Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Translation scheme

Translation scheme

Published by sae.rpk31, 2018-10-26 01:07:26

Description: Translation scheme

Search

Read the Text Version

โครงรา งวิจยั ในชน้ั เรียนการแกโจทยปญหา เพือ่ พฒั นาทักษะการคาํ นวณสําหรับ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2/2561 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 อาํ เภอแมแ จม จงั หวดั เชยี งใหม นายเสรี แซจ าง ตาํ แหนง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 ตาํ บลชางเคง่ิ อาํ เภอแมแ จม จงั หวดั เชยี งใหม สํานกั งานกสาํารนศกั ึกบษราหิ ขานั้ รพงาน้ื นฐกาานรศกึกษรงาะนาวทพจิ ยั รแเิ ลวศะพงษฒัศนกึากษารเราียธนกิการาสอรน กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

โครงรา งการวจิ ัยในช้ันเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห 31 อําเภอแมแ จม จงั หวัดเชยี งใหมชอื่ เรื่อง การแกโ จทยปญ หา เพอื่ พฒั นาทักษะการคาํ นวณสาํ หรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3ชอื่ ผูวจิ ยั ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2561 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 อาํ เภอแมแจม จังหวัดเชยี งใหม นายเสรี แซจ าง ระยะเวลาของการวิจัย 1 พฤศจิกายน - 15 มีนาคม 2561…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………ความเปน มาและความสําคญั ของปญ หา พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พุทธศกั ราช 2542 และแกไ ขเพ่มิ เติม ( ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2545 มาตรา 22ไดกลาวถึงหลักการสําคัญในการจัดการศึกษาที่เนนใหนกั เรียนทุกคนมคี วามสามารถในการเรียนรู และพัฒนาตนเองได ทั้งนโ้ี ดยมจี ุดมงุ หมายสําคญั คอื การปฏริ ูปการเรียนรูเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของคนไทยใหกาวสูสังคมแหงการเรียนรูที่สามารถพัฒนาตนเองไดในทุกเวลา ทุกสถานที่ โดยมีทักษะการเรียนรูท่ีจําเปนตองไดรับการฝกฝน เพ่ือใชเปนเครื่องมือสําหรับการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต อันไดแก ความสามารถในการอาน การคิด การวิเคราะห การเขียน และสรางองคความรูดวยตนเอง ขณะเดียวกัน กระบวนการเรียนรูที่จัดจําเปนตองสอดคลองกับความสนใจความถนดั และความแตกตางของนกั เรียน ใหน ักเรียนเรยี นรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏบิ ตั ิ คดิ เปน ทําเปน รกัการอาน และเกิดการเรียนรูอยางตอเน่ือง ทั้งนี้ผูสอนและนักเรียนอาจเรียนรไู ปพรอมกนั จากสื่อและแหลงเรียนรทู ่ีหลากหลาย โดยมีพอ แม ผปู กครอง และชมุ ชน รวมกันจัดบรรยากาศใหเ ออื้ ตอการเรียนรู การจัดการกิจกรรมการเรยี นใหกับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 3 ในรายวชิ าวิทยาศาสตรพื้นฐาน ภาคเรียนท่ี2 ปการศึกษา 2561 หลักการจดั กจิ กรรมการเรยี นรพู บวา นักเรยี น จาํ นวน 25 คนรอ ยละ 62.50 มีปญ หาเกย่ี วกับการคิดแกโจทยปญหา ไมสามารถท่ีจะผานเกณฑการประเมินท่ีต้ังไวในระดับสูง สวนมากจะอยูในระดับต่ําถึงปานกลาง การคิดวิเคราะหปญหาและการวางแนวแกไขอยา งถูกตอง สามารถสงผลใหพฒั นาดานการคิดแกโจทยปญ หาซงึ่ จัดวา เปน คณุ ลกั ษณะที่สาํ คญั มากที่จะพาไปสคู ณุ ลกั ษณะอืน่ ๆ ทีส่ มควรไดร บั การพฒั นาตอไป ดังน้ันผูวิจัยจึงคิดคนการพัฒนานักเรียนทักษะการคิดแกโจทยปญหา โดยการใชการทดลองประกอบและวิเคราะหโจทยปญหา เพื่อพัฒนาทักษะการแกโจทยป ญหาทางวิทยาศาสตร เพื่อพัฒนาทักษะการคิดแกโจทยป ญหาสาํ หรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 จํานวน 99 คน ในภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2561จุดประสงคของการวิจัย1. เพ่อื พัฒนาทกั ษะดานการคาํ นวน ใหก บั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษา 3 โรงเรยี นราชประชานุ -เคราะห 312. เพอื่ ศึกษาคา เฉล่ีย (Mean) รอยละ และสว ยเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทดลอง3. เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการวดั ผลกอนเรียนและหลังเรยี น ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห 31 งานวจิ ยั และพฒั นาการเรียนการสอน กลุม่ บริหารงานวชิ าการ

วิธีดําเนินการวิจัย ระยะเวลา พ.ศ. 2561 กจิ กรรม พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 1. วิเคราะหป ญ หาการเรยี นรู 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กีย่ วขอ ง 3. เลอื กกลมุ ตัวอยาง 4. ทดสอบ Pre-test 5. สรางเครอื่ งมอื ทดลองใช ปรบั ปรุงแกไ ข 6. เกบ็ รวบรวมขอ มลู 7. วเิ คราะหข อ มูลและแปรผลขอ มูล 8. ทดสอบหลังเรียน Post-test 9. สรปุ ผลการวจิ ัยเพื่อนําเสนอ กลุมเปา หมาย นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 จํานวน 99 คน ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2561 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 อาํ เภอแมแจม จังหวัดเชยี งใหม การเกบ็ รวบรวมขอมลู (ใหเ ขียนขนั้ ตอนการดําเนนิ งานแกไ ขปญ หาอยางเปนขนั้ ตอน ตั้งแตเร่ิมตนจนจบ ถอืวา เปนกระบวนการแกไ ขปญหา อาจเขยี นเปนขอ ๆ เปนลําดับไป)การวิเคราะหขอมูล 1. รวบรวมขอ มลู จากการบันทกึ พฤตกิ รรมท่สี รปุ ไวท ุกสปั ดาห 2. รวบรวมขอมลู จากการบนั ทึกการปฏิบตั กิ ิจกรรมท้ัง 4 กิจกรรม 3. คะแนนจากการทดสอบกอนและหลังเรยี นวธิ กี ารวเิ คราะหขอมูล - ทาํ การวิเคราะหข อ มูลโดยการเปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมที่เปลี่ยนแปลงไปทกุ สปั ดาห ต้งั แตเริ่มตนฝกจนถึงสปั ดาหสุดทายที่เกบ็ ขอ มลู - ทําการวเิ คราะหข อมูลจากการแบบฝก แกโ จทยป ญหาโดยใชรูปภาพประกอบ ท่ไี ดบ นั ทึกไว นาํ มาเปรยี บเทียบความกาวหนา 1. การหาคา เฉลย่ี (Mean) รอ ยละ และสวยเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรียน แบบฝกแกโ จทยปญ หาโดยใชภาพประกอบและวเิ คราะหโจทยปญหา ทง้ั 4 กจิ กรรมของนักเรียนทกุ คน 2. หาคาความถี่ อตั รารอยละ คาเฉลีย่ และคา สว นเบยี่ งเบนมาตรฐานของ แบบสอบถามความคดิ เหน็ นกั เรียนตอ การเรียนรูทุกเรอ่ื ง งานวจิ ยั และพฒั นาการเรียนการสอน กลุม่ บริหารงานวชิ าการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook