Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสายใจ รักเรียน Best-practice

นางสายใจ รักเรียน Best-practice

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-14 02:05:15

Description: Best-practice

Search

Read the Text Version

Best practice ภาพปะติดจากเศษวสั ดุธรรมชาติ จัดทาโดย นางสายใจ รักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

เรื่อง Best practice ชือ่ ผู้จดั ทา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 ตาแหน่ง : ศิลปะภาพปะติดจากเศษวสั ดุธรรมชาติ : นางสายใจ รักเรยี น : ครผู สู้ อน แนวคดิ /หลกั การ จากสภาพปญั หาหรอื ความตอ้ งการตลอดจนการสังเกตของครูผู้สอนในด้านของการสร้างสรรค์ผลงานของ นักเรียนทาให้ข้าพเจ้านามารวบรวมเป็นแนวคิดในการพัฒนารูปแบบผลงานศิลปะภาพปะติดจากเศษวัสดุ ธรรมชาติ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จากการสัมภาษณ์นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1ในประเด็น การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพปะติดจากเศษวัสดุธรรมชาติในครั้งก่อนๆ พอสรุป ได้ว่า ถ้าจะพัฒนารูปแบบ ผลงานศิลปะภาพปะติดจากเศษวัสดุธรรมชาติ ในรูปแบบใหม่ ๆ ท่ีหลากหลาย และมีคุณภาพที่ได้จากการ เรยี นรู้ ตอ้ งใชเ้ วลานานจากการปฏบิ ัติกิจกรรมในช่วั โมงเรยี น ลงทุนมาก เศษวสั ดทุ ส่ี วยๆ หายาก... แต่ถ้าคุณครู มีสว่ นร่วมในการคดิ และสรา้ งสรรคด์ ้วย กน็ า่ จะดี เพราะจะทาใหท้ ราบถงึ ปญั หา และแก้ปญั หาได้ตรงจุด และถ้า ไดร้ ปู แบบใหมๆ่ ทเ่ี กดิ จากการมีส่วนในการรว่ มคิด และร่วมสร้างกน็ า่ ภมู ิใจไมน่ ้อย จากการท่ีนกั เรยี นมคี วามตอ้ งการพัฒนารปู แบบผลงานศลิ ปะภาพปะติดจากเศษวัสดุธรรมชาติ ในรูปแบบ ใหม่ ๆ และบ่งบอกถงึ คุณภาพตามทตี่ อ้ งการ แบบมสี ่วนรว่ มในทุกข้นั ตอนของการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และครูผู้สอนเกิด แนวคดิ ร่วมกนั ในการพัฒนารปู แบบผลงานศลิ ปะภาพ ปะติดจากเศษวัสดุธรรมชาติ ดังนั้นครูผู้สอน มีความตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆด้าน จึง คิดหาแนวทาง/วิธีการที่จะพัฒนา รปู แบบผลงานศลิ ปะภาพปะติดจากเศษวัสดุธรรมชาติ เพื่อนาไปปฏิบัติอย่างเป็นระบบและรูปธรรมที่ชัดเจน ด้วย แนวความคิดวิธีการปฏิบัติ แบบนักเรียนและครูผู้สอนมีส่วนร่วมคิด ร่วมฝัน โดยมีครูผู้สอน และนักเรียน มี ส่วน ร่วมในการดาเนินงาน ทุกข้ันตอน ซ่ึงจะทาให้สามารถกาหนดความต้องการ/กาหนดเป้าหมายการพัฒนาผลงาน ศลิ ปะภาพปะตดิ จากเศษวสั ดธุ รรมชาติ ได้ดว้ ยตนเอง และ ประสบความสาเร็จได้อย่างดี วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรศู้ ลิ ปะดา้ นการเรยี นการสอนในการทาปะติดจากวสั ดุธรรมชาติ 2. เพ่อื สรา้ งสรรค์ผลงานด้านการปะตดิ จากวสั ดุธรรมชาติ

ขั้นตอนการดาเนนิ งาน ศกึ ษาวีธีการทาภาพปะตดิ จากเศษวสั ดธุ รรมชาติ ธรรมชาติ ถา่ ยทอดองค์ความรู้เรื่องภาพปะตดิ จากวสั ดธุ รรมชาติ ประเมนิ ผล ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น ผา่ น ถ่ายทอดองค์ความรู้ขนั้ สงู ทดลองปฏบิ ตั กิ ารปะตดิ ขนั้ สงู ประเมนิ ผล ผลการประเมนิ นานกั เรียนเข้าสกู่ ารแขง่ ขนั ผา่ น ศลิ ปหตั ถกรรม ปฏิบตั อิ ย่างตอ่ เนื่องและรายงานผล

