Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SCI M.302061

SCI M.302061

Published by sae.rpk31, 2018-10-25 07:47:24

Description: SCI M.302061

Search

Read the Text Version

การจดั ทําโครงสรา งรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 23102 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3 กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร จัดทําโดย นายเสรี แซจาง ตาํ แหนง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31ตําบลชางเค่งิ อําเภอแมแจม จงั หวดั เชยี งใหม สาํ นักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษสาํ นกั งานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ อธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า วิทยาศาสตร รหสั วิชา ว23102 ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ศึกษา วิเคราะห สาํ รวจ สบื คนขอ มูล และอธบิ ายความเรงและผลของแรงลพั ธท ่ที าํ ตอวตั ถุแรงกิริยาและแรงปฏิกริ ิยาระหวางวัตถุ แรงพยุงของของเหลวท่ีกระทําตอวัตถุ ความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสยี ดทานจลน วิเคราะหโ มเมนตของแรง การเคล่อื นทีข่ องวตั ถุที่เปนแนวตรงและแนวโคง งาน พลงั งานจลน พลงั งานศักยโนม ถว ง กฎการอนรุ กั ษพ ลังงาน ความสมั พันธระหวา งความตา งศกั ย กระแสไฟฟา ความตานทาน คาํ นวณพลงั งานไฟฟา ของเครื่องใชไ ฟฟา การตอวงจรไฟฟาในบานอยา งถูกตองปลอดภัยและประหยัดตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสเ บื้องตนทมี่ ีทรานซิสเตอรความสัมพนั ธร ะหวางดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรแ ละดาวเคราะหอ ่นื ๆและผลท่ีเกดิ ขน้ึ ตอ สิ่งแวดลอ มและสง่ิ มีชีวติ บนโลก องคป ระกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสรุ ยิ ะระบุตาํ แหนง ของกลุมดาว ความกาวหนา ของเทคโนโลยอี วกาศทใี่ ชส ํารวจอวกาศ วตั ถุทอ งฟา สภาวะอากาศทรพั ยากรธรรมชาติ การเกษตรและการสือ่ สาร โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหามีความสามารถในการสาํ รวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภปิ ราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิดความเขาใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตและดูแลส่ิงแวดลอมมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่เหมาะสม และเขาใจวาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี สงั คมและสิง่ แวดลอ มเกีย่ วของสัมพนั ธก นัตัวช้วี ดั ว 4.1 ม.3/1 อธบิ ายแรงลัพธท กี่ ระทาํ ตอ วัตถุทีห่ ยุดนงิ่ หรือวตั ถุเคลือ่ นท่ี ดวยความเรว็ คงตวั ว 4.1 ม.3/2 อธบิ ายความเรง และผลของแรงลัพธทท่ี ําตอวัตถุ ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและอธบิ ายแรงกริ ยิ าและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนาํ ความรไู ปใชประโยชน ว 4.2 ม.3/1 ทดลองและอธบิ ายความแตกตางระหวา งแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ว 4.2 ม.3/2 ทดลองและวิเคราะหโมเมนตข องแรง และนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ว 4.2 ม.3/3 สงั เกต และอธิบายการเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง ว 5.1 ม.3/1 อธิบาย การดดู กลนื การคายความรอน โดยการแผร งั สี และนําความรไู ปใชประโยชน ว 5.1 ม.3/2 อธบิ ายสมดุลความรอนและผลของความรอนตอการขยายตัวของสาร และนําความรไู ปใชใน ชีวติ ประจําวนั ว 5.1 ม.3/3 ทดลองและอธบิ ายการสะทอ นของแสง การหักเหของแสง และนําความรูไปใชป ระโยชน ว 5.1 ม.3/4 อธบิ ายผลของความสวางที่มีตอ มนษุ ยและสิ่งมีชวี ติ อืน่ ๆ ว 5.1 ม.3/5 ทดลองและอธบิ ายการดูดกลนื แสงสี การมองเหน็ สขี องวัตถุ และนําความรไู ปใชประโยชน ว 5.1 ม.3/1 สืบคน และอธิบายความสัมพันธร ะหวางดวงอาทิตยโลก ดวงจนั ทรและดาวเคราะหอน่ื ๆ และผลท่ี เกิดขึน้ ตอสงิ่ แวดลอมและส่งิ มีชีวติ บนโลก ว 7.1 ม.3/2 สืบคนและอธบิ ายองคป ระกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสรุ ยิ ะ ว 7.1 ม.3/3 ระบตุ ําแหนง ของกลุมดาว และนําความรูไปใชประโยชน ว 7.2 ม.3/1 สืบคนและอภปิ รายความกา วหนาของเทคโนโลยอี วกาศท่ีใชสาํ รวจอวกาศ วตั ถุทอ งฟา สภาวะ อากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสารรวมทงั้ หมด 15 ตัวชวี้ ดั

ผังมโนทศั น รายวชิ า วทิ ยาศาสตร รหสั วิชา ว 23102ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2561ชอ่ื หนวย แรงและการเคลอื่ นที่ ชื่อหนวย พลังงานกลจาํ นวน 10 ชั่วโมง : 15 คะแนน จาํ นวน 15 ช่ัวโมง : 15 คะแนน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 จํานวน 60 ชั่วโมงช่อื หนวย ไฟฟาและอิเล็กทรอนกิ ส ช่ือหนว ย ดาราศาสตรและอวกาศจํานวน 25 ช่วั โมง : 25 คะแนน จํานวน 10 ช่วั โมง : 15 คะแนน

โครงสรา ง รายวิชาวิทยาศาสตร รหัสวชิ า ว 23102 ชน้ั มัธยท่ี ชือ่ หนวย รหัส มฐ.ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู3 แรงและการ ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเรงและผลของเคลอ่ื นที่ แรงลัพธท ท่ี ําตอวตั ถุ รูป ว 4.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบายแรงกิริยา หร และแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและนําความรูไปใช ขอ ประโยชน คว ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและอธิบายแรงพยุง วัต ของของเหลว ที่กระทําตอวตั ถุ มแี ว 4.2 ม.3/1 ทดลองและอธิบายความ ที่ส แตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงและนํา แล ความรไู ปใชป ระโยชน เคล ว 4.2 ม.3/2 ทดลองและวิเคราะหโมเมนต ตอ ของแรงและนําความรูไปใชประโยชน กร ว 4.2 ม.3/3 สังเกตและอธิบายการ ท่ีม เคลอื่ นทขี่ องวัตถุท่ีเปนแนวตรงและแนวโคง เคร มือ ดว สป แล

งรายวชิ ายมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2561 สาระสําคญั เวลา (ซม) คะแนนแรง (force) เปนสิ่งที่ทําใหวัตถุเปลี่ยน 10 รวม K P Aปราง เปลี่ยนทิศทาง เกิดการเคลื่อนที่หรือ 15 5 5 5รือหยุดนิ่งได แรงสามารถเปล่ียนความเร็วองวัตถุได หรือกลาวไดวาแรงทําใหวัตถุเกิดวามเรง การออกแรงกระทําตอ วัตถอุ าจทําใหตถุเคลื่อนที่ได หรืออาจไมเคลื่อนที่ เน่ืองจากแรงยอ ยอื่นมารว มกระทาํ กฎการเคลื่อนที่ขอสามของนิวตัน จากกฎการเคล่ือนที่ขอท่ีหนง่ึละสองของนิวตันจะอธิบายสภาพก ารล่ือนท่ีของวัตถุเม่ือมีแรงภายนอกมากระทําอวัตถุ ซ่ึงจากการศึกษาในขณะที่มีแรงมาระทําตอวัตถุ วัตถุจะออกแรงโตตอบตอแรงมากระทํานั้นดวย เชน เมื่อเราออกแรงดึงรื่องชง่ั สปริง เราจะรสู กึ วาเครื่องช่งั สปรงิ ก็ดึงอเราดว ยและยิ่งเราออกแรงดึงเครอ่ื งชัง่ สปริงวยแรงมากขึ้นเทาใดเราก็จะรูสึกวาเคร่ืองชั่งปริงยิ่งดึงมือเราไป แรงเปนปริมาณที่มีขนาดละทศิ ทาง

ท่ี ชื่อหนวย รหสั มฐ.ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู ซ่ึง วตั มแี ทา ตา คํา แร กํา กํา อา แร ใน เชน เคล แล วงก ในท

สาระสําคญั เวลา (ซม) คะแนน Aเม่ือปลอยวัตถุวัตถุนั้นจะตกลงสพู ื้นดิน รวม K Pงแรงนั้นเกิดจากแรงดึงดูดท่ีโลกกระทําตอตถุ ในการลากวัตถุใหเคลอ่ื นท่ีไปบนพนื้ ผิวจะแรงตานการเคลอ่ื นที่ เรยี กแรงนวี้ า แรงเสยี ดาน เมื่อออกแรงแลวทําใหวัตถุเคล่ือนท่ีไปามแนวแรงนั้น เรียกวา มีการทํางานานวณหาคาของงานท่ีทําไดจากผลคูณของรงและระยะทางในแนวเดียวกันกับแรง และาหนดใหงานท่ีทําไดในหน่ึงหนวยเวลา คือาลัง ในบางกรณี เม่ือออกแรงกระทําตอวัตถุาจทําใหวัตถุหมุน เรียกวาเกิดโมเมนตของรง การเคลอื่ นที่ของวตั ถุนอกจากจะเคลอื่ นท่ีแนวตรงแลว ยังมีการเคล่ือนท่ีแบบอื่นอีกน การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจคไทล ซ่ึงเปนการล่ือนท่ีแนวโคง โดยไดระยะทางในแนวราบละแนวดิ่งพรอมๆ กัน การเคล่ือนท่ีในแนวงกลม เปนการเคลื่อนทีท่ ่ีมีแรงกระทาํ ตอวัตถุทศิ เขา สศู ูนยก ลาง

ที่ ชือ่ หนวย รหัส มฐ.ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู4 พลังงานกล 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พลังงานจลน พลังงานศักย พล โ น ม ถ ว ง ก ฎ ก า ร อ นุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น แ ล ะ กํา ความสัมพันธระหวางปริมาณเหลาน้ี รวมท้ังนํา แบ ความรูไ ปใชประโยชน พล 1 คือ หย อย ทีส่ ขอ สูต kin วตั co \"พล สา ได\"

สาระสําคญั เวลา (ซม) คะแนน รวม K P Aลังงานกลเปนพลังงานที่เก่ียวของกับวัตถุที่ 15 15 5 10 5าลังเคล่ือนที่หรือ พรอม ท่ี จะเค ล่ื อ น ท่ีบงออกเปน 2 อยาง คือ พลังงานศักยแ ละลงั งานจลน1. พลังงานศักย (potential energy : Ep )อ พลังงานที่สะสมอยูในตัววัตถุหรือสสารที่ยุดน่ิงอยูกับท่ียังไมเกิดการเคลื่อนท่ี ถาวัตถุยูบ นพน้ื ทสี่ ูงจากระดับพน้ื ดินข้นึ ไป พลังงานสะสมอยใู นตัวของวัตถนุ ี้จะเกิดจากแรงดึงดูดองโลกจึงเรียกวา \"พลังงานศักยโนมถวง\"ตรดังนี้ Ep = mgh 2. พลังงานจลน (netic energy : Ek ) คือ พลังงานที่มีอยูในตถทุ กี่ าํ ลงั เคลอ่ื นที่สูตรดงั Ek = 1/2mv2 กฎกา รอ นุ รั กษ พลั งงาน (Law ofonservation of energy) ก ล า ว ไ ว ว า ลงั งานรวมของวัตถจุ ะไมส ูญหายไปไหน แตามารถเปลี่ยนจากรูปหน่ึงไปเปนอีกรูปหน่ึง\"

ที่ ช่ือหนวย รหสั มฐ.ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู5 ไ ฟ ฟ า แ ล ะ ว 5.1 ม . 3/ 2 ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ยอเิ ลก็ ทรอนิกส ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ตัว ความตานทานและนาํ ความรูไ ปใชป ระโยชน สา ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงานไฟฟาของ วง เครอื่ งใชไ ฟฟา และนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ภา ว 5.1 ม.3/4 สังเกตและอภิปรายการตอ อุป วงจรไฟฟาในบานอยางถูกตองปลอดภัย และ สว ประหยดั กา ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจรอิเล็กทรอนิกส แล เบ้ืองตน ที่มที รานซสิ เตอร ตา หน อื่น ไฟ เคร ปจ

สาระสําคญั เวลา (ซม) คะแนนวงจรไฟฟาเปน การนําเอาสายไฟฟาหรือ 25 รวม K P Aวนําไฟฟาที่เปนเสนทางเดินใหกระแสไฟฟา 25 5 10 5ามารถไหลผานตอถึงกันไดน้ันเราเรียกวาจรไฟฟาการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนที่อยูายในวงจรจะเร่ิมจากแหลงจายไฟไปยังปกรณไฟฟาวนประกอบหลักมี3 สวนแตละสวนมีหนาท่ีารทํางานดังนี้1. แหลงจายไฟฟาเปนแหลงจายแรงดันละกระแสใหก บั อุปกรณ2. โหลดหรืออุปกรณไฟฟา เปนอุปกรณางๆ ท่ใี ชไ ฟฟาในการทาํ งาน โหลดจะทาํนาท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานรูปนๆเชน เสยี ง แสงความรอ นทาํ งาน เปน ตน3. สายไฟตอวงจรเปนสายตัวนําหรือสายฟฟาใชเชื่อมตอ วงจรใหตอ ถงึ กันแบบครบรอบการตอวงจรไฟฟา- การตอ วงจรไฟฟา แบบอนกุ รม- การตอวงจรไฟฟา แบบขนาน- การตอ วงจรไฟฟาแบบผสมรื่องใชไฟฟาตางๆ ท่ีอํานวยความสะดวกในจจุบนั อยา งเชน โทรทัศน คอมพวิ เตอร

ท่ี ชื่อหนวย รหสั มฐ.ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู อิเ เพ่อื กา ร ว อิเล วงจ6 ดาราศาสตร ว 7.1 ม.3/1 สืบคนและอธิบายความสัมพันธและอวกาศ ระหวา งดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรและดาวเคราะห อา อ่ืนๆ และผลที่เกิดขึ้นตอสิ่งแวดลอมและส่ิงมีชีวิต ขน บนโลก เคร ว 7.1 ม.3/2 สบื คนและอธบิ ายองคประกอบ ของเอกภพ กาแล็กซแี ละระบบ ชั้น ว 7.1 ม.3/3 ระบุตาํ แหนงของกลมุ ดาว และ 35 นําความรูไปใชป ระโยชน ชน้ั ว 7.2 ม . 3/ 1 สื บ ค น แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ช้ัน ความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจ หนิ อ ว ก า ศ วั ต ถุ ท อ ง ฟ า ส ภ า ว ะ อ า ก า ศ จัก ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสือ่ สาร ดว

สาระสาํ คัญ เวลา (ซม) คะแนนตู เ ย็ น ฯ ล ฯ ต า ง ก็ มี อุ ป ก ร ณ เ ป น รวม K P Aล็กทรอนิกสเปนสวนประกอบอยูภายใน 15 5 5 5อใหส ามารถทํางานไดอยา งมีประสิทธิภาพ- ตัวตานทาน- ไดโอด- ทรานซิสเตอรารนําอุปกรณอิเล็กทรอนิกสมาตอในวงจรว ม กั น เ พื่ อ ใ ช ง า น ต อ ง ศึ ก ษ า ว า อุ ป ก ร ณล็กทรอนิกสแตละชิ้นน้ันใชการตอแบบใดในจรและทาํ ใหเ กดิ ผลอยา งไรตอ วงจรนั้นโลก เปนดาวเคราะหที่อยูหางจากดวง 10าทิตยเปนลําดับที่สามเปนดาวเคราะหหินนาดใหญที่สุดในระบบสุริยะ และเปนดาวราะหเพียงดวงเดยี วท่ีมสี งิ่ มีชีวติ อาศยั อยูโครงสรางเปลื อกโ ลก (crust) เปนนนอกสุดของโลกท่ีมีความหนาประมาณ 6-5 กโิ ลเมตรแบง ออกเปน 2 ชนั้ คอืนท่ีหนึง่ : ชนั้ หนิ ไซอัล (sial) เปนชั้นบนสดุนที่สอง: ชั้นหินไซมา (sima) เปนชั้นท่ีอยูใตนชน้ั ไซอลั ลงไปกรวาล หมายถึง หวงอวกาศท่ีเต็มไปดวยวงดาวจํานวนมหาศาลมกี าซและฝุน ผงเกาะ

ท่ี ชื่อหนว ย รหัส มฐ.ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู ว 8.1 ม.1-3/1 ตั้งคําถามที่อยูบนพ้ืนฐาน กล ของความรูและความเขาใจทางวิทยาศาสตร หรือ รวม ความสนใจหรือจากประเด็นท่ีเกิดขึ้นในขณะนั้นท่ี กา สามารถทําการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควา ในก ไดอยา งครอบคลมุ และเชอื่ ถือได โลก วัดผลกลางภาค วดั ผลปลายภาค รวม

สาระสําคญั เวลา (ซม) คะแนนลุมกันบาง กระจายกันอยูบางดวงดาวจะ 1 รวม K P Aมกันอยเู ปนกลุมๆเรยี กวา 2 15 5 5 5าแลกซี ดวงดาวที่เรามองเห็นบนทองฟาอยู 60 15 5 5 5กาแล็กซ่ี มีชื่อเรียกวา กาแลกซีทางชางเผือก 100 30 40 30กก็รวมอยูดวย

การวเิ คราะหม าตรายวิชาวทิ ยาศาสตร รหสั วชิ า ว 23102 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นทตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู รอู ะไร ทําอะไรว 4.1 ม.3/1 อธิบาย รูอะไรความเรงและผลของ แรง (force) เปนสิง่ ทีท่ าํ ใหวตั ถุเปลี่ยนรปู รา งแรงลพั ธทท่ี าํ ตอวตั ถุ เปล่ยี นทศิ ทาง เกิดการเคลอื่ นทหี่ รือหรือหยดุ นิ่งได แรงสามารถเปลยี่ นความเรว็ ของวตั ถุได หรอื กลาวได วา แรงทําใหว ตั ถเุ กิดความเรง การออกแรงกระทําตอ วัตถอุ าจทําใหว ัตถุเคลื่อนท่ีได หรืออาจไมเ คลือ่ นท่ี เนอื่ งจากมีแรงยอ ยอื่นมารวมกระทํา ทาํ อะไร อธิบายความเรง และผลของแรงลพั ธท่ที าํ ตอวตั ถว 4.1 ม.3/2 ทดลอง รูอะไรและอธิบายแรงกิริยา กฎการเคลอ่ื นท่ขี อ ทีส่ ามของนิวตัน ในขณะทม่ี ีแ ล ะ แ ร ง ป ฏิ กิ ริ ย า แรงมากระทาํ ตอ วัตถุ วัตถจุ ะออกแรงโตตอบตอแรงระหวางวัตถุและนํา ที่มากระทํานน้ั ดวย เชน เมื่อเราออกแรงดงึ เครอ่ื งช่งัความรูไปใชประโยชน สปรงิ เราจะรสู กึ วา เคร่อื งชัง่ สปริงก็ดงึ มอื เราดวยและ ยิง่ เราออกแรงดึงเครื่องช่ังสปรงิ ดวยแรงมากขึ้นเทา ใด เรากจ็ ะรสู กึ วา เคร่อื งชั่งสปริงย่ิงดงึ มอื เราไป ทาํ อะไร ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ระหวางวัตถแุ ละนําความรูไ ปใชป ระโยชน

ตรฐานและตวั ชวี้ ัดท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2561 ช่อื หนวยการเรียนรทู ่ี 3 เรอื่ ง แรงและการเคล่ือนท่ี ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคัญ คุณลกั ษณะของ คุณลกั ษณะอันพงึ วชิ า ประสงค -ใบงาน เร่ือง แรง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รียนรู ตามกฎขอท่ี 2 ของ การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ัย นิวตัน concept - ก ร ะ บ ว น ก าร - มงุ มัน่ ในการ - ผังความคิด ความสมั พนั ธ ) กลุม ทาํ งาน Concept 2. ความสามารถใน Mapping การคิด (คดิ วเิ คราะห ) แรงลัพธท่ีกระทํา 3. ความสามารถใน ตอ วัตถุ การแกป ญ หาถุ -การทดลอง เร่ือง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเ รยี นรู แรงกิริยาและแรง การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ัย ปฏกิ ิรยิ า concept - กระบวนการ - มงุ ม่ันในการ - ผงั ความคดิ ความสมั พนั ธ ) กลมุ ทาํ งาน Concept 2. ความสามารถใน Mapping การคดิ (คิดวิเคราะห ) การประยุกตใชแรง 3. ความสามารถใน กิ ริ ย า แ ล ะ แ ร ง การแกป ญหาา ปฏกิ ริ ิยา

ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู รอู ะไร ทาํ อะไรว 4.1 ม.3/3 ทดลอง รูอะไรและอธิบายแรงพยุง เมือ่ หยอนวัตถลุ งในนาํ้ ปริมาตรของนาํ้ สว นที่ลนของของเหลว ทีก่ ระทํา ออกมา จะเทา กับปรมิ าตรของกอนวตั ถุน้นั ทีเ่ ขาไปตอ วตั ถุ แทนทน่ี ้ํา ทําอะไร ทดลองและอธบิ ายแรงพยุงของของเหลว ทก่ี ระทําตอวตั ถุว 4.2 ม.3/1 ทดลอง รูอะไร เม่ือปลอยวัตถุวัตถุน้นั จะตกลงสูพ้ืนดิน ซ่ึงแรงแ ล ะ อ ธิ บ า ย ค ว า มแตกตางระหวางแรง นั้นเกิดจากแรงดึงดูดที่โลกกระทําตอวัตถุ ในการลากเสียดทานสถิตกับแรง วัตถุใหเคล่ือนท่ีไปบนพ้ืนผิวจะมีแรงตานการเคลอ่ื นทและนําความรูไปใช เรยี กแรงน้วี า แรงเสยี ดทานประโยชน ทาํ อะไร อธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทาน สถิตกบั แรงและนําความรูไปใชป ระโยชน

ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสําคญั คุณลกั ษณะของ คณุ ลักษณะอันพึง วชิ า ประสงค-การทดลอง เรื่อง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รียนรูน แ ร ง พ ยุ ง ข อ ง การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี ินัยของเหลว concept - ก ร ะ บ ว น ก าร - มงุ มั่นในการทาํ งาน- ผังความคดิ ความสมั พนั ธ ) กลุมConcept 2. ความสามารถในMapping การคดิ (คดิ วเิ คราะห )แ ร ง พ ยุ ง ข อ ง 3. ความสามารถในของเหลว การแกป ญหา-ใบงาน เรื่อง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รียนรูง แรงเสียดทาน การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี ินัยก - ผังความคดิ concept - ก ร ะ บ ว น ก าร - มุง มัน่ ในการทาํ งานที่ Concept ความสัมพันธ ) กลุมMapping 2. ความสามารถในการประยุกตใชแรง การคดิ (คดิ วเิ คราะห )น เสยี ดทานสถติ 3. ความสามารถใน การแกปญ หา

ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู รอู ะไร ทําอะไรว 4.2 ม.3/2 ทดลอง รอู ะไรและวิเคราะหโมเมนต โมเมนตของแรง (moment of force) หรือของแรงและนําความรู โมเมนต (moment) หมายถึง ผลของแรงท่ีกระทําตอไปใชประโยชน วัตถุเพื่อใหวัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังน้ัน โมเมนต ของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะต้ังฉากจากแนว แรงถึงจดุ หมุน ดงั สูตร โมเมนตของแรง = แรง x ระยะทางจากจุดหมุนไปตั้ง ฉากกบั แนวแรง ทาํ อะไร วเิ คราะหและคาํ นวณโมเมนตของแรงและนํา ความรูไปใชป ระโยชนว 4.2 ม.3/3 สังเกต รูอ ะไรแ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร การเคล่ือนที่ของวัตถุนอกจากจะเคล่ือนที่ในเคล่ือนท่ีของวัตถุที่เปน แนวตรงแลว ยังมีการเคล่ือนท่ีแบบอ่ืนอีก เชน การแนวตรงและแนวโคง เคล่อื นท่แี บบโพรเจคไทล ซึง่ เปนการเคลื่อนที่แนวโคง โดยไดระยะทางในแนวราบและแนวดิ่งพรอมๆ กัน การเคลื่อนที่ในแนววงกลม เปนการเคลื่อนที่ท่ีมีแรง กระทําตอ วัตถุในทิศเขาสศู ูนยก ลาง ทําอะไร สังเกตและอธิบายการเคลื่อนท่ีของวัตถุท่ีเปน แนวตรงและแนวโคง

ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสาํ คัญ คุณลกั ษณะของ คณุ ลกั ษณะอันพึง วิชา ประสงค - ใ บ ง า น เ ร่ื อ ง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รียนรูอ โมเมนตข องแรง การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี นิ ัยอ - ผงั ความคดิ concept - ก ร ะ บ ว น ก าร - มุ ง มั่ น ใ น ก า รต Concept ความสัมพนั ธ ) กลมุ ทํางานว Mapping 2. ความสามารถใน การนําโมเมนตของ การคิด (คิดวิเคราะห )ง แ ร ง ไ ป ใ ช ใ น 3. ความสามารถใน ชีวติ ประจําวนั การแกป ญ หา - ใ บ ง า น เ รื่ อ ง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเรียนรูน การเคลื่อนที่แนว การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ัยร โคง concept - ก ร ะ บ ว น ก าร - มุ ง ม่ั น ใ น ก า รง - ผังความคดิ ความสัมพันธ ) กลุม ทํางานน Concept 2. ความสามารถในง Mapping การคิด (คดิ วิเคราะห ) การเคลื่อนท่ีของ 3. ความสามารถใน วัตถแุ บบตา งๆ การแกป ญหาน

การวเิ คราะหม าตรายวิชาวทิ ยาศาสตร รหัสวิชา ว 23102 ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู รูอะไร ทาํ อะไร5.1 ม.3/1 อธบิ ายงาน รอู ะไรพลงั งานจลน พลงั งาน พลังงานกล เปนพลังงานท่ีเก่ียวของกับวัตถุท่ีกําลังศกั ยโนมถวง กฎการ เคลื่อนท่หี รือพรอ มทีจ่ ะเคล่อื นท่ี แบงออกเปน 2อนรุ กั ษพลงั งาน และความสัมพันธร ะหวา ง 1. พลังงานศักย (potential energy : Ep ) คือปรมิ าณเหลานี้ รวมทงั้ พลงั งานทีส่ ะสมอยูในตัววัตถุทหี่ ยุดนง่ิ ถาวัตถุอยูบนนาํ ความรไู ปใช พ้ืนท่ีสูงจากระดับพื้นดินข้ึนไป พลังงานท่ีสะสมอยูประโยชน ในตัวของวัตถุน้ีจะเกิดจากแรงดึงดูดของโลกจึง เรียกวา \"พลงั งานศกั ยโ นมถวง\"สูตรดงั นี้ Ep = mgh 2. พลังงานจลน ( kinetic energy : Ek ) คือ พลังงานท่ีมีอยูในวัตถุท่ีกําลังเคล่ือนท่ีสูตรดัง Ek = 1/2mv2 ก ฎ ก า ร อ นุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น ( Law of conservation of energy) กลา วไววา \"พลงั งานรวม ของวัตถจุ ะไมสญู หายไปไหน แตส ามารถเปลยี่ นจาก รูปหน่ึงไปเปนอกี รปู หนง่ึ ได\" ทาํ อะไร อธบิ ายงาน พลังงานจลน พลงั งานศักยโ นม ถว ง กฎการอนุรักษพลังงาน รวมท้งั นาํ ความรไู ปใช ประโยชน

ตรฐานและตัวช้ีวัดรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2561 ชือ่ หนวยการเรียนรูท ่ี 4 เรือ่ ง พลงั งานกลภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสําคญั คุณลกั ษณะของ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ วชิ า ประสงค- ใ บ ง า น เ รื่ อ ง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รยี นรูพลังงานกล การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวินัย- ผังความคดิ concept - กระบวนการกลุม - มุงมั่นในการConcept ความสมั พนั ธ ) ทาํ งานMapping 2. ความสามารถในการนาํ พลงั งานกล การคดิ (คดิ วิเคราะห )ความรไู ปใช 3. ความสามารถในประโยชน การแกปญหา

การวเิ คราะหม าตรายวชิ าวทิ ยาศาสตร รหสั วิชา ว 23102 ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี เรื่อง ไฟฟา และตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไรว 5.1 ม.3/2 ทดลอง รูอ ะไรแ ล ะ อ ธิ บ า ย กระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความความสัมพันธระหวาง ตา นทานไฟฟาลวนเปน สิง่ ท่ีมีความสมั พนั ธเกีย่ วเนื่องค ว า ม ต า ง ศั ก ย กนักระแสไฟฟา ความ ความตางศักยไฟฟา คือ ความแตกตางของตา นทานและนาํ ความรู พลังงานไฟฟาระหวางจุดสองจุด ซ่ึงทําใหเกิดไปใชประโยชน กระแสไฟฟาข้ึน โดยกระแสไฟฟาจะไหลจากจุดที่มี ระดับพลังงานไฟฟาสูงไปยังจุดท่ีมีระดับพลังงาน ไฟฟาต่ํากวา กระแสไฟฟาเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอนจากบริเวณหนึ่งไปอกี บรเิ วณหนึง่ ความตานทาน เปนปริมาณอยางหนึ่งที่ตาน การเคล่ือนท่ีของส่ิงตางๆ เชน การไหลของน้ําผาน ทอท่ีมีขนาดตางกัน จะพบวา ทอเล็กมีความ ตานทานมาก นา้ํ จงึ ไหลผานไดน อ ยกวา ทอ ใหญ ทาํ อะไร ทดลองและอธบิ ายความสมั พนั ธระหวางความ ตา งศกั ย กระแสไฟฟา ความตา นทานและนาํ ความรู ไปใชประโยชน

ตรฐานและตัวชีว้ ัด3 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2561 ช่อื หนว ยการเรยี นรทู ่ี 5ะอิเล็กทรอนิกส คุณลกั ษณะของ คณุ ลักษณะอันพึงภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคญั วชิ า ประสงค-การทดลอง เรื่อง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูค ว า ม สั ม พั น ธ การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี ินยัระหวางความตาง concept - กระบวนการกลุม - มุงม่นั ในการศักย กระแสไฟฟา ความสมั พนั ธ ) ทาํ งานความตานทาน 2. ความสามารถใน- ผงั ความคิด การคดิ (คดิ วิเคราะห )Concept 3. ความสามารถในMapping การแกปญหาค ว า ม สั ม พั น ธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟาความตานทาน

ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู รอู ะไร ทาํ อะไรว 5.1 ม . 3/ 3 รอู ะไรคํานวณพลังงานไฟฟา การคาํ นวณคาไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และ เมื่อมีการใชเคร่ืองใชไฟฟา ตองเสียคานํ า ค ว า ม รู ไ ป ใ ช ไฟฟาใหก บั การไฟฟา โดยคดิ จากจาํ นวนพลังงานประโยชน ไฟฟา ท่เี ครอื่ งใชไฟฟานัน้ ๆ ใชไ ป จาก... P = W/t จะได … W = P.t เมือ่ … P = กาํ ลงั ไฟฟาของเครอื่ งใชไฟฟา ... (Watt ; W) t = เวลาทใ่ี ชไฟฟา ... (s ; วินาที) W= พลงั งานไฟฟา ท่ีเครอื่ งใชไฟฟาใชไ ป ... (J ; จลู ) ทาํ อะไร คํานวณพลังงานไฟฟาของเครอ่ื งใชไฟฟาและนํา ความรไู ปใชป ระโยชนว 5.1 ม.3/4 สังเกต รูอะไรและอภิปรายการตอ การตอ วงจรไฟฟาในบานวงจรไฟฟา ในบานอยาง เครื่องใชไฟฟาตางๆ เชน หลอดไฟฟาถูกตองปลอดภัย และ เตารีด พัดลม จะตอวงจรแบบขนานท้ังส้ินประหยัด เนื่องจากตองการใหเ ครื่องใชไฟฟาเหลาน้นั ไดรับ ความตางศักยเทากันและเทากับท่ีกําหนดไวบน เครื่องใชไฟฟา จงึ จะเกิดกําลังตามท่กี ําหนด

ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสําคัญ คุณลกั ษณะของ คณุ ลกั ษณะอันพึง วิชา ประสงค- ใ บ ง า น เ ร่ื อ ง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูพลังงานไฟฟา การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ยั- ผงั ความคิด concept - กระบวนการกลุม - มุงมน่ั ในการConcept ความสมั พันธ ) ทํางานMapping 2. ความสามารถในเครอ่ื งใชไฟฟา การคิด (คิดวเิ คราะห ) 3. ความสามารถใน การแกปญหา-ใบงาน เร่ืองการ 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูตอวงจรไฟฟาใน การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี นิ ัยบาน concept - กระบวนการกลุม - มงุ ม่ันในการ ความสัมพันธ ) ทาํ งาน 2. ความสามารถใน การคดิ (คดิ วเิ คราะห )

ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู รูอะไร ทําอะไร และถาเครื่องมือใดชํารุดเสียหายกจ็ ะเสียหายเฉพาะ เคร่ืองใชไฟฟาเคร่ืองนั้นไมเก่ียวกับเครื่องใชไฟฟา ชนิดอ่นื ทําอะไร สังเกตและอภิปรายการตอวงจรไฟฟาในบาน อยางถกู ตองปลอดภัย และประหยัดว 5.1 ม.3/5 อธบิ ายตวั รอู ะไรต า น ท า น ไ ด โ อ ด - ตัวตานทานทรานซิสเตอร และ - ไดโอดท ด ล อ ง ต อ ว ง จ ร - ทรานซสิ เตอรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน การนําอุปกรณอิเล็กทรอนิกสมาตอในวงจรรวมกันทม่ี ีทรานซสิ เตอร เพ่ือใชงานตองศึกษาวาอุปกรณอิเล็กทรอนิกสแตล ะ ชิ้นน้ันใชการตอแบบใดในวงจรและทําใหเกิดผล อยา งไรตอ วงจรน้ัน ทาํ อะไร อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซสิ เตอร และทดลองตอวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนท่ีมี ทรานซิสเตอร

ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะของ คณุ ลกั ษณะอันพงึ วิชา ประสงค- ผงั ความคิด 3. ความสามารถในConcept การแกปญ หาMappingการตอวงจรไฟฟาในบา น- ใ บ ง า น เ ร่ื อ ง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรียนรูอุ ป ก ร ณ การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ัยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส concept - กระบวนการกลุม - มงุ มั่นในการ- ผงั ความคดิ ความสมั พันธ ) ทํางานConcept 2. ความสามารถในMapping การคดิ (คิดวิเคราะห )อุ ป ก ร ณ 3. ความสามารถในอิเล็กทรอนิกส การแกปญ หา

การวเิ คราะหม าตรายวิชา วทิ ยาศาสตร รหัสวชิ า ว 23102 ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี เรอ่ื ง ดาราศาสตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไรว 7.1 ม . 3/ 1 รอู ะไรสื บ ค น แ ล ะ อ ธิ บ า ย ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษอยูในระบบสุริยะความสัมพันธระหวาง จักรวาล โดยดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของระบบดวงอาทิตย โลก ดวง สุริยะ และมีดาวเคราะหตางๆ ดาวเคราะหนอยจันทรและดาวเคราะห อุกกาบาต ฝุนละออง และดวงหางเปนบริวาร ดวงอ่ืนๆ และผลท่ีเกิดข้ึน จันทรและโลกของเราก็เปนบริวารของดวงอาทิตยต อส่ิ ง แว ดล อ มและ ดว ยสิง่ มีชวี ิตบนโลก ทําอะไร อธบิ ายความสมั พันธร ะหวางดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรแ ละดาวเคราะหอ ื่นๆว 7.1 ม . 3/ 2 สืบค น รูอะไรแ ล ะ อ ธิ บ า ย ระบบสุริยะประกอบดวยดวงอาทิตยเปนสุดองคประกอบของเอก ศูนยกลางและมีดาวเคราะห 9 ดวง โคจรอยูรอบ ๆภพ กาแลก็ ซแี ละระบบ ประกอบดวย ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวสุรยิ ะ พฤหัส ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ซง่ึ ดาวเคราะห 6 ดวงแรกสามารถมองเห็นไดดวยตา เปลา สวนอีก 3 ดวงสามารถมองดูโดยใชกลอง จุลทรรศนจ ากโลก

ตรฐานและตวั ชี้วัด3 ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2561 ชอ่ื หนว ยการเรยี นรูที่ 6สตรและอวกาศ คณุ ลักษณะของ คณุ ลกั ษณะอนั พงึภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคญั วิชา ประสงค- ใ บ ง า น เ ร่ื อ ง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรียนรูค ว า ม สั ม พั น ธ การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี นิ ยัระหวางดวงอาทติ ย concept - กระบวนการกลุม - มุงมน่ั ในการโลก ดวงจันทร ความสมั พันธ ) ทํางาน- ผงั ความคดิ 2. ความสามารถในConcept การคดิ (คดิ วเิ คราะห )Mapping 3. ความสามารถในผ ล ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ต อ การแกปญ หาส่ิ ง แว ดล อ มแ ล ะสงิ่ มีชวี ิต- ใ บ ง า น เ รื่ อ ง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูองคประกอบของ การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี นิ ยัเอกภพ concept - กระบวนการกลมุ - มุงมั่นในการ- ผังความคิด ความสัมพนั ธ ) ทาํ งานConcept 2. ความสามารถในMapping การคดิ (คิดวเิ คราะห ) 3. ความสามารถใน การแกปญ หา

ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไรว 7.1 ม.3/3 ระบุ กาแล็กซีประกอบดวย ดาวฤกษจํานวนตําแหนงของกลมุ ดาว มากมายมหาศาล ประมาณ 100,000 ลานดวง และและนําความรูไปใช ที่วาง กวางขวางเปนสวนใหญ ในที่วางระหวางประโยชน ดวงดาวน้ี มีกลุมกอนฝุนและแกสกระจัดกระจายอยู ทว่ั ไปในกลมุ ฝนุ และแกส เอกภพประกอบดวย กาแล็กซีจํานวนมากมาย ประมาณ 10,000 ลานกาแล็กซี ซึ่งในแตละกาแล็กซี จะมีระบบของดาวฤกษ กระจุกดาว เนบิวลา ฝุนผง แกส และทวี่ า งอยูรวมกนั ทําอะไร อธิบายองคประกอบของเอกภพ กาแล็กซีและ ระบบสุริยะ รูอ ะไร จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ด า ว เ ค ร า ะ ห จ ะ พ บ ว า ด า ว เคราะหท่ีเห็นดวยตาเปลาจะสวางกวาดาวฤกษ เนื่องจากอยใู กลโลกมากกวา และมกี ารเคลอื่ นท่ีเห็น ไดชัดเจนกวาเม่ือเปรียบเทียบกับดาวฤกษ ในการ สังเกตดาวในแตละคืนจะพบวาดาวมีการเคลื่อนที่ จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เน่ืองจากโลก หมุนจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ในการบอก ตําแหนง ของดาวอาจบอกเวลาขึน้ ของดาว คือขณะท่ี

ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสําคญั คุณลักษณะของ คุณลักษณะอันพึงองคประกอบของ วชิ า ประสงคเอกภพ- ใ บ ง า น เ ร่ื อ ง 1. ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ รยี นรูตําแหนงของกลุม การส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มวี นิ ยัดาว concept - กระบวนการกลมุ - มุงมั่นในการ- ผังความคดิ ความสัมพนั ธ ) ทํางานConcept 2. ความสามารถในMapping การคิด (คิดวิเคราะห )ตําแหนงของกลุม 3. ความสามารถในดาว การแกปญ หา

ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู รอู ะไร ทาํ อะไร ดาวเสมือนวากําลังโผลพนขอบฟาทิศตะวันออก เน่ืองจากโลกหมนุ รอบตวั เองทาํ ใหด าวปรากฏเสมือน วาเคล่อื นท่ไี ปบนทองฟา ดังนั้นตาํ แหนง ของดาวจึงมี ความสัมพันธกับเวลาท่ีทําการสังเกตและตําแหนงท่ี สังเกต ในการบอกตําแหนงของดวงดาวขั้นพื้นฐาน เราใชระบบเสนขอบฟา คือบอกตําแหนงดวยคา 2 คาคือ มมุ ทิศและมุมเงย ทาํ อะไร ระบตุ าํ แหนงของกลมุ ดาว และนําความรไู ปใช ประโยชนว 7.2 ม.3/1 สืบค น รอู ะไรแ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ยุคกอ นอวกาศคว าม กาว หน า ข อ ง ในอดีตมนุษยมีความเขาใจวา ทองฟาและอวกาศเทคโนโลยีอวกาศท่ีใช เปนสถานที่ลึกลับ การเกิดลม ฝน พายุ หรือสํารวจอวกาศ วัตถุ สายฟาเกิดจากการบันดาลของเทพเจา แตตอมาทองฟา สภาวะอากาศ เมื่อความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีมากขึ้น มนุษยทรัพยากรธรรมชาติ เร่ิมสํารวจหาขอเท็จจริงโดยการสํารวจในชวงแรกการเกษตร และการ ยงั คงเปนการใชก ลอ งโทรทรรศน (telescope) สองสื่อสาร ดูวัตถุตาง ๆ บนทองฟา และใชจานรับคลื่นวิทยุ จากดวงดาวตา ง ๆ

ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสําคญั คุณลกั ษณะของ คุณลักษณะอันพึง วชิ า ประสงค- ใ บ ง า น เ รื่ อ ง 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูเทคโนโลยอี วกาศ การสื่อสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวินัย- ผังความคดิ concept - กระบวนการกลุม - มุง มน่ั ในการConcept ความสมั พันธ ) ทํางานMapping 2. ความสามารถในความกาวหนาของ การคิด (คดิ วิเคราะห )เทคโนโลยีอวกาศ 3. ความสามารถใน การแกปญ หา

ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไร ความกา วหนาของเทคโนโลยอี วกาศ ปจจุบันส่ิงประดิษฐที่อาศัยความรู ทาง ด าน เทคโนโลยีอวกาศมีมากมายหลายช้ิน เพ่ือชวย อาํ นวยประโยชนต อการดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ยในหลาย ๆ ดา น ทส่ี ําคญั ไดแ ก ดาวเทยี มส่อื สาร เปน ดาวเทียมทที่ าํ หนา ทีเ่ ปน ส ถ า นี รั บ ส ง ค ล่ื น วิ ท ยุ เ พื่ อ ก า ร ส่ื อ ส า ร แ ล ะ โทรคมนาคม ทั้งท่ีเปนการส่ือสารภายในประเทศ และระหวา งประเทศ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ทําหนาท่ีสงสัญญาณ ภ า พ ถ า ย ท า ง อ า ก า ศ ที่ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ข อ มู ล ท า ง อุตนุ ยิ มวิทยา เชน จาํ นวนและชนดิ ของเมฆ ความ แปรปรวนของอากาศ ดาวเทยี มสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ เปนดาวเทียม ท่ีถูกใชเปนสถานีเคลื่อนท่ีสํารวจดูพื้นท่ีผิวโลกและ การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ท่เี กิดขน้ึ ทาํ อะไร อภิปรายความกาวหนาของเทคโนโลยีอวกาศท่ี ใชสํารวจอวกาศ วัตถุทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสือ่ สาร

ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสําคญั คณุ ลักษณะของ คุณลกั ษณะอนั พึง วชิ า ประสงค

ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไร ว 8.1 ม.1-3/1 รอู ะไรต้ั ง คํ า ถ า ม ท่ี อ ยู บ น -แรงและการเคล่อื นที่ของวตั ถุพน้ื ฐานของความรูและ -พลงั งานกลค ว า ม เ ข า ใ จ ท า ง -ไฟฟาและอเิ ล็กทรอนิกสวิ ท ย า ศ า ส ต ร ห รื อ -ดาราศาสตรแ ละอวกาศความสนใจหรือจาก ทาํ อะไรประเด็นท่ีเกิดข้ึนใน ทําการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยา งขณะน้ันท่ีสามารถทํา ครอบคลมุ และเช่ือถือไดการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเชือ่ ถอื ได

ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสาํ คญั คณุ ลักษณะของ คณุ ลักษณะอนั พงึ วิชา ประสงค- 1. ความสามารถใน - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเรยี นรูการส่ือสาร(อธิบาย - ความรอบคอบ - มีวนิ ัยconcept - กระบวนการกลุม - มงุ ม่นั ในการความสัมพันธ ) ทํางาน2. ความสามารถในการคิด (คิดวเิ คราะห )3. ความสามารถในการแกป ญหา

การวัดและประเมรายวิชาวิทยาศาสตร รหัสวชิ า ว 23102 ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี เรอื่ ง แรงและเปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ชนิ้ งานว 4.1 ม.3/1 -ใบงาน เรือ่ ง แรงตามกฎการเคลอื่ นทข่ี อ ที่ 2 ของนิวตันว 4.1 ม.3/2 -ใบงาน เรื่อง โมเมนตข องแรงว 4.1 ม.3/3 -ใบงาน เรอื่ ง การเคล่ือนทีแ่ นวโคงว 4.2 ม.3/1ว 4.2 ม.3/2 -ผงั ความคดิว 4.2 ม.3/3 Concept Mapping เรอ่ื ง แรงลพั ธท ก่ี ระทาํ ตอ วตั ถุ เร่ือง การประยกุ ตใชแ รงกริ ิยาและแรงปฏกิ ิริยา - เร่อื ง แรงพยุงของของเหลว เร่อื ง การนาํ โมเมนตของแรงไปใชป ระโยชน เร่อื ง การเคล่ือนท่ีของวตั ถแุ บบตางๆ -การทดลอง และการออกแบบการทดลอง เรอ่ื ง แรงกริ ิยาและแรงปฏกิ ิริยา เร่ือง แรงพยงุ ของของเหลว

มินผลการเรยี นรู3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2561 ช่อื หนวยการเรยี นรูที่ 3ะการเคลือ่ นที่ วธิ วี ัด เครอ่ื งมือวดั ประเดน็ /เกณฑก ารให คะแนนน ตรวจใบงาน แบบตรวจแบบใบงาน คะแนน 10 ตรวจการเขียน แบบตรวจเขียนผัง - ตอบถกู ได 1 ผังความคิด ความคดิ Concept คะแนน Concept Mapping - ตอบถกู ได 0 Mapping คะแนน - เน้อื หาครบถวน (หัวขอใหญ , หัวขอ ยอย) - รปู แบบการนาํ เสนอตรวจการเขยี น แบบตรวจการเขยี น -ออกแบบและทดลองสรุปรายงานผล สรุปรายงานผลการ ถูกตองการทดลอง ทดลอง - สรปุ รายงานผลการ ทดลองถูกตองและ ครบถวน

การวัดและประเมรายวชิ าวทิ ยาศาสตร รหสั วิชา ว 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เรือ่ ง ชวี ติ แลเปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ช้ินงาน5.1 ม.3/1 -ใบงาน เรือ่ ง พลงั งานกล -ผังความคดิ Concept Mapping เร่อื ง การนําพลังงานกลไปใชป ระโยชน

มนิ ผลการเรยี นรู 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 ชื่อหนว ยการเรียนรทู ่ี 4ละส่งิ แวดลอ ม วธิ ีวัด เครื่องมอื วัด ประเด็น/เกณฑก ารให คะแนนตรวจใบงาน แบบตรวจแบบใบงาน คะแนน 20 - ตอบถูกได 1 คะแนน - ตอบถูกได 0 คะแนนตรวจการเขียน แบบตรวจเขียนผัง - เนอื้ หาครบถว นผงั ความคิด ความคิด Concept (หัวขอ ใหญ , หัวขอConcept Mapping ยอย)Mapping - รูปแบบการนําเสนอ

การวัดและประเมรายวชิ าวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 23102 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ เรอื่ ง ไฟฟาและเปา หมายการเรยี นรู ภาระงาน/ชิ้นงานว 5.1 ม.3/2 -ใบงาน เร่อื ง พลงั งานไฟฟาว 5.1 ม.3/3 -ใบงาน เรื่อง การตอวงจรไฟฟาในบานว 5.1 ม.3/4 -ใบงาน เรอ่ื ง อปุ กรณอิเล็กทรอนกิ สว 5.1 ม.3/5 -ผังความคดิ Concept Mapping เรอื่ ง การนาํ พลงั งานกลไปใชป ระโยชน เร่ือง ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา และความตา นทาน เรอื่ ง เครอื่ งใชไ ฟฟา เร่ือง การตอวงจรไฟฟา ในบาน เรอ่ื ง อุปกรณอ เิ ล็กทรอนกิ ส -การทดลอง และการออกแบบการทดลอง เร่ือง ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา และความตา นทาน

มินผลการเรียนรู3 ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2561 ช่ือหนว ยการเรยี นรทู ี่ 5ะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส วิธวี ัด เคร่อื งมือวดั ประเดน็ /เกณฑก ารให คะแนน ตรวจใบงาน แบบตรวจแบบใบงาน คะแนน 20 ตรวจการเขยี น แบบตรวจเขียนผงั - ตอบถูกได 1 ผงั ความคิด ความคดิ Concept คะแนน Concept Mapping - ตอบถูกได 0า Mapping คะแนน - เนอื้ หาครบถวน (หัวขอใหญ , หัวขอ ยอ ย) - รูปแบบการนําเสนอ ตรวจการเขยี น แบบตรวจการเขยี น -ออกแบบและทดลองา สรุปรายงานผล สรุปรายงานผลการ ถูกตอง - สรปุ รายงานผลการ การทดลอง ทดลอง ทดลองถกู ตองและ ครบถว น

การวัดและประเมรายวชิ าวิทยาศาสตร รหัสวชิ า ว 23102 ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ เรอื่ ง ดาราศาสเปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ชน้ิ งานว 7.1 ม.3/1 -ใบงาน เร่ือง ความสัมพันธร ะหวา งดวงอาทติ ย โลกว 7.1 ม.3/2 ดวงจันทรว 7.1 ม.3/3 -ใบงาน เรอ่ื ง องคประกอบของเอกภพว 7.2 ม.3/1 -ใบงาน เรอ่ื ง ตาํ แหนง ของกลมุ ดาว -ใบงาน เร่อื ง เทคโนโลยอี วกาศ -ผงั ความคดิ Concept Mapping เรอ่ื ง ผลท่ีเกดิ ขนึ้ ตอ ส่ิงแวดลอมและสิง่ มชี ีวติ เร่อื ง องคป ระกอบของเอกภพ เรือ่ ง ตาํ แหนง ของกลมุ ดาว เรือ่ ง เทคโนโลยอี วกาศ -การทดลอง และการออกแบบการทดลอง เร่ือง ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา และความตา นทาน -

มินผลการเรยี นรู 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2561 ชอ่ื หนวยการเรียนรทู ี่ 6สตรและอวกาศ วธิ วี ัด เครื่องมือวัด ประเด็น/เกณฑการให คะแนน ตรวจใบงาน แบบตรวจแบบใบงาน คะแนน 10 - ตอบถกู ได 1 คะแนน - ตอบถกู ได 0 คะแนน ตรวจการเขียน แบบตรวจเขียนผัง - เน้อื หาครบถวน ผงั ความคดิ ความคิด Concept (หัวขอ ใหญ , หัวขอ Concept Mapping ยอย) Mapping - รปู แบบการนําเสนอา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook