Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 หน่วย2_พลเมืองดีของชาติ

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 หน่วย2_พลเมืองดีของชาติ

Published by yooka_s1, 2021-09-19 04:32:09

Description: ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 2 เรื่องพลเมืองดีของชาติ

Search

Read the Text Version

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จาํ กดั : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทร./แฟกซ์ : 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คู่สาย) [email protected] / www.aksorn.com

2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ พลเมอื งดขี องชาติ ตัวช้ีวัด • สรปุ ประโยชนแ์ ละปฏิบัตติ นตามประเพณแี ละวฒั นธรรมในครอบครวั และท้องถิ่น • บอกพฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวติ ของตนเองและผอู้ ่ืนทีอ่ ยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย • อธบิ ายถึงความสาํ คญั ของวันหยดุ ราชการที่สาํ คัญ • ยกตัวอยา่ งบุคคลซง่ึ มีผลงานทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ชุมชนและทอ้ งถิ่นของตน • ระบบุ ทบาทหน้าที่ของสมาชกิ ของชมุ ชนในการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย • วิเคราะห์ความแตกตา่ งของกระบวนการตดั สนิ ใจในชั้นเรียน โรงเรยี น และชุมชน โดยวิธีการออกเสียงโดยตรง และการเลอื กตวั แทนออกเสียง • ยกตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงในชนั้ เรยี น โรงเรียน และชุมชนที่เปน็ ผลจากการตดั สินใจของบคุ คลและกลุ่ม

นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในโรงเรียนและชมุ ชน ตามกระบวนการประชาธิปไตยไดอ้ ย่างไร ?

บทบาทหน้าขท่ีองสมาชิกในชุมชน ผู้สูงอายุ แม่ค้า 1 ใหค้ ําแนะนาํ และถ่ายทอด 72 ประสบการณ์ที่ดใี หส้ มาชกิ ในชมุ ชน ขายสนิ ค้าที่มคี ณุ ภาพใหก้ บั คน ในชุมชน 6 3 ตํารวจ 5 4 นักเรยี น ดแู ลความสงบของบา้ นเมอื ง ป้องกันปราบปรามโจรผรู้ า้ ย เรยี นหนังสือ เชื่อฟงั คาํ ส่ังสอนของ พอ่ แม่และครู ครู แพทย์ อบรมสง่ั สอนใหน้ กั เรยี น มีความรแู้ ละเป็นคนดี ดูแลรกั ษาผู้ป่วยและให้คาํ แนะนาํ ในการป้องกันโรค ผู้ใหญบ่ ้าน ดูแลความสงบสขุ ของลกู บ้าน และใหค้ วามช่วยเหลือ

การมีสว่ นร่วมในชตมุ าชมนกระบวนการประชาธิปไตย เข้าร่วมกจิ กรรมของชมุ ชน

การมสี ว่ นรว่ มในชตุมาชมนกระบวนการประชาธิปไตย ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ของชมุ ชน

การมีสว่ นร่วมในชตมุ าชมนกระบวนการประชาธิปไตย บาํ เพ็ญประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน

การมีสว่ นรว่ มในชตมุ าชมนกระบวนการประชาธิปไตย รว่ มกัน อนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมในชมุ ชน

การมีสว่ นร่วมในชตมุ าชมนกระบวนการประชาธิปไตย มสี ว่ นร่วมในกิจกรรม ทางการเมอื ง

การเลือกตวั แทนในชนั้ เรยี นและโรงเรียน ลกั ษณะของตวั แทน หวั หน้าห้องเรียน ประธานนักเรียน คณะกรรมการห้องเรียนหรือโรงเรยี น • ประสานระหว่างนักเรียนกบั ครู • ประสานระหว่างนักเรยี นกับครู • ชว่ ยในการทาํ งานด้านตา่ ง ๆ ของ • เปน็ ผูด้ ูแลความสงบเรียบรอ้ ย • ช่วยสง่ เสริมนโยบายท่เี ป็นประโยชน์ หวั หนา้ ห้องหรือประธานนกั เรียน ภายในช้นั เรยี น ของโรงเรียน

การเลือกตัวแทนในชัน้ เรยี นและโรงเรียน วธิ ีการเลอื ก การเปล่ียนแปลง การออกเสยี งโดยตรง นักเรยี นในห้องเรียนอย่ใู น โดยมกี ารโหวต หรอื ลงคะแนน ความสงบเรยี บร้อย การเลือกตวั แทน โรงเรียนไดร้ บั การปรบั ปรงุ ไปปฏบิ ตั หิ น้าท่ี พัฒนา สภาพแวดลอ้ มให้ดีขึ้น เลอื กคนท่ีเหมาะสม มีความสามารถ

การเลอื กตวั แทน ในชุมชน ลักษณะของตวั แทน ผ้ใู หญบ่ า้ น นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาํ บล ทําหนา้ ทป่ี กครอง ดูแลความสงบเรียบร้อย ทําหนา้ ท่ีพัฒนาตาํ บล ภายในหมู่บา้ น ดูแลทุกขส์ ขุ ของลูกบ้าน เชน่ สง่ เสริมการมีสาธารณปู โภคทด่ี ี ผูใ้ หญ่บ้านมาจากการเลือกตงั้ ของราษฎรใน มาจากการเลือกตงั้ ของประชาชนในตําบล มีสมาชกิ องค์การบริหารสว่ นตาํ บลเปน็ ผู้ชว่ ย หมบู่ า้ นนนั้ ๆ  กํานนั นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด ทําหนา้ ที่ดูแลรบั ผิดชอบงานตา่ ง ๆ ของตําบล ทําหน้าทพี่ ัฒนาจงั หวดั เชน่ สง่ เสริมคุณภาพ ประสานงานกับทางอําเภอ ชวี ิตของคนในจังหวดั ให้ดขี นึ้ อนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มในจังหวดั กาํ นันมาจากการเลือกต้ังของผใู้ หญ่บา้ น ในตาํ บล เลือกจากผู้ทเี่ ปน็ ผู้ใหญบ่ ้าน มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในจงั หวัด

การเลือกตวั แทน ในชุมชน วธิ กี ารเลือก การเปลีย่ นแปลง การออกเสียงโดยตรง ชมุ ชนสะอาด และเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย มาจากการลงคะแนน ของสมาชิกในชมุ ชน สมาชิกในชุมชนมรี ายไดท้ ี่มั่นคง การเลือกตวั แทน สมาชกิ ในชุมชนมีสุขภาพดีข้นึ ไปปฏบิ ัติหนา้ ท่ี เพื่อไปทํากิจกรรมเรื่องใดเรอ่ื งหน่ึง

ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครวั การแสดงความเคารพและเชื่อฟงั ผูใ้ หญ่ การทํากจิ กรรมรว่ มกนั ในครอบครวั • เม่ือเดินผ่านผู้ใหญ่ ใหแ้ สดงกิริยานอบนอ้ มยกมือไหว้ เดนิ ค้อมตัว หรอื กม้ หัว • รับประทานอาหารรว่ มกนั ควรเช่อื ฟังและปฏบิ ัตติ ามคําสง่ั สอน • หากมีข้อสงสยั ในเร่อื งตา่ งๆ ใหถ้ ามและพดู คุยกนั จนเขา้ ใจ • เมอ่ื มีเวลาวา่ งในวันหยดุ ทกุ คนในครอบครวั ร่วมกันทาํ ความสะอาดบา้ น ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตามประเพณแี ละวัฒนธรรมในครอบครวั • สร้างความสัมพนั ธ์อันดขี องสมาชกิ ในครอบครัว • สง่ เสริมให้สมาชกิ ในครอบครวั ได้แสดงพฤตกิ รรมตอ่ กันอย่างเหมาะสม • ทําใหส้ มาชกิ ในครอบครัวรกั กันและอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ • เกิดความภาคภมู ิใจในประเพณแี ละวฒั นธรรมของครอบครัว • ส่งเสรมิ คุณธรรมให้กบั สมาชกิ ในครอบครัว เช่น ความกตัญญู ความสามคั คี ความมรี ะเบียบวินยั

ประเพณีและวฒั นธรรมในท้องถ่ิน ดา้ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ด้านศาสนา การทําบญุ ข้นึ บา้ นใหม่ การบวช การทาํ พธิ ศี พ การทาํ บญุ ตักบาตร การทาํ พิธีศลี ล้างบาป การละหมาด ประโยชนข์ องการปฏิบตั ติ ามประเพณีและวฒั นธรรมในท้องถิ่น • เกดิ ความเขา้ ใจวิถีชวี ิตของคนในทอ้ งถน่ิ • ช่วยหลอ่ หลอมใหค้ นในท้องถน่ิ มีความรักและความสามคั คีเปน็ อันหนงึ่ อันเดยี วกนั • เกิดความภาคภมู ใิ จในประเพณแี ละวฒั นธรรมของท้องถ่ิน • เกดิ การถา่ ยทอดประเพณีและวฒั นธรรมทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์ของท้องถน่ิ

พฤติกรรมการดําเนนิ ชีวิตในกระแสวฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย การทักทายและการทาํ ความเคารพ พฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวติ คนไทยสว่ นใหญ่จะแสดงความ คนที่มเี ช้ือชาติอน่ื  ๆ เชน่ ผทู้ ่ี นับถอื ศาสนาอสิ ลามจะทักทาย เคารพด้วยการยกมอื ไหว้และ โดยการจบั มือ แลว้ ใหส้ ลาม กลา่ วคาํ ว่า สวสั ดี

พฤตกิ รรมการดําเนินชวี ิตในกระแสวัฒนธรรมทหี่ ลากหลาย การรบั ประทานอาหาร พฤตกิ รรมการดําเนินชวี ติ ภาคเหนือ ภาคกลาง แกงฮังเล นา้ํ พรกิ ปลาทู นํ้าพริกหนมุ่ ต้มยาํ แกงสม้ แกงกะทติ ่าง ๆ ไส้อว่ั ข้าวซอย แคบหมู ภาคอสี าน ภาคใต้ ปลารา้ แกงเหลอื ง ส้มตํา แกงไตปลา แจ่ว ลาบ ก้อย ขา้ วยาํ นํ้าบูดู

พฤตกิ รรมการดําเนนิ ชวี ิตในกระแสวัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย การใชภ้ าษา ภาคเหนือ ภาคกลาง พฤตกิ รรมการดําเนนิ ชีวติ “หมู่เฮาจาวเหนอื ยินดีจ้าดนกั “มาเทยี่ วบา้ นฉันท่ภี าคกลาง ตท้ี ุกคนมาแอ่วภาคเหนือเจา้ ” มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย และมีของกินอรอ่ ยๆ” ภาคอีสาน ภาคใต้ “มาฟงั เสียงพิณ เสยี งแคนแดนอสี าน “ปกั ษใ์ ตบ้ า้ นเรา มเี ลมีเขาสวยงาม บา้ นขอ่ ยมว่ นอีหลี ลาบกอ้ ย ซอยห่าง เชิญมาแล มากนิ อาหารหรอยๆ กนิ แลว้ แซบหลาย” และแหลงใต้กัน”

พฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวติ ในกระแสวัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย การปฏบิ ตั ติ ามความเชอื่ และศาสนา • สวดมนต์ ไหวพ้ ระ ทาํ บุญตกั บาตร เวยี นเทยี น ฟงั ธรรม รกั ษาศีล พฤติกรรมการดาํ เนินชีวติ • พธิ กี ารปฏญิ าณตนเปน็ มสุ ลมิ พิธีละหมาด พิธีฮัจญ์ การถอื ศลี อด • เช่น พิธมี ิสซา เข้าโบสถ์ขอบคุณพระเจ้า • พระราชพธิ ีตรยี ัมพวาย ตรีปวาย พธิ ีสัมสการ พธิ ีแรกนาขวญั

พฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวติ ในกระแสวฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย ศาสนา • นับถอื พระพทุ ธศาสนา จะไปทาํ บุญท่ีวดั • ศาสนาครสิ ต์ จะไปโบสถ์ทกุ วนั อาทิตย์ • ศาสนาอิสลาม จะละหมาดวนั ละ 5 เวลา สาเหตขุ องพฤตกิ รรม เศรษฐกิจ • ถา้ มีรายได้สงู สามารถซ้อื สินคา้ ได้ตามตอ้ งการ • ถา้ มีรายไดต้ ่าํ อาจจะตอ้ งพิจารณาเลอื กซอื้ ส่ิงของ ในการดาํ เนินชวี ติ ท่ีตา่ งกนั ท่ีจําเป็นกอ่ น และต้องช่วยกันประหยัด การศกึ ษา • เม่ือมีความรคู้ วามสามารถ กจ็ ะเกิดผลดตี อ่ ตนเอง ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจในเรือ่ งท่ไี ม่รู้ และสามารถเลือกสิง่ ท่ีมี ประโยชนใ์ ห้กับตนเองได้เสมอ ความเจริญกา้ วหน้า • ปัจจบุ นั มคี วามเจริญก้าวหน้าในด้านของเทคโนโลยี มากขนึ้ เช่น การซักผ้าด้วยมือกับการใช้เคร่ืองซกั ผ้า ทางเทคโนโลยี การใชเ้ ตาถ่านกบั การใช้ไมโครเวฟ

VDO

บุคคลตวั อย่างของชุมชนและท้องถ่นิ นายประสิทธ์ิ เอ่ยี มเช้ือ นายวิเชียร มงคล (ลงุ ม็อง) (หมอดนิ วิเชียร) • ลุงม็องเป็นชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ที่ทุ่มเท • หมอดินวิเชยี รเป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นหมอดิน ให้กับการดูแลรักษาธรรมชาติ โดยต่อสู้เรียกร้องให้ อาสาประจําชุมชน ได้ชักนําให้เกษตรกรในชุมชนหัน เรือประมงลําใหญ่หยุดใช้อุปกรณ์ท่ีทําลายธรรมชาติ มาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ นํ้าหมักชีวภาพ แทนการใช้ปุ๋ยเคมี ต่อต้านการบุกรุกป่าชายเลนเพ่ือทํานากุ้งของนายทุน และยาฆา่ แมลง ส่งผลให้สง่ิ แวดล้อมในชมุ ชนกลบั มาดี จนกลบั มาสมบูรณด์ งั เดมิ เหมือนเดมิ อีกครงั้

วนั หยดุ ราชการเก่ยี วกชับาติและพระมหากษัตริย์ วนั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช และวนั ทีร่ ะลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ 1234 5 ตรงกบั วนั ที่ 6 เมษายนของทุกปี 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 เปน็ วนั ทช่ี าวไทยน้อมราํ ลึกถึงวันเสดจ็ ขึ้นครองราชย์ของ 18 19 20 21 22 23 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) 24 25 26 27 28 29 30 31 ซึ่งทรงเป็นปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งราชวงศจ์ ักรี

วนั หยดุ ราชการเกี่ยวกชบั าตแิ ละพระมหากษตั รยิ ์ วนั ฉัตรมงคล 1234 5 ตรงกบั วนั ที่ 4 พฤษภาคมของทุกปี 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 เป็นวันทร่ี าํ ลกึ ถงึ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก 18 19 20 21 22 23 ข้ึนเปน็ พระมหากษัตริยแ์ หง่ ราชวงศจ์ ักรขี อง 24 25 26 27 28 29 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี ินทรมหาวชริ าลงกรณ 30 31 พระวชิรเกลา้ เจ้าอย่หู วั

วันหยดุ ราชการเกย่ี วกชับาติและพระมหากษัตรยิ ์ 1234 5 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี นิ ทร 18 19 20 21 22 23 มหาวชิราลงกรณ 24 25 26 27 28 29 30 31 พระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ตรงกับวนั ที่ 28 กรกฎาคมของทุกปี

วันหยดุ ราชการเกย่ี วกชบั าตแิ ละพระมหากษัตรยิ ์ 1234 5 วนั เฉลิมพระชนมพรรษา 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ติ์ 18 19 20 21 22 23 พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พนั ปหี ลวง 24 25 26 27 28 29 30 31 และวนั แม่แหง่ ชาติ ตรงกับวันที่ 12 สงิ หาคมของทุกปี เป็นคลา้ ยวนั พระราชสมภพของสมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิตต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง โดยชาวไทยถือวา่ เปน็ วนั แม่แห่งชาติ

วนั หยุดราชการเกย่ี วกชับาติและพระมหากษตั ริย์ วนั คล้ายวนั สวรรคตของ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 1234 5 ตรงกับวนั ท่ี 13 ตลุ าคมของทกุ ปี 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

วนั หยุดราชการเกยี่ วกชบั าตแิ ละพระมหากษตั ริย์ วนั ปยิ มหาราช 1234 5 ตรงกบั วันท่ี 23 ตลุ าคมของทุกปี 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 เป็นวนั คล้ายวนั สวรรคตของ 18 19 20 21 22 23 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว (รชั กาลท่ี 5) 24 25 26 27 28 29 30 31

วันหยดุ ราชการเกย่ี วกชับาติและพระมหากษตั ริย์ วนั รัฐธรรมนญู 1234 5 ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคมของทกุ ปี 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 เปน็ วนั ท่ีชาวไทยน้อมรําลกึ ถงึ วันทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว 18 19 20 21 22 23 (รชั กาลท่ี 7) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ 24 25 26 27 28 29 30 31 พระราชทานรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2475

เดือนทางจันทรคติ วนั หยุดราชการเกี่ยวกศบั าสนา เดอื นอา้ ย เดือนย่ี เดือนสาม เดอื นส่ี เดือนห้า เดือนหก เดอื นเจ็ด เดอื นแปด เดอื นเกา้ เดอื นสิบ เดือนสิบเอ็ด เดอื นสิบสอง วันมาฆบูชา วันวสิ าขบูชา วันอาสาฬหบชู า วันเขา้ พรรษา ตรงกับวนั ขน้ึ 15 ค่าํ เดอื น 3 ตรงกับวันขึน้ 15 ค่ํา เดือน 6 ตรงกบั วันขนึ้ 15 คํ่า เดอื น 8 ตรงกับวนั แรม 1 ค่าํ เดอื น 8 เปน็ วนั ทีน่ อ้ มราํ ลกึ ถงึ วนั ทพ่ี ระพุทธเจา้ เปน็ วันท่ีน้อมรําลกึ ถึงวนั คล้าย เป็นวันท่นี ้อมราํ ลึกถงึ วนั ท่ีพระพทุ ธเจ้าทรง เป็นวนั ท่พี ระสงฆต์ อ้ งเรมิ่ อยู่จําพรรษาท่วี ดั ได้แสดงโอวาทปาตโิ มกข์แก่เหลา่ พระสงฆ์ วันประสตู ิ ตรัสรู้ และปรนิ พิ พาน แสดงปฐมเทศนาแก่ปญั จวัคคีย์และเป็นวนั ที่ 1,250 องค์ ที่มาประชมุ พรอ้ มเพรียงกัน มีพระรตั นตรยั เกดิ ข้ึนครบเป็นครัง้ แรกในโลก เป็นเวลา 3 เดือน ของพระพทุ ธเจ้า ไดแ้ ก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ โดยมไิ ดน้ ดั หมาย พระธรรม

วันหยดุ ราชการเกี่ยปวรกบัะเพณีและวฒั นธรรมไทย วนั สงกรานต์ ตรงกบั วนั ท่ี 13 เมษายนของทกุ ปี การปฏบิ ัติตน ถอื เปน็ วนั ข้นึ ปใี หมข่ องไทยมาตั้งแต่อดตี ทาํ บุญตักบาตรท่ีวัด รดน้ําดาํ หวั ญาตผิ ู้ใหญ่ เลน่ สาดนา้ํ

วนั หยดุ ราชการเกย่ีปวรกบัะเพณแี ละวฒั นธรรมไทย วนั พืชมงคลจรดพแรรกะนนางัขควัญลั • พระราชพิธพี ืชมงคล เปน็ พิธีสงฆ์ จะประกอบพระราชพิธีวนั แรกในอุโบสถ การปฏิบตั ิตน วัดพระศรีรัตนศาสดาราม • ระลึกถงึ ความสาํ คญั ของเกษตรกรไทย และ • พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ เป็นพิธีพราหมณ์ จะประกอบพธิ ีใน อาชพี เกษตรกรรมที่มตี อ่ การดาํ รงชวี ิตของ วนั ถดั จากวันพระราชพิธพี ืชมงคล ณ มณฑลพธิ ีสนามหลวง คนไทยมาอยา่ งยาวนาน

การมสี ่วนรวมในโรงเรยี นและชมุ ชน ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย สามารถปฏิบัตไิ ด้ เช่น เขา้ ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนและชุมชน ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของโรงเรียนและชมุ ชน บําเพญ็ ประโยชน์ต่อชมุ ชน ร่วมอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ในชมุ ชน และมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางการเมอื ง

นักเรยี นบอกได้ไหมว่า หากเราตอ้ งเลอื กตวั แทนในช้ันเรยี น โรงเรียน และชมุ ชน มวี ธิ กี ารเลือกอย่างไรบ้าง

ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครัวและทอ้ งถ่นิ มีประโยชน์อยา่ งไร