เปา้ หมายเชิงปริมาณ - รอ้ ยละ 95 ของนกั เรียนในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการพัฒนารูปแบบผลงานศิลปะภาพปะ ติดจากเศษวสั ดธุ รรมชาติ ที่มีคุณภาพ โดยวิธกี ารปฏิบตั แิ บบนักเรียนและครูผู้สอนมีส่วนร่วมคิด สร้างสรรค์ สร้าง จินตนาการ ร่วมสรา้ งผลงานการปะติดจากวัสดธุ รรมชาติ ตามแนวทางวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 1. นกั เรียนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 มีความพึงพอใจ ท่ีได้รับการพัฒนารูปแบบผลงานศิลปะภาพปะ ติดจากเศษวัสดุธรรมชาติ ที่มีคุณภาพโดยวิธีการปฏิบัติแบบนักเรียนและครูผู้สอนมีส่วนร่วมคิด สร้างสรรค์ สร้าง จนิ ตนาการ รว่ มสรา้ งผลงานการปะติดจากวสั ดธุ รรมชาติ 2. โรงเรียน ผปู้ กครอง/ชุมชน มีความพึงพอใจผลการพัฒนารูปแบบผลงานศิลปะภาพปะติดจากเศษวัสดุ ธรรมชาติ ท่ีมคี ณุ ภาพ และย่งั ยืนในทุกๆ ด้านโดยวิธกี ารปฏิบตั ิ แบบนักเรยี นและครผู ู้สอนมสี ว่ นร่วมคิด สร้างสรรค์ สรา้ งจินตนาการ ร่วมสร้างผลงานการปะติดจากวัสดุธรรมชาติ วิธีการและนวัตกรรมทเี่ ปน็ เลศิ สง่ เสริมการสร้างจนิ ตนาการ ความคิดสรา้ งสรรค์ การประยกุ ต์ใช้วสั ดจุ ากธรรมชาตมิ า สรรสร้างเป็นผลงาน ทางศิลปะ ซึ่งเปน็ นวตั กรรมการผลงานทางศิลปะผา่ นการใช้วัสดุจากธรรมชาติหรือวัสดุท่ีเหลือใช้มาสร้างศิลปะการ ปะติดก่อให้เกิดมลู ค่า แนวคิดนวัตกรรมการปะติจากวัสดุธรรมชาตินี้สอดคล้องกับแนวทางการส่งเสริมการบริหาร จัดการขยะของสถานศึกษาตามนโยบายของรัฐบาล ในด้านการลดใช้วัสดุจากสารเคมี ส่งเสริมการใช้วัสดุทาง ธรรมชาติและนาไปสู่ Reduce (ลดการใช้วัสดุทางเคมี) Reuse (นาวัสดุธรรมชาติกลับมาใช้ซ้า) และRecycle (นา เศษวัสดุธรรมชาตินั้นกลับมาใช้ใหม่ทางด้านศิลปะการปะติด) นวัตกรรมศิลปะการปะติดจากวัสดุธรรมชาติสร้าง ประโยชน์ ส่งเสริมองค์ความรู้ สร้างจิตนาการ ฝึกฝนให้นักเรียนรู้จักใช้สิ่งของให้เกิดประโยชน์สูงสุด อันจะนาไปสู่ การสรา้ งทกั ษะและพฤตกิ รรมความพอเพียงตามหลักความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ พระเจ้าแผ่นดินผู้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ต่อโรงเรียนราชประชานุเคราะห์อันเป็นสถานศึกษาท่ี พระองคท์ รงจดั ต้ังข้ึนมาดว้ ยพระองคเ์ อง ๑. จดั ตัง้ ชมรมศกึ ษาวสั ดนุ เิ วศธรรมชาติ ใหค้ วามรพู้ ืน้ ฐาน - วัสดุธรรมชาติท่สี ามารถนามาใชใ้ หม่ใหเ้ กิดประโยชน์ - วัสดสุ ีธรรมชาติ จากเปลือก (เช่น เปลือกต้นสน) ใบ (ใบไม้แห้งแทนสี) ดอก (แทนสีต่างๆ) กาบ (รปู ลายต่างๆ) ผล (แทนสี ลกั ษณะรูปพรรณ) ราก (แทนสญั ญาลักษณ์ต่างๆ) รวมถงึ หิน ดิน กรวด ทราย ท่หี าได้ - วัสดุธรรมชาติ ทีม่ ีพิษและไมม่ ีพษิ สามารถนามาใช้ได้และนามาใช้ไม่ได้ - แหล่งเรยี นรวู้ สั ดธุ รรมชาติในท้องถิน่ ๒. จัดตง้ั ชมรมศิลปะการปะตดิ (ศลิ ปะประดิษฐ์) ใหค้ วามรู้ สร้างจนิ ตนาการ ส่งเสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ - การออกแบบศิลปะการปะติด สอดคล้องกบั วิถีชวี ิต วฒั นธรรม ประเพณี ตามพน้ื ทอ้ งถิ่น - การวเิ คราะห์และสรรหาวัสดุทจ่ี ะนามาสร้างสรรค์ศลิ ปะการปะตดิ - การใช้สีวสั ดธุ รรมชาตมิ าใชแ้ ทนสีเคมี โดยในกระบวนการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ซ่ึงจะกาหนดชั่วโมงการจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ ๑ ช่ัวโมง โดยจะ สร้างความรู้พ้ืนฐานในการรู้จักใช้เศษวัสดุจากธรรมชาติ เพ่ือนามาเป็นวัสดุ อุปกรณ์ในการดาเนินการ รวมถึงการ มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นคน้ หาและจดั เก็บวัสดุจากธรรมชาติซึ่งหาได้ภายในโรงเรียน ซ่ึงสามารถเลือกสรร การเก็บให้คง

อยใู่ นสภาพสแี ละรูปแบบตามท่ผี เู้ รียนตอ้ งการนามาใชเ้ ป็นวัสดใุ นการปะตดิ ดังนั้น กระบวนการปฏิบัติตามกิจกรรม ผู้เรียนจะต้องมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับวัสดุตามธรรมชาติ ช่างสังเกต และการถนอมวัสดุธรรมชาติเหล่าน้ันให้คง สภาพตามความต้องการทีจ่ ะใช้ในการปะติด ด้วนเหตุน้ีการประยุกต์ใช้วงจรเดมม่ิงมาใช้ในการดาเนินกิจกรรมจึงมี ความสาคัญและจะสามารถพัฒนาให้ผู้เรยี นมีรูปแบบในการดาเนนิ กจิ กรรม การค้นหาวสั ดุตามธรรมชาตไิ ด้อย่างเป็น ระบบ มีการวางแผน การดาเนินงานและการสรุปผล ตามแนวคดิ วงจรเดมมิ่ง ดังน้ี ๑. ขนั้ การวางแผน (Plan) เป็นขัน้ กระบวนการเรียนรู้และวางแผนในการท่ีออกแบบศิลปะการปะติด การ วางแผนการเก็บวสั ดุจากธรรมชาติที่จะสามารถนามาใช้ประดับเพ่ือให้เกดิ ความสวยงาม ๒. ข้ันการลงมือทา (Do) การลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ ซึ่งจะสามารถดาเนินกิจกรรมไปตาม เป้าหมายท่ีกาหนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งแม่นยา ๓. ขน้ั การตรวจสอบ (Check) เป็นการตรวจสอบและประเมนิ ผลว่าผลงานการปะตดิ ตากวัสดุธรรมชาติของ เรานน้ั มีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด ขั้นตอนน้ีผู้เรียน ผู้สอนหรือคณะครูท่านอื่นๆ ต้องช่วยและสร้างการมีส่วน รว่ มในการตรวจสอบ เพ่ือหาปญั หา ช่องว่าง อปุ สรรค อันจะนาไปสกู่ ารปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ีและสมบูรณ์ย่งิ ขึ้น ๔. ข้ันการปรบั ปรงุ (Act) เพื่อได้ทราบขอ้ ผิดพลาด หรอื มีสว่ นงานใดทต่ี อ้ งมีการปรับปรุงแล้วจึงนาไปสู่การ ปรบั ปรุง เปลยี่ นแปลง การแกไ้ ขปัญหาให้ตรงประเดน็ มากทส่ี ดุ โดยผลงานการปะตดิ จากเศษวสั ดตุ ามธรรมชาตนิ ี้ เม่ือในกระบวนการตามแนวคิดของวงจรเดิมม่ิงนี้แล้วจะ ใหผ้ ลงานทป่ี รากฏประจักษอ์ อกมามคี วามงดงามตามรูปแบบที่ประยุกต์ใช้เศษวัสดุธรรมชาติน้ัน เป็นนวัตกรรมการ สร้างความคดิ สรา้ งสรรคใ์ หเ้ กิดประโยชน์ต่อผเู้ รียน ตอ่ ครู ต่อโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๑ อยา่ งเป็นรปู ธรรม ปจั จัยแห่งความสาเร็จ ๑. ผบู้ ริหาร - ผ้บู รหิ ารสง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ครูได้สรา้ งสรรค์ผลงานทางการเรียนการสอนและพัฒนาทักษะ ของตนเอง จนนาไปสูก่ ารส่งผลงานเขา้ ประกวดในประเภทต่างๆ - ผบู้ ริหารสนบั สนุนวสั ดุ อปุ กรณ์และสือ่ ตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นการดาเนนิ กจิ กรรม/โครงการ - ผบู้ ริหารมกี ารนิเทศงานตามอานาจหนา้ ที่ - ผ้บู ริหารมหี ลักพรหมวหิ ารธรรม คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอเุ บกขา ๒. ผ้สู อน - ผู้สอนมีความมงุ่ มัน่ ต้ังใจ เสยี สละทจี่ ะปฏิบตั หิ นา้ ทขี่ องตนเองอยา่ งมีวนิ ัยและความรับผิดชอบ - ผู้สอนตอ้ งมคี วามใฝ่รู้ การค้นควา้ ฝกึ ทกั ษะ สร้างสอ่ื การเรยี นการสอนให้เกิดประโยชน์ต่อหนา้ ที่ - ผู้สอนมเี วลาและท่มุ เทตอ่ ผูเ้ รียนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ท้ังตอ่ ผูเ้ รยี นและผูส้ อนด้วย - ผู้สอนมีหลักอิทธิบาท ๔ คือ ฉันทะ ความพอใจ วิริยะ ความเพียร จิตตะ การเอาใจใส่ วิมังสา การไตร่ตรอง ๓. ผู้เรยี น - มเี รยี นความตั้งใจเรยี น ใฝร่ แู้ ละมีระเบียบวินัย - ผู้เรยี นตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื และกระตือรอื รน้ ทจ่ี ะทากจิ กรรมรว่ มกัน - ผเู้ รยี นต้องมีความสามัคครี ่วมกนั มสี ่วนรว่ มในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

๔. หน่วยงานอ่นื ท่เี ก่ียวข้อง - ใหค้ วามร่วมมือกบั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ในการสนับสนุนให้ครู นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และหาขอ้ มลู จากแหง่ ธรรมชาติ ท่จี ะนาวสั ดุธรรมชาตมิ าประยกุ ต์เปน็ ศิลปะการปะตดิ ของนกั เรียน - เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงผลงานทางศิลปะในกจิ กรรมทหี่ น่วยงานอืน่ ๆ จัดทาข้นึ ผลการดาเนนิ งาน จากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เป็นการสง่ เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาผู้เรยี นให้รู้จักคุณค่าของสิ่งของ ไม่วา่ จะเป็นส่ิงที่ธรรมชาติสร้างขึ้นหรือสิ่งอานวยความสะดวกท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ทาให้ใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สุด ตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวงรัชกาลที่ ๙ พร้อมทั้ง เป็นการพัฒนาผู้เรียน ในดา้ นการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมและการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและจริงจังของครูผู้สอน ตลอดจนการ นิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ ทาให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จ ส่งผลต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องท้ังทางตรงและ ทางอ้อม ถือเป็นผลงานที่ได้รับประโยชน์ท้ังต่อผู้เรียน ครู โรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานอื่นๆท่ีเก่ียวของซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อทกุ ฝ่าย

ภาพกิจกรรม

ภาพกิจกรรมการทาภาพปะติดจากวสั ดธุ รรมชาติ

ภาพกิจกรรมการทาภาพปะตดิ จากวสั ดธุ รรมชาติ

ภาพปะติดจากวัสดธุ รรมชาติ




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook