Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore THAILAND QUALITY AWARD

THAILAND QUALITY AWARD

Published by Narawit Charoenphan, 2022-01-20 08:30:58

Description: THAILAND QUALITY AWARD

Search

Read the Text Version

THAILAND QUALITY AWARD (TQA)

ความเป็นมา รางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award – TQA) เริม่ ต้นต้งั แตม่ ี การลงนามในบันทกึ ความเข้าใจระหวา่ งสถาบนั เพิ่มผลผลิตแห่งชาตแิ ละสานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ เม่ือวันท่ี 5 กันยายน 2539 เพือ่ ศกึ ษาแนวทางการจัดต้งั รางวัลคุณภาพแหง่ ชาตขิ ้ึนในประเทศไทย และ ด้วยตระหนกั ถึงความสาคญั ของรางวัลนี้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติจงึ ได้บรรจุรางวลั คุณภาพแหง่ ชาติไวใ้ นแผนยทุ ธศาสตร์ การเพมิ่ ผลผลิตของประเทศ ซ่งึ เปน็ สว่ นหนึง่ ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 9



กระบวนการตรวจประเมนิ และตดั สนิ รางวัล การตรวจประเมินประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอน คอื การตรวจประเมินขน้ั ท่ี 1 Independent Review คณะผตู้ รวจประเมนิ แต่ละทา่ น จะตรวจประเมนิ รายงานวธิ ีการและผลการดาเนินงาน ขององค์กรทง้ั ฉบบั โดยละเอียด ตามวธิ ีการตรวจประเมนิ ท่ีเปน็ มาตรฐาน ซง่ึ จะใชเ้ วลาประมาณ 4–6 สัปดาห์ การตรวจประเมินขน้ั ที่ 2 Consensus Review เมื่อผตู้ รวจประเมนิ ทกุ ทา่ นส่งผลการตรวจ ประเมินขนั้ ท่ี 1 แล้ว และเขา้ สู่การตรวจประเมินข้นั ท่ี 2 ซง่ึ เปน็ การพจิ ารณาผลจากการ ประเมินขน้ั ที่ 1 ร่วมกัน ซึ่งจะใชเ้ วลาประมาณ 2– 4 สปั ดาห์ เพ่ือจดั ทาเอกสารปอ้ นกลบั ในจดุ แข็ง และสงิ่ ท่ีต้องปรับปรงุ ในทกุ หวั ขอ้ ตามเกณฑร์ างวลั คุณภาพแหง่ ชาติ หากองค์กรไดร้ บั คะแนนมากกวา่ 350 คะแนน องค์กรจะได้รบั การตรวจประเมินขั้นท่ี 3 ตอ่ ไป

กระบวนการตรวจประเมนิ และตดั สนิ รางวลั การตรวจประเมนิ ขนั้ ที่ 3 Site Visit Review เปน็ การตรวจเยย่ี มสถานประกอบการ เพ่อื รวบรวมหลกั ฐาน สัมภาษณ์ ยืนยนั ผลการปฏบิ ัติงานตามรายงานวิธีการและผล การดาเนินงานขององคก์ ร ซงึ่ องคก์ รที่ไดร้ ับการ Site Visit จะเปน็ องคก์ รทมี่ ีคะแนน ผ่านตามเกณฑ์ทก่ี าหนด คือ 350 คะแนนขึน้ ไป

ลักษณะท่ีสาคัญของเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติ เกณฑ์มเี จตจานงทเ่ี รยี บง่าย เจตจานงของเกณฑ์รางวัลคณุ ภาพแห่งชาติ คอื การชว่ ยองค์กร ไม่ว่าขนาดใด หรอื อย่ใู นธุรกิจใด ตอบคาถามท่ีท้าทาย 3 ขอ้ ดงั น้ี 1.องคก์ รดาเนนิ การได้ดีอยา่ งท่ีควรเปน็ หรือไม่ 2.องค์กรรู้ได้อย่างไร 3.องค์กรควรปรับปรงุ หรอื เปล่ยี นแปลงอะไร ด้วยวธิ ีการอย่างไร

ลกั ษณะที่สาคญั ของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เกณฑค์ รอบคลมุ 7 ดา้ นที่สาคัญในการจดั การและการดาเนินการขององคก์ ร (แบ่งยอ่ ยออกเป็นกระบวนการ 6 หมวดท่ีมีความสัมพันธเ์ กยี่ วเนื่องกนั และผลลพั ธ์ 1 หมวด) ไดแ้ ก่

ลักษณะทส่ี าคัญของเกณฑร์ างวลั คุณภาพแห่งชาติ 1.การนาองค์กร (Leadership) 2.กลยุทธ์ (Strategy) 3.ลกู คา้ (Customers) 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis, and Knowledge Management) 5.บุคลากร (Workforce) 6.การปฏบิ ัตกิ าร (Operations) 7.ผลลพั ธ์ (Results)

การบริหารจดั การระบบคณุ ภาพ TQA ส่กู ารประกันคณุ ภาพการศึกษา TQA เป็นบรรทดั ฐานสาหรับการประเมินตนเองขององคก์ ร ถือเปน็ แนวทางในการ ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ชว่ ยในการปรบั ปรงุ วธิ กี ารดาเนนิ การขดี ความสามารถและผลลพั ธข์ อง องค์กรกระตุน้ ให้มีการสอื่ สารและแบ่งปันสารสนเทศวิธปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศระหว่าง องคก์ รตา่ งๆทกุ ประเภทและเปน็ เครือ่ งมอื ทส่ี ามารถนามาใชใ้ นการทาความเขา้ ใจ และจัดการผลการดาเนนิ การขององคก์ รรวมทั้งใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนและ เพม่ิ โอกาสในการเรียนรู้โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในด้านการศึกษาของไทยทจ่ี าเป็นต้อง พฒั นาปรบั ปรุงและจะตอ้ งคิดใหล้ ะเอียดรอบคอบว่าเราจะบริหารการศึกษาอย่างไร ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งท่เี รยี นให้มากท่สี ุด

การนา TQA เกณฑ์รางวัลคณุ ภาพแห่งชาตมิ าพฒั นาใชก้ บั การประกัน คุณภาพการศึกษาน้ันเปน็ อยา่ งไรและมผี ลต่อคณุ ภาพการศกึ ษาท้งั องค์กร อย่างไร การประกนั คุณภาพการศกึ ษามีความสาคญั ๓ ประการคือ ๑. ทาใหป้ ระชาชนไดร้ ับขอ้ มูลคณุ ภาพการศกึ ษาทีเ่ ช่อื ถือได้เกิดความเชอื่ มน่ั และ สามารถตดั สนิ ใจเลือกใช้บริการทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน ๒. ปอ้ งกนั การจัดการศกึ ษาทีไ่ มม่ คี ณุ ภาพซ่ึงจะเปน็ การคมุ้ ครองผบู้ ริโภคและเกดิ ความเสมอภาคในโอกาสที่จะไดร้ บั การบริการการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ ๓. ทาใหผ้ รู้ ับผดิ ชอบในการจัดการศึกษาม่งุ บริหารจดั การสคู่ ุณภาพและมาตรฐาน อยา่ งแทจ้ รงิ

การประกันคณุ ภาพการศึกษาเกย่ี วขอ้ งกับการดาเนินการท่สี าคญั ม๓ี ขน้ั ตอน ดงั น้ี 1.การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นการกาหนดมาตรฐานคณุ ภาพ การศึกษาเพ่ือให้สถานศกึ ษาตลอดจนหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งใช้เปน็ เป้าหมายและเปน็ เครือ่ งมือในการพฒั นาซง่ึ หลกั ปฏิบัตทิ ว่ั ไปมาตรฐานจะกาหนดโดยองค์คณะบคุ คล ผเู้ ชย่ี วชาญ 2.การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เปน็ การตรวจสอบและติดตามผลการ ดาเนนิ การจัดการศึกษาว่าเป็นไปตาม มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาทก่ี าหนดขึน้ มาก นอ้ ยเพยี งไร และมีข้นั ตอนการดาเนินการทจ่ี ะทาใหเ้ ชอ่ื ถือได้หรือไมว่ ่าการจัด การศึกษาจะ เป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพ

การประกนั คุณภาพการศกึ ษาเกย่ี วขอ้ งกับการดาเนินการที่สาคญั มี๓ ขน้ั ตอนดงั น้ี 3.การประเมนิ คณุ ภาพ (Quality Assessment ) เปน็ การประเมนิ คุณภาพของ สถานศกึ ษาโดยบคุ ลากรของสถานศึกษาหรือโดยหนว่ ยงานทก่ี ากบั ดูแลในเขตพืน้ ท่ี และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ในส่วนกลางที่มีหนา้ ท่กี ากับดูแลสถานศกึ ษา ดังนน้ั ระบบ TQA จงึ เปน็ ยุทธศาสตร์รองรับยทุ ธศาสตรห์ นง่ึ ท่ีสถานศกึ ษาควร นามาแกไ้ ขปัญหาดังกล่าว ซง่ึ ก่อนอ่นื เราจงึ จาเปน็ ต้องเข้าใจที่มาของระบบ TQA ก่อน

แนวทางของ TQA คานงึ ถงึ ความยืดหยุ่นในการดาเนินการท่สี อดคล้องและ ต่อเน่อื งกันขององค์กร ท้งั ๗ หมวดดาเนินการไดแ้ ก่ หมวด ๑ การนาองค์กร : ท่ีมุ่งเน้นไปถึงความเขา้ ใจของผ้นู าองคก์ รท่มี งุ่ สกู่ ารเป็น เลิศในการบรหิ ารจัดการองค์กร ซึ่งต้องเขา้ ใจวิสยั ทัศน์และคา่ นิยมขององค์กร รวมทัง้ การส่ือสารความเขา้ ใจใหม้ ีการรว่ มมอื ของทุกคนในองค์กร รวมทง้ั การมธี รร มาภิบาลและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม หมวด ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ : หมายถึง การจัดทากลยุทธเ์ พอ่ื การขบั เคล่ือน องคก์ รและกาหนดวัตถุประสงค์ทช่ี ดั เจน ตลอดจนการถ่ายทอดกลยุทธ์น้ันไปสู่ ภาคปฏบิ ตั ิได้อย่างสอดคล้อง

แนวทางของ TQA คานึงถึงความยืดหยนุ่ ในการดาเนนิ การท่ี สอดคลอ้ งและตอ่ เน่ืองกันขององคก์ ร ทัง้ ๗ หมวดดาเนนิ การไดแ้ ก่ หมวด ๓ การมุ่งเนน้ ลกู คา้ และตลาด : องค์กรตอ้ งมคี วามเข้าใจเก่ยี วกับลกู ค้าและ ความตอ้ งการของลกู คา้ อยา่ งถ่องแท้ ตอบสนองไดอ้ ย่างพึงพอใจ และมคี วามสัมพนั ธ์ ทีด่ ี หมวด ๔ การวดั การวเิ คราะหแ์ ละการจดั การความรู้ : เป็นกระบวนการวดั ผลการ ดาเนินงานและทบทวนการดาเนนิ งาน รวมถงึ การบรหิ ารจดั การสารสนเทศ ความ พรอ้ มใชแ้ ละเพยี งพอในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในองค์กร

แนวทางของ TQA คานงึ ถึงความยดื หยนุ่ ในการดาเนินการที่ สอดคลอ้ งและต่อเน่ืองกันขององคก์ ร ทง้ั ๗ หมวดดาเนินการได้แก่ หมวด ๕ การมุ่งเน้นบคุ ลากร : บคุ ลากร ถือเปน็ ทรัพยากรสาคญั ท่อี งคต์ อ้ งรกั ษา และเพ่มิ คุณคา่ การพัฒนาบคุ ลากร จึงเปน็ หน้าทส่ี าคัญทีอ่ งคก์ รต้องมงุ่ สร้างความ ผกู พนั ซึ่งสอดคล้องกบั คาขวญั หนงึ่ ที่ยังคงยึดถือมานาน “ รู้รัก สามัคคี” หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ : คอื ความเขา้ ใจในการจัดการและออกแบบ ระบบงานเพ่อื ใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั และมีประสิทธิภาพในการดาเนนิ การ ตลอดจน ต้องมที บทวนและปรับปรุงกระบวนการทางานอยา่ งต่อเน่อื งเพ่ือใหย้ งั คงมาตรฐาน ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลการดาเนินงานขององค์กร อย่างยง่ั ยนื

แนวทางของ TQA คานงึ ถึงความยดื หย่นุ ในการดาเนนิ การที่ สอดคล้องและตอ่ เน่อื งกนั ขององคก์ ร ท้ัง ๗ หมวดดาเนินการได้แก่ หมวด ๗ ผลลัพธ์ : คือผลการดาเนนิ งานที่เกิดขึ้นจากการดาเนนิ งานดา้ นผลผลิต ด้านการม่งุ เน้นลูกคา้ ดา้ นการเงนิ และตลาด ด้านการมุง่ เนน้ บคุ ลากร ดา้ น ประสิทธผิ ลกระบวนการ และดา้ นการนาองคก์ ร

จดั ทาโดย นางสาวเจนนิษา ทองเพญ็ รหัสนกั ศกึ ษา 614112004 61/31 นายนราวิชญ์ เจริญพนั ธ์ุ รหสั นักศกึ ษา 614112031 61/31 นางสาวอรษิ า ทองศรี รหสั นกั ศกึ ษา 614112032 61/31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook