาอากาศ สายโคแอกเชียลที่ใชท้ วั่ ไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซ่ึงใชส้ ่งขอ้ มลู แบบดิจิทลั และชนิด 75 โอห์มซ่ึงใชส้ ่งขอ้ มูลสัญญาณแอนะล็อก สายประกอบดว้ ยลวดทองแดงท่ีเป็นแกนหลกั หน่ึงเส้นที่หุม้ ดว้ ยฉนวนช้นั หน่ึงเพื่อป้ องกนั กระแสไฟร่ัว จากน้นั จะหุม้ ดว้ ยตวั นาซ่ึงทาจากลวดทองแดงถกั เป็ นเปี ยเพื่อป้ องกนั การรบกวนของคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้ าและสญั ญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุม้ ช้นั นอกสุดดว้ ยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถกั เป็ นเปี ยน้ีเองเป็นส่วนหน่ึงท่ีทาใหส้ ายแบบน้ีมีช่วงความถี่สัญญาณไฟฟ้ าสามารถผา่ นไดส้ ูงมาก และนิยมใชเ้ ป็นช่องส่ือสารสญั ญาณแอนะล็อกเช่ืองโยงผา่ นใตท้ ะเลและใตด้ ิน

1.3 เส้นใยนาแสง (fiber optic) มีแกนกลางของสายซ่ึงประกอบดว้ ยเส้นใยแกว้ หรือพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ เสน้ อยรู่ วมกนั เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็ดเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่าน้นั ไดร้ ับการห่อหุม้ ดว้ ยเส้นใยอีกชนิดหน่ึงก่อนจะหุ้มช้นั นอกสุดดว้ ยฉนวน การส่งขอ้ มลู ผา่ นทางส่ือกลางชนิดน้ีจะแตกตา่ งจากชนิดอ่ืนๆ ซ่ึงใชส้ ัญญาณไฟฟ้ าในการส่ง แต่การทางานของสื่อกลางชนิดน้ีจะใชเ้ ลเซอร์วงิ่ผา่ นช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้นและอาศยั หลกั การหกั เหของแสงโดยใชใ้ ยแกว้ ช้นั นอกเป็นกระจกสะทอ้ นแสงการใหแ้ สงเคลื่อนที่ไปในท่อแกว้ สามารถส่งขอ้ มลู ดว้ ยอตั ราความหนาแน่นของสญั ญาณขอ้ มูลสูงมากและไม่มีการก่อกวนของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้ า ปัจจุบนั ถา้ ใชเ้ ส้นใยนาแสงกบั ระบบอีเทอร์เน็ตจะใชไ้ ดด้ ว้ ยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต และเนื่องจากความสามรถในการส่งขอ้ มูลดว้ ยอตั ราความหนาแน่นสูง ทาใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ท้งั ตวั อกั ษร เสียงภาพกราฟิ ก หรือวดี ิทศั น์ไดใ้ นเวลาเดียวกนั อีกท้งั ยงั มีความปลอดภยั ในการส่งสูง แต่อยา่ งไรก็มีขอ้ เสียเนื่องจากการบิดงอสายสญั ญาณจะทาใหเ้ ส้นใยหกั จึงไม่สามารถใชส้ ่ือกลางน้ีในการเดินทางตามมุมตึกได้ เส้นใยนาแสงมีลกั ษณะพิเศษท่ีใชส้ าหรับเช่ือมโยงแบบจุดไปจุด จึงเหมาะที่จะใชก้ บั การเชื่อมโยงระหวา่ งอาคารกบั อาคารหรือระหวา่ งเมืองกบั เมือง เส้นใยนาแสงจึงถูกนาไปใชเ้ ป็นสายแกนหลกั 2.1 สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการส่ือสารที่มีความเร็วสูง ส่งขอ้ มูลโดยอาศยั สญั ญาณไมโครเวฟซ่ึงเป็ นสัญญาณคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกบั ขอ้ มูลท่ีตอ้ งการส่งและจะตอ้ งมีสถานีที่ทาหนา้ ท่ีส่งและรับขอ้ มลู และเน่ืองจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเล้ียวหรือโคง้ ตามขอบโลกที่มีความโคง้ ได้ จึงตอ้ งมีการต้งั สถานีรับ-ส่งขอ้ มลู เป็นระยะๆ และส่งขอ้ มูลต่อกนั เป็นทอดๆ ระหวา่ งสถานีต่อสถานีจนกวา่ จะถึงสถานีปลายทาง และแตล่ ะสถานีจะต้งั อยใู่ นที่สูงเช่นดาดฟ้ าตึกสูงหรือยอดดอยเพ่อื หลีกเลี่ยงการชนหากมีสิ่งกีดขวางเน่ืองจากแนวการเดินทางท่ีเป็ นเส้นตรงของสญั ญาณดงั ที่กล่าวมาแลว้ การส่งขอ้ มลู ดว้ ยส่ือกลางชนิดน้ีเหมาะกบั การส่งขอ้ มลู ในพ้ืนท่ีห่างไกลมากๆ และทุรกนั ดาร 2.2 ดาวเทยี ม (satilite) ไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมาเพือ่ หลีกเล่ียงขอ้ จากดั ของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผวิ โลก วตั ถุประสงคใ์ นการสร้างดาวเทียมเพอื่ เป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะตอ้ งมีสถานีภาคพ้ืนดินคอยทาหนา้ ที่รับและส่งสัญญาณข้ึนไปบนดาวเทียมท่ีโคจรอยสู่ ูงจากพ้นื โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่าน้นั จะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วท่ีเทา่ กบั การหมุนของโลก จึงเสมือนกบั ดาวเทียมน้นั อยนู่ ิ่งอยกู่ บั ท่ีขณะท่ีโลกหมุนรอบตวั เอง ทาใหก้ ารส่งสญั ญาณไมโครเวฟจากสถานีหน่ึงข้ึนไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลงมายงั สถานีตามจุดตา่ งๆ บนผวิ โลกเป็นไปอยา่ งแมน่ ยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยไู่ ดโ้ ดยอาศยั พลงั งานที่ไดม้ าจากการเปลี่ยนพลงั งานแสงอาทิตยดว้ ยแผงโซลาร์ (solar panel)มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Protocols) ดว้ ยความเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วของเทคโนโลยเี ครือข่ายไร้สายไดส้ ่งผลใหอ้ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่นพดี ีเอ โทรศพั ทม์ ือถือ ตลอดจนโรงงานอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีความตอ้ งการมาตรฐานเพ่อื การสื่อสารไร้สายในทีน้ีกล่าวถึงการสื่อสารไร้สายดงั น้ี (ศรีไพร ศกั ด์ิรุ่งพงศากลุ และ เจษฎาพร ยทุ ธนวบิ ูลยช์ ยั . 2549 : 106-108)

บลทู ธู (Bluetooth) บลูทธเป็นชื่อท่ีเรียกสาหรับมาตรฐานเรือข่ายแบบ 802.15 บลูทธู เป้ นเทคโนโลยไี ร้สายท่ีใชก้ ารส่งขอ้ มลู ทางคลื่นวทิ ยุ (Universal Radio Interface) เริ่มใชใ้ นปี ค.ศ. 1998 สาหรับการเชื่อมโยงสื่อสารไร้สายในแถบความถ่ี 2.45 GHz ซ่ึงเป็นอุปการณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่ถือเคล่ือนยา้ ยได้ สามารถติดต่อเชื่อมโยงส่ือสารแบบไร้สายระหวา่ งกนั ในช่วงระยะห่างส้นั ๆ ได้ ไว-ไฟ (Wi-Fi) ไว-ไฟ ยอ่ มาจากคาวา่ Wireless Fidelity คือมาตรฐานที่รับรองวา่ อุปกาณ์ไวร์เลว (WirelessLAN) สามารถทางานร่วมกนั ได้ และสนบั สนุนมาตรฐาน IEEE802.11b ไว-ไฟ เป็นเทคโนโลยอี ินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงที่นิยมใชท้ ี่สุดในโลก ใชส้ ัญญาณวทิ ยใุ นการรับส่งขอ้ มลู ความเร็วสูงผา่ นเครือข่ายไร้สายจากบริเวณท่ีมีการติดต้งั Access Point ไปยงั อุปกรณ์ที่ใชเ้ ชื่อมต่อ เช่นโทรศพั ทม์ ือถือ พดี ีเอ และโนตบุคเป็ นตน้ ไว- แมกซ์ (Wi-MAX) เป็นช่ือเรียกเทคโนโลยไี ร้สายรุ่นใหมล่ ่าสุดที่คาดหมายกนั วา่ จะถูกนามาใชง้ านท่ีประเทศไทยอยา่ งเป็นทางการ ในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี (ตอนน้ีมีแอบทดสอบ WiMAX กนั หลายท่ีในตา่ งจงั หวดั แลว้เช่น ท่ีเชียงใหม่) ซ่ึงเป็นเทคโนโลยบี รอดแบนดไ์ ร้สายความเร็วสูงรุ่นใหมต่ วั น้ี ไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมาบนมาตรฐานที่เรียกเป็นทางการวา่ IEEE 802.16 ซ่ึงตอ่ มาก็ไดพ้ ฒั นามาตรฐาน IEEE 802.16a (เหมือนกบั มาตรฐานสากลตวั แรก แต่มี a ตอ่ ทา้ ย) ข้ึน โดยไดอ้ นุมตั ิโดย IEEE มาเม่ือเดือนมกราคม 2004 ซ่ึง IEEE ท่ีวา่ ก็คือสถาบนั วศิ วกรรมไฟฟ้ าและอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือช่ือเตม็ ๆก็คือ Institute of Electrical and Electronics Engineers โดยเจา้ ระบบ WiMAX น้ีมีซ่ึงมีรัศมีทาการไกลสูงสุดที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 48 กิโลเมตร (คนล่ะโลกกบั WiFi ที่เรารู้จกั กนั เลยทีเดียว) ซ่ึงนนั่ หมายความวา่ WiMAX สามารถใหบ้ ริการครอบคลุมพ้นื ที่กวา้ งกวา่ ระบบโครงขา่ ยโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ระบบ 3G (ซ่ึงก็เป็นระบบมือถือในอนาคตของประเทศไทยเราอีกน้นั แหละ เพยี งแตต่ อนน้ีเราใช้2.5G กนั อย)ู่ มากถึง 10 เทา่ ยงิ่ กวา่ น้นั กย็ งั มีอตั ราความเร็วในการส่งผา่ นขอ้ มลู สูงสุดถึง 75 เมกะบิตตอ่ วนิ าที(Mbps) ซ่ึงเร็วกวา่ 3G ถึง 30 เท่าทีเดียว และแน่นอนวา่ เร็วกวา่ ระบบ WiFi ดว้ ยเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ คือ ระบบการส่ือสารระหวา่ งคอมพิวเตอร์จานวนต้งั แตส่ องเครื่องข้ึนไปการท่ีระบบเครือขา่ ยมีบทบาทสาคญั มากข้ึนในปัจจุบนั เพราะมีการใชง้ านคอมพิวเตอร์อยา่ งแพร่หลาย จึงเกิดความตอ้ งการท่ีจะเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่าน้นั ถึงกนั เพื่อเพ่มิ ความสามารถของระบบใหส้ ูงข้ึน และลดตน้ ทุนของระบบโดยรวมลง การโอนยา้ ยขอ้ มูลระหวา่ งกนั ในเครือข่าย ทาใหร้ ะบบมีขีดความสามารถเพ่มิ มากข้ึน การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจดั เกบ็ ขอ้ มูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีมีราคาแพงและไม่สามารถจดั หามาใหท้ ุกคนได้ เช่น เคร่ืองพมิ พ์ เคร่ืองกราดภาพ (scanner) ทาใหล้ ดตน้ ทุนของระบบลงได้ องค์ประกอบพนื้ ฐานของเครือข่าย การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกนั เป็นเครือข่ายได้ ตอ้ งมีองคป์ ระกอบพ้ืนฐานดงั ต่อไปน้ี - คอมพิวเตอร์ อยา่ งนอ้ ย 2 เครื่อง

- เน็ตเวิร์คการ์ด หรือ NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ดท่ีเสียบเขา้ กบั ช่องเมนบอร์ดของคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงเป็นจุดเชื่อมตอ่ ระหวา่ งคอมพิวเตอร์และเครือข่าย - ส่ือกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งขอ้ มลู เช่น สายสัญญาณ สายสัญญาณท่ีเป็นที่นิยมในเครือขา่ ยเช่น สายโคแอก็ เชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแกว้ นาแสง เป็นตน้ ส่วนอุปกรณ์เครือขา่ ย เช่น ฮบั สวติ ซ์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นตน้ - โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาท่ีคอมพิวเตอร์ใชส้ ื่อสารกนั ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ีสามารถส่ือสารกนั ไดน้ ้นั จาเป็นที่ตอ้ งใช้ “ภาษา” หรือโปรโตคอลเดียวกนั เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นตน้ - ระบบปฏิบตั ิการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายจะเป็ นตวัที่คอยจดั การเกี่ยวกบั การใชง้ านเครือขา่ ยของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคน หรือเป็นตวั จดั การและควบคุมการใชท้ รัพยากรตา่ งๆของเครือขา่ ย ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายที่เป็ นที่นิยม เช่น Windows Server 2003, Novell NetWare, Sun Solaris และRed Hat Linux เป็นตน้โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Topology) การนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อกนั เพ่ือประโยชน์ของการส่ือสารน้นั สามารถกระทาไดห้ ลายรูปแบบซ่ึงแตล่ ะแบบก็มีจุดเด่นต่างกนั ไป โดยทว่ั ไปแลว้ โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลกั ษณะการเชื่อมตอ่ ไดด้ งั น้ี 1. เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ดว้ ยสายเคเบิ้ลยาวตอ่ เน่ืองไปเร่ือย ๆโดยมีตวั เช่ือมตอ่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เขา้ กบั สายเคเบิ้ลในการส่งขอ้ มูลจะมีคอมพวิ เตอร์เพียงตวั เดียวเทา่ น้นั ท่ีสามารถส่งขอ้ มลู ไดใ้ นช่วงเวลาหน่ึง ๆ การจดั ส่งขอ้ มูลวธิ ีน้ีมีวธิ ีการที่จะไมใ่ หท้ ุกสถานี ส่งขอ้ มลูพร้อมกนั เพราะจะทาใหข้ อ้ มลู ชนกนั การติดต้งั เครือข่ายแบบน้ีทาไดไ้ ม่ยาก เพราะคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิดถูกเชื่อมตอ่ ดว้ ยสายเคเบิ้ลเพยี งเส้นเดียว โดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบสั มกั จะใชใ้ นเครือข่ายขนาดเล็ก ซ่ึงอยใู่ นองคก์ รท่ีมีเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ใชไ้ มม่ ากนกั ข้อดี ประหยดั สายสญั ญาณ เคร่ืองหน่ึงเสียก็ไมก่ ระทบกบั เครือข่าย ข้อเสีย อาจเกิดการชนกนั ของ ขอ้ มูลได้ ตอ้ งมีการส่งใหม่ ถา้ สายหลกั เสีย เครือขา่ ยล่ม 2. เครือข่ายแบบดาว (Star Network) เป็นเครือขา่ ยท่ีเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ เขา้ กบั อุปกรณ์ที่เป็นจุดศูนยก์ ลางของเครือขา่ ย โดยการนาสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกนั กบั หน่วยสลบั สายกลาง การติดต่อส่ือสารระหวา่ งสถานีจะกระทาไดด้ ว้ ยการติดต่อผา่ นทางวงจรของ หน่วยสลบั สายกลางการทางานของหน่วยสลบั สายกลางจึงเป็ นศูนยก์ ลาง ของการติดต่อวงจรเช่ือมโยงระหวา่ งสถานีตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการติดต่อกนัข้อดี ติดต้งั และดูแลง่าย ถา้ เครื่องลูกขา่ ยเสียกต็ รวจสอบไดง้ ่าย เครื่องอ่ืนยงั ติดต่อกนั ได้ข้อเสีย ถา้ ฮบั เสีย เครือข่ายล่ม ใชส้ ญั ญาณมากกวา่ แบบอื่น

3. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือขา่ ยที่เช่ือมต่อเคร่ือง คอมพิวเตอร์ดว้ ยสายเคเบิล้ เพียงเส้นเดียวในลกั ษณะวงแหวนการรับส่งขอ้ มลู ในเครือข่ายวงแหวนจะใชท้ ิศทางเดียวเท่าน้นั เมื่อคอมพวิ เตอร์เครื่องหน่ึงส่งขอ้ มูล จะส่งไปยงั คอมพวิ เตอร์เคร่ืองถดั ไปถา้ ขอ้ มลู ท่ีรับมาไม่ตรงตามท่ีเครื่องคอมพวิ เตอร์ ตน้ ทางระบุ จะส่งผา่ นไปยงัเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องถดั ไปซ่ึงจะเป็นข้นั ตอนอยา่ งน้ีไป เร่ือย ๆ จนกวา่ จะถึงเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีอยู่ปลายทางท่ีถูกระบุตามที่อยจู่ ากเคร่ืองตน้ ทาง ข้อดี ส่งขอ้ มูลไปยงั ผรู้ ับหลายเคร่ือง ๆ พร้อมกนั ได้ ไม่เกิดการชนกนั ของขอ้ มูล ข้อเสีย ถา้ เครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่มการติดต้งั ทาไดย้ าก และใชส้ ายสญั ญาณมากกวา่ แบบบสั 4. เครือข่ายแบบตาข่าย (Mesh Network) โครงสร้างแบบเมชมีการทางานโดยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แต่ละเคร่ืองจะตอ้ งมีช่อง ส่งสัญญาณจานวนมากเพอ่ื ท่ีจะเชื่อมต่อกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นๆ ทุกเคร่ือง โครงสร้างน้ีเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองจะส่งขอ้ มูลไดอ้ ิสระไม่ตอ้ งรอ การส่งขอ้ มลู ระหวา่ งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เครื่องอ่ืนๆ ทาใหก้ ารส่งขอ้ มลู มีความรวดเร็ว แต่คา่ ใชจ้ า่ ยสายเคเบิ้ลกส็ ูงดว้ ยเช่นกนั ข้อดี – การสื่อสารขอ้ มลู เร็ว เพราะคอมพวิ เตอร์แต่ละคู่สามารถส่ือสารกนั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งรอ เส้นทางการเชื่อมต่อใดๆ ขาด ไมม่ ีผลต่อการส่ือสารของเคร่ืองอ่ืนๆ ข้อเสีย – สิ้นเปลืองคา่ ใชจ้ า่ ย จากจานวนสายสญั ญาณและช่องต่อสาย ตามจานวนเครื่องในระบบ 5. เครือข่ายแบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครือขา่ ยที่ผสมผสานโครงสร้าง เครือข่ายแบบตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั เป็ นเครือข่ายขนาดใหญ่เพียงเครือข่ายเดียว เช่น การเชื่อม ต่อเครือข่ายแบบวงแหวน แบบดาว และแบบบสั เขา้ เป็นเครือข่ายเดียวการประยกุ ต์ใช้ การเช่ือมตอ่ คอมพิวเตอร์เครือข่ายขนาดเล็ก ท่ีมีจานวนเครื่องจากดั หรืออยใู่ นบริเวณไมก่ วา้ ง มกั เลือกใช้โทโพโลยอี ยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ข้ึนกบั วตั ถุประสงค์ อุปกรณ์ท่ีมี และสภาพพ้นื ท่ี เช่น การต่อภายในหอ้ ง อาจจะใช้แบบดาว การต่อระหวา่ งหลายๆ อาคาร อาจเป็นแบบบสั แตเ่ มื่อมีการขยายขนาดเครือข่ายใหใ้ หญ่ข้ึน อาจจะเป็ นการต่อหลายๆ เครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั ลกั ษณะของโทโพโลยโี ดยรวม คือการเชื่อมต่อหลายๆ โทโพโลยเี ขา้ ดว้ ยกนั

ประเภทเครื่องคอมพวิ เตอร์ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 1.เซิร์ฟเวอร์ เป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่ทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการตา่ ง ๆ โดยเครือขา่ ยตา่ ง ๆ สามารถมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์กี่เครื่องก็ไดต้ ามตอ้ งการชนิดของเครื่องคอมพวิ เตอร์เซิร์ฟเวอร์ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็นเซิร์ฟเวอร์ท่ีทาหนา้ ท่ีในการจดั เกบ็ ไฟล์ จะเสมือนฮาร์ดดิสกร์ วมศูนย์ (Centerized disk storage)เสมือนวา่ ผใู้ ชง้ านทุกคนมีท่ีเก็บขอ้ มูลอยทู่ ่ีเดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสารองขอ้ มลู โดยการ Restore ง่ายพรินต์เซิร์ฟเวอร์ Print Server หน่ึงเหตุผลที่จะตอ้ งมี Print Server กค็ ือ เพื่อแบ่งใหพ้ รินเตอร์ราคาแพงบางรุ่นที่ออกแบบมาใชส้ าหรับการทางานมาก ๆ เช่น HP Laser 5000 พมิ พไ์ ดถ้ ึง 10 – 24 แผน่ ต่อนาที พรินเตอร์สาหรับประเภทน้ี ความสามารถในการทางานที่จะสูงแอพพลเิ คชันเซิร์ฟเวอร์ (Application Server) Application Server คือ เซิร์ฟเวอร์ท่ีรันโปรแกรมประยกุ ตไ์ ด้ โดยการทางานสอดคลอ้ งกบั ไคลเอน็ ต์ เช่นMail Server ( รัน MS Exchange Server ) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรือ Web Server (รัน Web ServerProgram เช่น Xitami , Apache’อนิ เตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) ปัจจุบนั อินเตอร์เน็ตน้นั มีผลกระทบกบั เครือขา่ ยในปัจจุบนั เป็นอยา่ งมาก อินเตอร์เน็ตเป็นเครือขา่ ยที่มีขนาดใหญ่มากและมีผใู้ ชง้ านมากที่สุดในโลก เทคโนโลยที ี่ทาใหอ้ ินเตอร์เน็ตเป็นท่ีนิยมก็คือ เวบ็ และอีเมล เพราะท้งั สองแอพพลิเคชนั ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถแลกเปล่ียนขอ้ มูลและสื่อสารกนั ไดง้ ่ายและมีรวดเร็ว เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ท่ีใหบ้ ริการขอ้ มูลในรูปแบบ HTML (Hyper text MarkupLanguage) เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ใหบ้ ริการรับ – ส่ง จดั เกบ็ และจดั การเกี่ยวกบั อีเมลของผใู้ ช้2. เวริ ์กสเตชั่น (Workstation) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทวั่ ๆ ไปที่สามารถทาการประมวลผลขอ้ มูลต่าง ๆ ได้3. ไคลเอนต์ (Client) เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีมีการเรียกใชข้ อ้ มูลจากเซิร์ฟเวอร์4. เทอร์มินัล (Terminal) เป็นอุปกรณ์ท่ีประกอบไปดว้ ยจอภาพ แป้ นพมิ พ์ และอ่ืน ๆ เทอร์มินลั ไม่สารถประมวลผลขอ้ มูลไดด้ ว้ ยตวั เองแตใ่ ชก้ ารสื่อสารขอ้ มลู กบั เซิร์ฟเวอร์เพอ่ื ให้เซิร์ฟเวอร์ประมวลผลพร้อมท้งั แสดงผลที่จอเทอร์มินอล

รูปแบบการประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computing Architecture) การประมวลผลข้อมูลทส่ี ่วนกลาง (Centrallized Processing) เป็นการประมวลผลขอ้ มูลที่เซิร์ฟเวอร์ เคร่ืองลูกข่ายคอมพิวเตอร์จะเป็นเทอร์มินลั ไม่สามารถประมวลผลไดเ้ อง การประมวลผลแบบน้ี เซิร์ฟเวอร์จะตอ้ งเป็นเครื่องท่ีประมวลผลได้ เซิร์ฟเวอร์ตอ้ งเป็นเครื่องท่ีมีความเร็วสูง สามารถประมวลผลขอ้ มูลไดเ้ ป็นจานวนมาก การประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์ เป็นรูปแบบหน่ึงของเครือขา่ ยแบบ server-based โดยจะมีคอมพวิ เตอร์หลกั เคร่ืองหน่ึงเป็นเซิร์ฟเวอร์ ซ่ึงจะไมไ่ ดท้ าหนา้ ท่ีประมวลผลท้งั หมดใหเ้ ครื่องลูกข่าย หรือไคลเอนต์ (client) เซิร์ฟเวอร์ทาหนา้ ที่เสมือนเป็ นท่ีเก็บขอ้ มลู ระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอยา่ งใหก้ บั ไคลเอนตเ์ ท่าน้นั เช่น ประมวลผลคาสง่ั ในการดึงขอ้ มูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานขอ้ มลู (database server) เป็นตน้ชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ สามารถจาแนกตามระยะทางของการเช่ือมต่อระหวา่ งการส่ือสารไดเ้ ป็น 4ประเภทดงั น้ี 1. แพน (PAN) หรือเครือขา่ ยส่วนบุคคล เป็นเครือขา่ ยสาหรับการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและบริการ ตลอดจนการใช้งานอุปกรณ์ร่วมกนั 2. ระบบแวน (wide area networks : WAN) ระบบเครือข่ายบริเวณกวา้ งที่เชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์ท่ีอยหู่ ่างไกลกนั ขา้ มจงั หวดั หรือประเทศ ดงั น้นั จึงตอ้ งใชร้ ะบบส่ือสารโทรคมนาคมท่ีมีประสิทธิภาพสูงในระดบั ประเทศเช่น ขององคก์ าร โทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย สาหรับตวั กลางอาจเป็นคู่สายโทรศพั ทธ์ รรมดา สายเช่าวงจรไมโครเวฟ เส้นใยแกว้ นาแสง สายเคเบิล แบบโคแอกเชียล หรือใชร้ ะบบ ดาวเทียมกไ็ ด้ โดยพ้นื ฐานแลว้ ระบบเครือข่ายบริเวณกวา้ งเป็ นระบบเครือข่ายส่ือสาร ที่สามารถใชส้ ่ง สัญญาณ เสียง ภาพ และขอ้ มลู ขา้ มอาณาบริเวณไกล ๆ ได้ 2. ระบบแมน (9etropolitan area network : MAN) ระบบเครือข่ายบริเวณมหานครเป็นระบบ ที่เช่ือม โยงคอมพวิ เตอร์ซ่ึง อาจต้งั อยหู่ ่างไกลกนั ในช่วง 5 ถึง 50 กิโลเมตร ปกติมกั ใชส้ าหรับส่ือสารขอ้ มลู เสียง และภาพ ผา่ นสาย โคแอกเชียลหรือเส้นใยแกว้ นาแสง ผใู้ ชร้ ะบบแมนมกั เป็นบริษทั ขนาดใหญท่ ี่ จาเป็น จะตอ้ งติดต่อสื่อสารขอ้ มลู ผา่ น ระบบ คอมพวิ เตอร์ดว้ ยความเร็วสูงมาก โดยท่ีการสื่อสารน้นั จากดั ภายในบริเวณเมือง หรือมหานคร 4. ระบบแลน (local area networks : LAN) เป็นระบบเครือขา่ ยเฉพาะบริเวณที่เชื่อมโยง คอมพวิ เตอร์ ที่ติดต้งั ภายในตวั อาคารหลงั เดียว หรือที่อยใู่ นละแวกเดียวกนั การเช่ือมโยงมกั ใชต้ วั กลางส่ือสารของตวั เอง เป็นระบบที่เจา้ ของ ควบคุมการปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์แบบดว้ ย

ในระบบเครือขา่ ยท้งั สามระบบน้ีระบบ LAN ไดร้ ับความนิยมใชก้ นั มากท่ีสุดท้งั ในภาครัฐและเอกชนเพราะเทคโนโลยรี ะบบ LAN มีราคาไม่สูงมากอีกท้งั คอมพิวเตอร์ท่ีตอ่ กบั ระบบเครือข่ายน้ีกเ็ ป็นไมโครคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงมีราคาถูก ละหน่วยงานต่าง ๆ มีใชอ้ ยแู่ ลว้ หลายเคร่ือง การลงทุนซ้ืออุปกรณ์สาหรับเครือข่าย LAN มาติดต้งั จึงกระทาไดง้ ่ายท่ีสาคญั คือระบบ LAN หลายระบบสามารถเช่ือมต่อกบั คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ท้งั มินิคอมพวิ เตอร์และระดบั เมนเฟรมได้ แต่แทท้ ี่จริงแลว้ ระบบ LAN ก็คือ เครือข่ายขนาดเลก็ ใชเ้ ช่ือมโยงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ภายในบริเวณสานกั งานท่ีอยอู่ าคารเดียวกนั หรือบริเวณเดียวกนั เท่าน้นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook