Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน นายต่อพงศ์ พูนภิญโญยศ

วิจัยในชั้นเรียน นายต่อพงศ์ พูนภิญโญยศ

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-06 04:15:34

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

เรือ่ ง การศึกษาครูที่พึงประสงคข์ องนักเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 ปีการศึกษา 2563 นายตอ่ พงศ์ พูนภิญโญยศ ครู คศ.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



1 บทท่ี 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ กระแสความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อ การเปล่ียนแปลงทางสภาวะแวดล้อมและวิถีชิวิตของคนในสังคมอย่างมากมายทาให้เกิดปัญหาทาง สังคมตามมาหลายด้าน เช่น ส่ิงแวดล้อม, ปัญหายาเสพติด, ปัญหาโรคเอดส์ ฯลฯ ซ่ึงปัญหาต่าง ๆ เหลา่ นีเ้ กิดข้นึ เน่ืองจากความไมส่ มดลุ ย์กัน ระหวา่ งความเจริญทางเทคโนโลยีและการสอ่ื สารกบั ความ เจริญก้าวหน้าทางการศึกษาของคนไทย ทาให้รัฐบาลไทยต้องเปลี่ยนนโยบายการพัฒนาประเทศ จากที่เคยมุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจมาเป็นการพัฒนาคนแทน ดังน้ันในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 8 จึงได้ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาคนเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้คนเป็น ศนู ยก์ ลางของการพัฒนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ท่านได้พระราชทานพระราชดาริเก่ียวกับครูไว้ น่าสนใจมาก “ ครูเป็นผู้ที่มีความสาคัญอยา่ งยง่ิ ต่อการพัฒนาสติปัญญาของเยาวชนในชาติ ครูเป็น บุคคลท่ีสาคัญและมีความหมายอย่างมากต่อกระบวนการให้การศึกษาเพราะถ้าปราศจากครูซึ่งเป็น ผู้สอน การศึกษาหาความรู้ของเยาวชน จะมีความยากลาบากข้ึนต้องใช้เวลานานมากในการเรียนรู้ แต่ถ้าได้ครูผู้สอนที่ดีความต้ังใจสอนและมีความรู้ดี มีวิธีการถ่ายทอดที่เหมาะสมย่อมจะช่วยให้ การศกึ ษาบรรลเุ ปา้ หมายได้สะดวกรวดเรว็ และงา่ ยขนึ้ ซง่ึ แนวพระราชดารินี้ สอดคล้องกับมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีให้ความหมายของครู ว่า “ ครูเป็นบุคลากร วิชาชีพ ซ่ึงทาหน้าท่ีหลักทางการศึกษาด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการ ตา่ ง ๆ ในสถานศกึ ษาทงั้ ของรัฐและเอกชน ” นอกจากนี้สมัชชาเด็กให้ความเห็นเก่ียวกับครูที่พวกเขาต้องการว่า “ คือ ครูที่ใจดี มีเหตุผล มีศีลธรรม ซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีความม่ันใจในตัวเอง พร้อมท่ีจะเป็นท่ีปรึกษาให้คาแนะนาไม่ ลาเอียง ไม่ข่มขู่แต่คอยเอาใจใส่ดูแลให้กาลังใจ ไม่ลงโทษด้วยวิธีรุนแรง ไม่ใช้อารมณ์ มีวิธีการสอน ที่สนุกสนาน ไม่สอนเร็วหรือช้าเกินไป ไม่ให้งานมากและครูจะต้องมีหน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใส เป็นกัลยาณมติ รกบั เด็ก ” จากความคาดหวังของสังคม และบุคลากรหลายระดับท่ีหวังให้ครมู ีบทบาทหน้าท่ีสาคัญและ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นแบบอย่างและเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาประเทศและพัฒนา พลเมืองของชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศท้ังทางด้านคุณธรรม ความรู้ และ ความสามารถตา่ ง ๆ แตก่ ็ยงั มีครูบางคนทพี่ ยายามประพฤติ ปฏบิ ัติตนผดิ วนิ ัย จรรยาบรรณของครูท่ี ดี เป็นทีเ่ ส่อื มเสียตอ่ สถาบันวิชาชีพครูเปน็ อย่างมาก ดังทเ่ี ป็นขา่ วในหนา้ หนงั สือพมิ พ์อยบู่ ่อย ๆ เช่น ครูลงโทษนักเรียนด้วยวิธีรุนแรง ครูข่มขืนและทาอนาจารลูกศิษย์ ครูขายยาเสพติด เป็นต้น ซง่ึ พฤตกิ รรมเหล่าน้เี ป็นพฤติกรรมที่รา้ ยแรงทส่ี ดุ ท่นี ักเรียนทุกคนไม่พงึ ประสงค์ใหม้ ใี นตัวครู แต่ยังมีพฤติกรรมบางอย่างท่ีครูทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 หรือครูที่โรงเรียนอื่น ๆ ชอบประพฤติปฏิบัติดว้ ยความเคยชนิ เป็นพฤติกรรมท่ีนักเรียนไม่พึงประสงค์ ให้ครูกระทาเช่นกัน ได้แก่ ด้านการสอน ครูสอนโดยยึดตัวครูเป็นสาคัญครูเป็นใหญ่แต่เพียงผเู้ ดยี ว ครูเปน็ คนถกู เสมอครไู ม่เคยเป็นผ้ผู ิดด้านวชิ าการ ครูสอนแตใ่ นตาราเรยี นครมู ีความรแู้ คบไม่กวา้ งไกล

2 ด้านสุขภาพกายและจิต ครูชอบใช้อารมณ์ และแสดงอารมณ์ฉุนเฉียวกับนักเรียนโดยไม่มีเหตุผล ด้านมนุษยสัมพันธ์ ครูพูดจากับนักเรียนด้วยถ้อยคาที่ไม่สุภาพใช้คาท่ีรุนแรง ด้านบุคลิกลักษณะ ครูบางคนแตง่ กายไม่สภุ าพนงุ่ กระโปรงสั้นเกนิ ไป ด้านการอบรมและการปกครอง ครไู ม่ค่อยใหค้ วาม ยุติธรรมกับนักเรียนเท่าที่ควรด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ครูบางคนไม่ค่อย มี ความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ ชอบละทงิ้ หนา้ ท่ีและเขา้ สอนไมต่ รงเวลา ซ่ึ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ห ล่ า น้ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ภ า พ พ จ น์ ที่ ดี ข อ ง ค รู ใ น ส า ย ต า ข อ ง นั ก เ รี ย น ที่ ม อ ง ว่าครู คือแม่พิมพ์ที่เป็นต้นแบบท่ีดีของพวกเขาเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุน้ีจึงทาให้ผู้วิจัยสนใจและต้องการ ทราบความคิดเห็นและความต้องการของเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 21 ซ่ึงเป็นพลเมืองของพวกเขาตามท่ีพวกเขาพึงประสงค์และผู้วิจัยก็เป็นครู สนับสนุนการสอนรับทราบความต้องการของเขา เพ่ือจะได้นาผลการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มาปรับปรุง และพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน เพื่อให้เกิดผลดีต่อการจัดการเรียนการสอนให้ เกดิ ประสิทธิภาพตอ่ ไป จุดประสงค์กำรวิจัย 1. เพ่ือศกึ ษาระดับและจดั ลาดบั ที่ของคุณลกั ษณะของครูทีพ่ ึงประสงคท์ ้ัง 8 ดา้ น ตามทศั นะของ นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. เพอ่ื ศกึ ษาระดับและจัดลาดับท่ขี องคุณลกั ษณะของครูท่พี ึงประสงค์ เป็นรายข้อในแตล่ ะดา้ น ทงั้ 8 ดา้ น ตามทศั นะของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย สมมติฐำนของกำรวจิ ัย ในการศึกษาค้นควา้ คร้ังน้ี ผวู้ ิจัยไดต้ งั้ สมมตฐิ านไวด้ ังนี้ นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ถึง ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จะแสดงความคิดเห็นตอ่ คณุ ลักษณะของครูทงั้ 8 ดา้ น แตกตา่ งกัน ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รบั ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ คร้ังนี้ จะทาให้ทราบวา่ นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มีความตอ้ งการครู ทีม่ ีคณุ ลักษณะอยา่ งไร เพ่ือเปน็ แนวทางให้ครู และผบู้ รหิ ารโรงเรยี นได้ปรับปรงุ แก้ไขคุณลกั ษณะ ของครใู หม้ คี วามเหมาะสมยงิ่ ขนึ้ เพ่อื เปน็ แบบอย่างที่ดีงามของนักเรียนต่อไป ขอบเขตของกำรวิจยั ในการศึกษาคุณลักษณะของครูทพ่ี งึ ประสงค์ ตามทัศนะของนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 ผวู้ ิจยั ไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิ ยั ดังนี้ 1. ประชากร ประชากร ได้แก่ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ทก่ี าลงั ศึกษาอยใู่ นภาคเรียน ท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 โดยสมุ่ เพยี งห้องละ 10 คน จานวน 12 หอ้ ง รวม 120 คน

3 2. ขอบเขตเนือ้ หา การวจิ ัยครง้ั น้ี มงุ่ ศึกษาทัศนะของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 ทม่ี ีต่อคุณลกั ษณะของครทู ่พี ึงประสงค์ท้ัง 8 ดา้ น 1. ดา้ นการสอน ได้แก่ วิธีสอน และการใช้สื่อการสอนของครู 2. ด้านวชิ าการ ไดแ้ ก่ ความรูค้ วามสามารถของครู 3. ด้านสุขภาพกายและจติ ได้แก่ สุขภาพของครู และการควบคุมอารมณ์ของครู 4. ด้านมนุษยสมั พนั ธ์ ได้แก่ การปฏิบัติตัวของครูตอ่ นักเรียนและบุคคลทั่วไป 5. ด้านคณุ ธรรมและความประพฤติ ได้แก่ การแตง่ กายและการวางตัวของครู 6. ดา้ นบคุ ลกิ ลักษณะ ได้แก่ การแตง่ กายและการวางตวั ของครู 7. ดา้ นการอบรมและการปกครอง ได้แก่ ความสนใจเอาใจใส่ของครูท่ีมีตอ่ นักเรยี น 8. ด้านการเป็นพลเมอื งดใี นสงั คมประชาธิปไตย ไดแ้ ก่ ความมีระเบียบวนิ ัยและความรับ ผิดชอบต่อหน้าท่ีของครู ตวั แปรท่ศี ึกษำ ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ถึง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ของโรงเรยี นราชประชา นเุ คราะห์ 21 ท่ีมตี ่อคุณลักษณะของครูทพ่ี ึงประสงค์ทั้ง 8 ดา้ น คือ 1. ด้านการสอน 2. ด้านวชิ าการ 3. ด้านสขุ ภาพกายและจิต 4. ด้านมนษุ ยสัมพนั ธ์ 5. ด้านคณุ ธรรมและความประพฤติ 6. ด้านบุคลกิ ลักษณะ 7. ด้านการอบรมและการปกครอง 8. ดา้ นการเป็นพลเมอื งดใี นสังคมประชาธิปไตย ข้อจำกดั ของกำรวิจัย การวจิ ยั ครัง้ น้ีเป็นการทาการศกึ ษาวจิ ัยเฉพาะในโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 เทา่ นั้น นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. คณุ ลักษณะ หมายถงึ เครอื่ งมือหรือสิง่ ทีช่ ้ีใหเ้ ห็นความดีในสงั คม หรือลกั ษณะประจาตวั 2. คณุ ลกั ษณะของครทู ี่พงึ ประสงค์ หมายถึง พฤติกรรมหรือสง่ิ ทีแ่ สดงออกทางบคุ ลิกภาพ ท่าที อปุ นสิ ยั ความประพฤติ ความรู้ ความสามารถของครู ซงึ่ เป็นท่ีต้องการของนักเรยี นมี 8 ขอ้ คือ ดา้ นการสอน ด้านวชิ าการ ดา้ นสุขภาพกายและจิต ดา้ นมนุษยสมั พันธ์ ดา้ นคุณธรรมและความ ประพฤติ ดา้ นบคุ ลกิ ลักษณะ ด้านการอบรมและการปกครอง และดา้ นการเปน็ พลเมอื งดใี นสังคม ประชาธปิ ไตย 3. ครู หมายถึง ผทู้ ด่ี ารงตาแหน่ง ขา้ ราชการครูและปฏิบัตหิ นา้ ทีอ่ ยใู่ นโรงเรยี นอสั สัมชญั ระยอง

4 4. ทศั นะ หมายถงึ ความเห็นและการรบั รู้ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ถงึ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ทมี่ ีต่อคุณลกั ษณะของครทู ั้ง 8 ดา้ น 5. นกั เรยี น หมายถึง ผทู้ ่ีกาลงั ศกึ ษาเลา่ เรียนอยใู่ นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 บทท่ี 2 แนวคิดและทฤษฎที ีใ่ ช้ในกำรวจิ ยั ในการวจิ ยั คร้งั นี้ผวู้ ิจัยได้ศึกษาเอกสารท่ีเก่ยี วข้องเพื่อเปน็ แนวทางในการทาวจิ ยั ในหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ความหมายของคาว่า “ ครู ” 2. ความสาคญั ของครู 3. บทบาทและหน้าท่ขี องครู 4. จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539 5. จรรยาบรรณครูของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 6. คุณธรรมของครู 7. คุณลักษณะของครทู ี่พงึ ประสงค์ 7.1. ตามแนวพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 7.2. ตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี ครู ควำมหมำยของคำวำ่ “ ครู ” คาว่า ครู ซึ่งแต่เดิม มีรากศัพท์มาจากคาว่า “ คุรุ – ครุ ” ในภาษาบาลีและสันสกฤต ซ่ึงแปลว่า ผู้มีความหนักแน่น , ผู้ควรศิษย์เคารพ, ผู้สั่งสอน ซึ่งก็คล้ายคลึงกับความหมายใน พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพุทธศักราช 2525 ที่ว่า “ ครู ” คือ ผู้สั่งสอนศิษย์ผู้ถ่ายทอด ความรใู้ ห้แก่ศษิ ย์ ไดแ้ ก่ผู้ท่ที าหนา้ ทีส่ ่ังสอนใหก้ ารศกึ ษาแกผ่ ู้อืน่ และในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า ครู ได้ดังนี้ ครูหมายความว่า บุคลากรวิชาชพี ซ่ึงทาหน้าท่ีหลักทางด้านการสอนในสถานศึกษาหลกั ทงั้ ของรฐั และเอกชน นอกจากนี้ แนวคิดทางปรชั ญาในลัทธิต่าง ๆ กไ็ ดใ้ หค้ วามหมายของคาวา่ ครู ไว้เชน่ กนั ดังนี้ 1. ลทั ธิจิตนยิ มถือวา่ ครู คือแม่พิมพ์ยกให้ครูเปน็ ผ้อู าวุโสและมีวฒุ ิภาวะสูงกวา่ นักเรียนต้อง เปน็ แบบอย่างที่ดีท้ังดา้ นวุฒิปัญญา และบคุ ลิกภาพ 2. ลัทธิสัจนยิ มหรือวตั ถนุ ยิ ม ถือวา่ ครคู ือผูส้ าธิตสามารถแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความจรงิ ของโลก ประหนึ่งว่านักโฆษณา หรอื มัคคุเทศก์ 3. ลัทธิโทมัสนิยมใหม่ ถือว่า ครู คือ ผู้รักษาวินัยทางความคิด เป็นเสมือนนายทางปัญญา หรือผู้อานวยการฝึกฝนทางปัญญาและความคิดเป็นพิธีกรทางปัญญา หรือเป็นผู้พัฒนาอานาจทาง ความคิดนัน่ คอื ครจู ะตอ้ งเป็นผูท้ ี่มีความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลมคี วามเชื่อมั่นและมีความจาดี

5 4. ลัทธิประสบการณ์นิยมถือว่า ครูเป็นเสมือนผู้อานวยการโครงการวิจัยเป็นเพียงผู้มีส่วน ร่วมในกระบวนการเรียนของนักเรียน ครูมิใช่ตัวกลางหรือผู้นาสาร แต่อยู่ในฐานะผู้ดูแลให้แต่ละคน ดาเนินงานไปส่เู ป้าหมาย 5. ลัทธิอัตถิภาวะนิยมถือว่า ครูคือผู้คอยกระตุ้น หรือ ยั่วยุเป็นผู้ปลุกให้นักเรียนต่ืนขึ้นมา เพ่ือให้เห็นตัวเอง ป้อนคาถามให้คิด เพื่อให้นักเรียนกระตือรือร้นและเกิดความสานึกโดยไม่ล้อม ตัวเองไวใ้ นกรอบของสงั คม สรุปความหมายของครูในทัศนะต่าง ๆ สรุปได้ว่า ครู คือ แม่พิมพ์ที่สาคัญเพราะจะต้องหล่อ หลอม ให้มีความรู้ในวิชาการต่าง ๆ มีคุณธรรมความดีและมีสติปัญญาเพ่ือท่ีศิษย์จะได้นาความรู้ ความคิดและคุณธรรมที่ครูถ่ายทอดไปเป็นแนวทางในการดารงชีวิตในสังคมต่อไปในอนาคตดังน้ัน ครูจงึ ควรประพฤติตนและปฏิบัติตนใหเ้ ปน็ ผมู้ ีความรู้ดี มคี ุณธรรมและมีสติปัญญาเพื่อเปน็ แบบอย่าง ทีด่ ีแกศ่ ิษย์ต่อไป ควำมสำคัญของครู จากอดีตท่ีผ่านมา ครูมีความสาคัญต่อสังคมมากมาย จนกระท่ังสังคมยกย่องให้ครูเป็น ปูชนียบุคคล, เป็นพ่อแม่คนท่ีสองของศิษย์ เพราะนอกจากครูจะคอยส่ังสอนอบรมวิชาความรู้ต่าง ๆ แล้วครจู ะตอ้ งคอยดูแลเอาใจใส่ต่อสุขทุกข์ของศษิ ย์ ความเจรญิ ก้าวหน้าของศิษย์และคอยปกป้อง มิให้ศิษย์กระทาความช่ัวต่าง ๆ อีกด้วย งานของครู เป็นงานสร้างสรรค์ท่ีบริสุทธ์ิเพราะเป็นการ วางรากฐานความรู้ ความดี และความสามารถทุกๆด้านแก่ศิษย์ เพ่ือช่วยให้สามารถดารงตนเป็นคน ดี มีอาชีพเป็นหลักฐาน และเป็นประโยชน์แก่สังคม เพื่อความสาเร็จ ความก้าวหน้าและความสุข ความเจริญของผู้อ่ืนตลอดชีวิต จะเห็นได้ว่า ครูไม่ใช่บุคคลธรรมดาแต่ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญ ต่อสังคมและประเทศชาติอย่างย่ิงเพราะครูเป็นท้ังผู้สร้าง และผู้กาหนดอนาคตของเยาวชน สังคม และประเทศชาติ ให้พัฒนาไปในทิศทางท่ีต้องการและถูกต้องแต่ความคาดหวังท่ีหลายฝา่ ยหวังไวก้ ับ ครู จะสาเร็จได้ก็ต้องข้ึนอยู่กับความรับผิดชอบ ความตั้งใจจริง ความเสียสละ ความเอาใจใส่ ความอดทน ในการท่จี ะอบรมสง่ั สอนศษิ ย์ของครูนั่นเอง บทบำทและหน้ำทข่ี องครู ในสภาพปจั จุบัน ครนู บั ว่าเป็นผูท้ ่ีมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาสงั คมและประเทศชาติเพราะ ครูมีหน้าท่ีต้องพัฒนาคน พัฒนาความคิด พัฒนาความรู้ และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ เยาวชนของชาติ เพ่ือทีพ่ วกเขา จะไดเ้ ป็นคนทม่ี คี ุณภาพของสังคมตอ่ ไป ดังนั้นจึงไดก้ าหนดบทบาท หน้าท่ขี องครูไว้ดังนี้ 1. ครูจะต้องเป็นนักวิจยั เก็บขอ้ มูลให้ละเอียดวา่ ปัญหาสังคมในปจั จบุ ันมีอะไรทค่ี รูจะต้อง รว่ มมือแกไ้ ข 2. ครตู อ้ งเป็นนักวเิ คราะห์ เมือ่ หาข้อมูลมาพร้อมก็นาปัญหาเหล่านัน้ มาวิเคราะหต์ น้ ตอของ ปญั หาใหล้ ะเอยี ด 3. ครูต้องเป็นนักวิจารณ์ท้ังปัญหาของตนเอง ของนักเรียนและสังคมด้วยวิธีจิตวิทยาเพื่อ ความกระจ่างของปญั หา ครจู ะตอ้ งเป็นคนกล้าทีจ่ ะแสดงวา่ ครเู ข้าใจปัญหาและพร้อมท่จี ะแก้ปัญหา

6 4. ครจู ะตอ้ งมีความสามารถนาคณุ ค่าของบทเรยี นมาเปน็ ตวั เชื่อมโยงผสมผสานให้เกิด การแก้ไขปญั หาในสงั คมอยา่ งมีประสิทธิภาพ สรุปได้ว่ำ ครูจะต้องทาทุกวิถีทาง เพื่อท่ีจะทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทุกด้าน มีความก้าวหน้า ทั้งทางด้านความรู้ สตปิ ญั ญา และคุณธรรม ประพฤติตนเปน็ คนดีของสังคม แต่สงิ่ ทหี่ วงั จะเปน็ จริง ได้ ครูจะต้องพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถด้านการสอน เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตนดี เป็นท่ีน่าเคารพนับถือ รวมท้ังเป็นแบบอย่างที่ดี แก่เยาวชนและสังคม เสยี ก่อน จงึ จะไดช้ ื่อว่าเปน็ ครูได้เหมาะสมกับบทบาทและหนา้ ที่ จรรยำบรรณครู จรรยาบรรณครู หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับความประพฤติหรือการปฏิบัติตนของ ผู้ประกอบวิชาชีพครู เพ่ือรักษาหรือส่งเสริมเกียรติคุณข่ือเสียงและฐานะของความเป็นครูไทย ได้มบี ัญญัตเิ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร และกฎหมายรองรบั เป็นครัง้ แรก เมื่อ พ.ศ.2506 โดยอาศยั อานาจ บังคับของพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 ท่ีกาหนดให้คุรุสภาเป็นสถาบันผู้ออกระเบียบข้อบังคับได้ เรียกว่า ระเบียบประเพณีของครู ว่าด้วยจรรยาบรรณครู 10 ข้อ และระเบียบว่าด้วยวินัยครู 10 ขอ้ จนกระทั่งปี พ.ศ.2539 คุรุสภาได้ปรับปรุงข้อบังคับเก่ียวกับจรรยาบรรณของครูข้ึนใหม่ โดยตัดข้อความท่ีมีลักษณะเป็นวินัยออกไปเหลือเพียงบทบัญญัติท่ีมีลักษณะเป็นจริยธรรมหรือ จรรยาบรรณ เรียกว่า ระเบียบคุรุสภาว่าด้วย จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539 โดยประกาศใช้ตั้งแต่ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2539 มีทงั้ หมด 9 ข้อ ดงั นี้ 1. ครูตอ้ งรักศิษยแ์ ละเมตตาศษิ ย์ โดยใหค้ วามเอาใจใส่ชว่ ยเหลอื ส่งเสริม ใหก้ าลงั ใจใน การศกึ ษาแก่ศษิ ย์โดยเสมอหนา้ 2. ครตู อ้ งอบรม ส่งั สอน ฝกึ ฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทกั ษะและนสิ ยั ทีถ่ ูกต้องดงี ามใหแ้ ก่ศษิ ย์ อยา่ งเต็มความสามารถดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ 3. ครตู อ้ งประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กศ่ ิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ 4. ครตู อ้ งไม่กระทาตนเป็นปฏปิ กั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศษิ ย์ 5. ครตุ อ้ งไม่แสวงหาประโยชนอ์ นั เป็นอามิสสนิ จา้ งจากศษิ ยใ์ นการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ตี ามปกติ และไม่ใช้ศษิ ย์กระทาการใด ๆ อนั เป็นการหาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นโดยมชิ อบ 6. ครูยอ่ มพัฒนาตนเองทง้ั ในดา้ นวชิ าชีพ ดา้ นบุคลกิ ภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทนั ต่อการ พัฒนาทางวทิ ยาการเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ 7. ครยู ่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกทด่ี ีขององค์กรวชิ าชพี ครู 8. ครพู งึ ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู ครูและชุมชนในทางสรา้ งสรรค์ 9. ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เปน็ ผูน้ าในการอนุรักษแ์ ละพัฒนาภมู ิปัญญา และวฒั นธรรม ไทย

7 ดังน้ัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ จึงได้กาหนดจรรยาบรรณครูของ สานักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชนแห่งชาติขึ้นมา เพ่ือกาหนดให้ครูทุกคนต้องถือปฏิบัติ มี 12 ข้อ ดังนี้ 1. ตอ้ งรักษาความสามคั คี ช่ือเสยี งของหมู่คณะและสถานศึกษาทสี่ งั กดั อยู่ 2. ตอ้ งไม่ลบลู่ ดูหมน่ิ ศาสนา 3. ต้องรักษาชือ่ เสียง มิใหข้ ้ึนชอื่ วา่ ประพฤตชิ วั่ 4. ไมล่ ะทิ้งการสอน อุทศิ เวลาให้แก่ศิษย์ และต้งั ใจปฏิบัตหิ นา้ ที่ดว้ ยความเสยี สละ 5. ตอ้ งรักษาความลับของศิษย์ เพอื่ นรว่ มงานและสถานศึกษา 6. ต้องถือปฏบิ ัตติ ามแบบธรรมเนยี มทดี่ ีของสถานศึกษา 7. ต้องประพฤติตนและปฏบิ ัติหน้าท่ดี ้วยความซ่ือสตั ย์ สุจรจิและเท่ียงธรรม โดยไม่เห็น แกป่ ระโยชนอ์ นั มิชอบ 8. ตอ้ งไมป่ ิดบังอาพราง หรือบดิ เบือนเนื้อหาสาระทางวชิ าการ 9. ต้องไมด่ ูหมิ่นเหยยี ดหยามเพ่ือนร่วมงานและบุคคลใด ๆ เช่อื ฟังและไมก่ ระด้างกระเด่ือง ตอ่ ผูบ้ ังคบั บัญชา ซึง่ ส่ังการในหน้าท่กี ารงานโดยชอบดว้ ยกฎหมาย และระเบียบแบบแผนของ สถานศึกษา 10. ตอ้ งไม่เบียดบังใชแ้ รงงาน หรอื นาผลงานของศิษย์ไปเพือ่ ประโยชนส์ ่วนตวั 11. ตอ้ งไมน่ าหรือยอมให้นาผลงานทางวชิ าการของตนไปใชใ้ นทางทุจริต หรอื เปน็ ภัยต่อ มนุษยชาติ 12. ต้องไม่นาผลงานของผู้อื่นมาแอบอา้ งเป็นผลงานของตนเอง จะเห็นไดว้ า่ จรรยาบรรณครูท้ัง 2 ฉบบั เปรียบเสมอื นศีลธรรมของครูท่ีกาหนดข้ึนเพ่ือเป็น แนวทางให้ครูได้ประพฤติปฏิบัติให้เป็นปกตินิสัย ถ้าครูปฏิบัติได้ทุกข้อตามจรรยาบรรณครูท้ัง 2 ฉบับแล้ว สังคมก็จะศรัทธาและให้ความสาคัญกับอาชีพครูอันจะนาไปสู่การมีเกียรติและศักดิ์ศรี แห่งวชิ าชพี ครู คุณธรรมของครู คุณธรรมของครู หมายถึง คุณสมบัติท่ีเป็นความดี ความถูกต้องเหมาะสม ซ่ึงมีอยู่ภายใน จิตใจของผู้เป็นครูและเป็นแรงผลักดัน ให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูกระทาหน้าที่ของครูได้อย่างสมบูรณ์ คณุ ธรรมของครจู าแนกไดด้ งั นี้ 1. มคี วามร้เู พียงพอและถูกต้องในระดบั ที่สอน 2. รบั ฟังความคดิ เหน็ และเคารพเหตุผลของผู้อ่นื 3. พิจารณาคุณค่าของนกั เรียนแต่ละคนด้วยเหตุผล 4. ตดั สินหรอื ลงโทษนกั เรียนอยา่ งมเี หตุผล 5. ยดื หยนุ่ ต่อปัญหาต่าง ๆ และหาทางแก้ไขดว้ ยสันติวธิ ี 6. มีความคดิ รเิ ริ่ม 7. นาวิธกี ารใหม่ ๆ มาใชป้ รับปรงุ การทางานของตน 8. มคี วามยตุ ิธรรมไม่ลาเอียง 9. มีอารมณม์ ั่นคงและสามารถควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ตลอดเวลา

8 10.ไม่คดิ แสวงหาผลประโยชน์ทางวตั ถุเกินความจาเป็น 11. ซื่อสัตยส์ จุ ริตและจริงใจ 12. ภูมิใจในความสาเร็จของตนเอง 13. ให้เกยี รตแิ กเ่ พื่อนรว่ มอาชีพและบคุ คลทั่วไป 14. ไมด่ หู มน่ิ ศาสนาอนื่ 15. มคี วามกรุณาและสนใจเดก็ เป็นรายบุคคล 16. รักษาความลับของศิษย์ 17. เออื้ เฟอ้ื เผื่อแผ่ชว่ ยเหลือนกั เรยี นตามสมควร 18. เสยี สละเพ่ือประโยชนข์ องสังคม 19. ไมอ่ าฆาตพยาบาทศษิ ย์ 20. ให้ความไว้วางใจแกผ่ ู้ร่วมงาน คุณธรรมของครูทงั้ 20 ประการน้ี ผเู้ ป็นครจู ะต้องรู้จักหยบิ ยกมาใช้เพ่ือเปน็ มรรคผลนาไปสู่ ความสาเร็จแห่งอาชีพ และที่สาคัญจะต้องนามาใช้ควบคู่กันไปกับจริยธรรมของครูบนพื้นฐานแห่งอุ มดมคตแิ ละวิญญาณของครู คุณลักษณะของครูดี ครู คือแบบอย่างท่ีดีของศิษย์ เป็นผู้สร้างสมาชิกใหม่ของสังคมให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีมี คุณภาพแก่สังคม ธรรมชาติของ อาชีพครูเป็นอาชีพท่ีต้องเก่ียวข้องสัมผัสกับบุคคลอื่นอยู่เสมอ ฉะน้ัน ครูจึงต้องเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และใฝ่พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ทั้งทางด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงและความก้าวหน้าทางวิชาการ ตลอดจน เทคโนโลยีตา่ ง ๆ คณุ ลกั ษณะของครูดีตำมแนวพระรำชดำรสั ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอย่หู ัวรชั กำลท่ี 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงมีพระราชดารัสถึงคุณสมบัติของผเู้ ป็นครูว่า “ ครูที่แท้นั้น เป็นผู้ทาแต่ความดี คือต้องหม่ันขยันและอุตสาหะพากเพียรต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ต้องหนักแน่นอดกลั้นและอดทน ต้องรักษาวินัย สารวมระวังความประพฤติปฏิบัติของตนให้อยู่ใน ระเบียบแบบแผนท่ีดีงาม ต้องปลีกใจจากความสะดวกสบายและความสนุกสนานรื่นเริงที่ไม่สมควร แก่เกียรติภูมิสของตน ต้องต้ังใจให้ม่ันคงแน่วแน่ต้องซื่อสัตย์ รักษาความจริง ต้องเมตตาหวังดี ต้องวางใจเป็นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ต้องอบรมปัญญาให้เพิ่มพูน สมบูรณ์ข้ันทั้งด้าน วิทยาการและความฉลาดรอบรู้ในเหตุผล ” จากกระแสพระราชดารัส ก็สรุปคุณสมบัติของครูได้ 9 ขอ้ คอื 1. ครูตอ้ งมีความอุตสาหะ ขยนั หมั่นเพียร 2. ครูตอ้ งมีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ 3. ครตู อ้ งมคี วามหนักแนน่ อดทน อดกลน้ั 4. ครูตอ้ งมคี วามประพฤติ ปฏิบตั ติ น ในระเบยี บแบบแผน และวินยั 5. ครตู อ้ งมคี วามตั้งใจมน่ั คงแน่วแน่

9 6. ครตู อ้ งมีความซือ่ สตั ย์จริงใจ 7. ครตู ้องมเี มตตา หวังดี 8. ครตู ้องมคี วามเปน็ กลาง 9. ครูตอ้ งมกี ารอบรมเพม่ิ พูนปญั ญาวิชาความรู้ มเี หตผุ ล คณุ ลกั ษณะของครดู ีตำมเกณฑ์มำตรฐำนวิชำชีพครู พ.ศ. 2537 มี 11 ขอ้ ดังน้ี 1. ครตู อ้ งปฏิบัติกิจกรรมทางวชิ าการเกย่ี วกับการพฒั นางวิชาชีพครอู ยู่เสมอ 2. ครตู อ้ งตดั สินใจปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ โดยคานงึ ถึงผลที่จะเกิดกับผ้เู รียน 3. ครูต้องมุง่ ม่นั พฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ 4. ครูตอ้ งพัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏบิ ตั ิได้เกดิ ผลจรงิ 5. ครูต้องพฒั นาสื่อการสอนให้มีประสิทธภิ าพอยูเ่ สมอ 6. ครตู ้องจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผลถาวรให้เกดิ แกผ่ ู้เรียน 7. รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รยี นได้อยา่ งมรี ะบบ 8. ปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแกผ่ ูเ้ รียน 9. รว่ มมือกับผู้อ่นื ในสถานศึกษาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 10. รว่ มมอื กับผู้อื่นอย่างสรา้ งสรรคใ์ นชุมชน 11. แสวงหาและใช้ข้อมลู ขา่ วสารในการพัฒนา จากคุณลักษณะของครูท่ดี ี ซ่ึงครูทุกคนควรยดึ ถือและนาไปปฏบิ ตั ิเพราะจะเกิดผลดตี อ่ ตวั ครู เองและเป็นแบบอยา่ งท่ีดขี องศษิ ยท์ จ่ี ะนาไปประพฤติปฏบิ ัตใิ นสังคมต่อไปในอนาคต

10 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ กำรวิจยั ในการวิจยั ครง้ั นี้ผวู้ จิ ัยดาเนินการศึกษาคน้ คว้าตามหวั ข้อดังต่อไปนี้ 1. ประชากร 2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการรวบรวมขอ้ มลู 3. ขัน้ ตอนการสร้างเครื่องมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย 4. สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ประชำกร ประชากรท่ใี ช้ในการศึกษาคร้ังนไ้ี ดแ้ ก่นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ของโรงเรยี นราชประชา นุเคราะห์ 21 ซงึ่ กาลงั ศกึ ษาอย่ใู นระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ถงึ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 12 ห้องและใชว้ ธิ ีสุ่มอย่างง่ายห้องเรียนละ 10 คน รวม 120 คน เครอื่ งมอื ท่ใี ชก้ ำรรวบรวมข้อมลู เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูลครง้ั น้ีเป็นแบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่ามี 3 ระดับ ซ่ึงผู้วิจยั สร้างขึ้นเอง โดยแบง่ แบบสอบถามออกเปน็ 2 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามเก่ยี วกับ คุณลักษณะของครทู ี่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยผู้วิจัยได้กาหนดคุณลักษณะของ ครูท่ีพึงประสงค์ไว้ท้ังหมด 8 ด้าน แบบสอบถามมี 50 ข้อ ลักษณะของแบบสอบถามจะถาม ความตอ้ งการของนกั เรยี นตอ่ คณุ ลกั ษณะของครูทพี่ ึงประสงค์ โดยมเี กณฑใ์ ห้นา้ หนักคะแนนดงั นี้ 3 คะแนน หมายถึง ต้องการมาก 2 คะแนน หมายถึง ต้องการปานกลาง 1 คะแนน หมายถงึ ต้องการนอ้ ย ขั้นตอนกำรสรำ้ งเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นกำรวิจยั สรา้ งเครือ่ งมือท่ีผู้วจิ ัยใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผ้วู ิจยั อาศัยหลักและแนวคดิ ในการสรา้ ง ดังตอ่ ไปน้ี 1. ศกึ ษาเอกสาร คุณลกั ษณะของครทู พี่ ึงประสงคต์ ามทัศนะของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษา ตอนตน้ 1.1. นาข้อมูลและความรู้ท่ีได้มาสร้างแบบสอบถามประเภทมาตราสว่ นประมาณ คา่ 3 ระดับ 1.2. นาแบบสอบถามทส่ี ร้างเสร็จเรยี บร้อย ไปปรกึ ษาผู้รู้ เพ่อื ตรวจสอบแก้ไขให้ ถูกต้องแล้วนาไปปรับปรุงแก้ไข

11 1.3. นาแบบสอบถามท่ตี รวจแก้ไขแล้วนาไปใช้กบั กลุ่มประชากร ได้แก่ นกั เรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1.4. นาข้อมลู ที่ไดไ้ ปวิเคราะห์ตามวิธที างสถติ กิ ารวจิ ยั โดยหาคา่ รอ้ ยละ สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ระดับและจัดลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ตามทัศนะของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยรวม 8 ด้าน และเป็น รายข้อในรายดา้ น ด้วยการใชส้ ถิตพิ ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ 1. ค่าคะแนนเฉลีย่ ( mean ) 2. คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน ( Standard deviation ) บทที่ 4 ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 วิเคราะหด์ ังนี้ 1. วิเคราะห์ระดับและจัดลาดับที่ของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ทั้ง 8 ด้าน ตามทศั นะของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 2. วิเคราะห์ระดบั และจัดลาดับทข่ี องคณุ ลักษณะของครุที่พึงประสงค์ เป็นรายข้อในแตล่ ะ ดา้ นท้งั 8 ด้าน ตามทัศนะของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นอสั สัมชัญระยอง สัญลักษณ์ท่ใี ช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู N แทน จานวนประชากร X แทน คะแนนเฉล่ยี SD แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกณฑ์ที่ใช้ในกำรแปลควำมหมำยขอ้ มลู ผู้วิจยั ไดใ้ ชเ้ กณฑ์ในการแปลความหมายข้อมลู ออกเปน็ 3 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.00 หมายถงึ นกั เรยี นต้องการคุณลกั ษณะของครทู ี่พงึ ประสงค์ ในระดบั สูง คะแนนเฉลีย่ 1.51 – 2.50 หมายถึง นกั เรียนต้องการคณุ ลักษณะของครทู ี่พงึ ประสงค์ ในระดับปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 1.00 - 1.50 หมายถึง นักเรยี นตอ้ งการคณุ ลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ในระดบั ต่า

12 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับและลาดับท่ีของคุณลักษณะของครู ที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ทง้ั 8 ดา้ น ตำรำงที่ 1 คะแนนเฉล่ีย ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับคณุ ลักษณะและลาดับทีข่ องคณุ ลักษณะ ของครูท่พี ึงประสงค์ตามทศั นะสของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 ทง้ั 8 ดา้ น คณุ ลกั ษณะของครทู ่ีพงึ ประสงค์ N = 120 ระดับ ลาดับ X SD คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ 1. ด้านการสอน 2.4169 .5381 ปานกลาง 5 2. ดา้ นวชิ าการ 2.1798 .5409 ปานกลาง 8 3. ดา้ นสขุ ภาพกายและจติ 2.5055 .5530 สูง 3 4. ดา้ นมนษุ ยสัมพนั ธ์ 2.4931 .6177 ปานกลาง 4 5. ดา้ นคณุ ธรรมและความประพฤติ 2.5076 .5481 สูง 2 6. ด้านบคุ ลกิ ลักษณะ 2.3927 .5848 ปานกลาง 6 7. ดา้ นการอบรมและการปกครอง 2.3623 .6824 ปานกลาง 7 8. ด้านการเปน็ พลเมอื งดใี นสังคม 2.5195 .5591 สูง 1 ประชาธปิ ไตย รวม 2.3790 .6209 ปานกลาง จากตารางที่ 1 แสดงว่า ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ( X อยใู่ นระหว่าง 2.1798 – 2.5195 ) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน ระดับของคุณลักษณะของ ครูที่พึงประสงค์อยู่ในระดับ สูง และ ปานกลาง ส่วนลาดับที่ของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ตามทศั นะของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 ปรากฏว่า ลาดบั 1 ดา้ นการเป็นพลเมืองดีในสงั คมประชาธิปไตย ลาดับ 2 ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ลาดับ 3 ดา้ นสุขภาพกายและจติ ลาดับ 4 ด้านมนุษยสัมพันธ์ ลาดับ 5 ดา้ นการสอน ลาดบั 6 ดา้ นบุคลิกลกั ษณะ ลาดบั 7 ดา้ นการอบรมและการปกครอง ลาดับ 8 ด้านวิชาการ

13 ตำรำงที่ 2 คะแนนเฉลย่ี ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับคณุ ลกั ษณะและลาดับทข่ี องคุณลักษณะ ของครู ทพ่ี งึ ประสงคต์ ามทัศนะของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ในด้านการสอน ด้านการสอน N = 120 ระดับ ลาดบั X SD คุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะ 1. ครูสอนตรงเวลา 2.31 .60 ปานกลาง 2. ครูพูดออกเสียงคาควบกล้า และเสยี ง ร,ล 2.38 .61 6 ไดช้ ดั เจน ปานกลาง 3. ครูสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นแสดงความสามารถตาม 2.46 .60 4 ความถนัด 4. ครใู หน้ ักเรยี นจัดกิจกรรมประกอบการเรยี นชว่ ย 2.55 .62 ปานกลาง 2 ใหน้ กั เรียนมีความสขุ ในการเรียน 5. ครสู อดแทรกข้อคิดคติธรรมเตอื นสตใิ หน้ ักเรียน 2.33 .74 สูง 1 2.42 .70 6. ครูนาสอื่ มาใชป้ ระกอบในการสอน 2.38 .66 ปานกลาง 5 7. ครพู านักเรยี นไปเรยี นนอกหอ้ งเรยี นเพอ่ื ให้เหน็ ปานกลาง 3 ของจริง 2.42 .54 ปานกลาง 4 รวม ปานกลาง จากตาราง 2 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ในด้านการสอน ตามทัศนะ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 โดยเฉล่ยี แล้วอยูใ่ นระดับ ปานกลาง ( x = 2.31-2.55 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะของครูที่พึง ประสงค์ ด้านการสอนขอ้ ที่ 4 ครใู ห้นกั เรยี นจดั กิจกรรมประกอบการเรยี นชว่ ยให้นักเรียนมีความสุข ในการเรียน อยู่ในระดับสูง ส่วนคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน ข้อท่ี 1,2,3,5,6,7 อยใู่ นระดบั ปานกลาง

14 ตำรำงท่ี 3 คะแนนเฉล่ีย ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับคุณลักษณะและลาดับที่ของคุณลกั ษณะ ของครูท่ีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ในดา้ น วชิ าการ ดา้ นวิชาการ N = 120 ระดบั ลาดับ X SD คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะ 8. ครมู ีความรูร้ อบตัวหลายดา้ น 2.53 .59 9. ครูมีความสามารถพิเศษ เชน่ พูด 2.39 .62 สงู 2 ภาษาตา่ งประเทศ คอมพิวเตอร์ และเล่นดนตรี ได้ 2.57 1.98 ปานกลาง 5 10. ครูพานกั เรียนเขา้ ห้องสมดุ เพื่อหาความรู้ เพิม่ เติม 2.43 .67 สูง 1 11. ครูสามารถนาวัสดเุ หลอื ใชม้ าประดิษฐเ์ ป็น 4 ส่ิงของให้นักเรยี นใชเ้ รียน 2.52 .65 ปานกลาง 3 12. ครูขยนั ทดสอบและวดั ความร้ขู องนักเรียน 2.18 .54 สงู รวม ปานกลาง จากตาราง 3 แสดงวา่ ระดับคณุ ลกั ษณะของครูท่ีพงึ ประสงค์ในด้านวชิ าการ ตามทัศนะของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉล่ียแล้วอยู่ในระดับ ปานกลาง ( x = 2.39 – 2.57 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะของครูท่ีพึง ประสงค์ ด้านวิชาการข้อที่ 10 ครูพานักเรียนเข้าห้องสมุดเพ่ือหาความรู้เพ่ิมเติม ข้อท่ี 8 ครูมีความรู้รอบตวั หลายดา้ นและขอ้ ท่ี 12 ครขู ยนั ทดสอบและวดั ความรู้ของนกั เรยี น อยู่ในระดบั สูง สว่ นคณุ ลักษณะของครูท่ีพงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น ข้อท่ี 9, 11 อยู่ในระดบั ปานกลาง

15 ตำรำงที่ 4 คะแนนเฉล่ีย ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับคุณลักษณะและลาดับท่ีของคุณลกั ษณะ ของครู ทพี่ ึงประสงคต์ ามทัศนะของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ในดา้ น สุขภาพกายและจติ ดา้ นสขุ ภาพกายและจิต N = 120 ระดบั ลาดับ X SD คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ 13. ครูมสี ุขภาพแข็งแรง 2.52 .63 14. ครมู ีอารมณข์ ันบางโอกาส สูง 4 15. ครูใจเย็นไม่โกรธง่าย 2.59 .63 16. ครูไม่ขบี้ ่น สงู 3 17. ครไู ม่ใช้อารมณฉ์ นุ เฉียวกบั นกั เรยี น 2.62 .58 สูง 1 รวม 2.49 .66 ปานกลาง 5 2.60 .60 สูง 2 2.51 .55 สูง จากตาราง 4 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ในด้านสุขภาพกายและจิต ตามทศั นะของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ ในระดับ สูง ( x = 2.49 – 2.62 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ด้านสุขภาพกายและจิตข้อท่ี 16 ครูไม่ข้ีบ่น อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคุณลักษณะของครูที่พึง ประสงคข์ องนกั เรียน ข้อท่ี 13,14,15,17 อย่ใู นระดับ สงู ตำรำงท่ี 5 คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับคุณลักษณะและลาดับที่ของคุณลักษณะ ของครู ท่ีพึงประสงคต์ ามทัศนะของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 ในด้านมนุษยสมั พนั ธ์ ดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์ N = 120 ระดบั ลาดบั X SD คณุ ลกั ษณะ คณุ ลักษณะ 18. ครูใจดี 2.67 .53 19. ครเู ป็นกนั เองกบั นักเรียนทกุ คน 2.60 .58 สูง 1 20. ครูจาชือ่ และเรียกชอื่ นักเรยี นได้ถูกต้อง 2.59 .61 สูง 4 21. ครพู ดู จาสภุ าพ 2.65 .54 สูง 5 22. ครไู ม่พดู เหยยี ดหยามนักเรียน 2.56 .60 23. ครูไม่ข่มขนู่ ักเรยี น 2.57 .58 สูง 2 24. ครปู ฏิบัตกิ ับนกั เรียนไดเ้ หมาะสมกับเพศและวัย 2.44 .58 สูง 7 25. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามและแสดงความ 2.61 .59 สูง 6 คดิ เห็น ปานกลาง 8 2.49 .62 รวม สูง 3 ปานกลาง

16 จากตาราง 5 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้านมนุษยสัมพันธ์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉลี่ยแล้ว อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.44 – 2.67 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะของครูที่ พึงประสงค์ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ข้อท่ี 24 ครูปฏิบัติกับนักเรียนได้เหมาะสมกับเพศและวัย อยู่ใน ระดับปานกลางส่วนคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ของนักเรียน ข้อท่ี 18,19,20,21,22,23,25 อยใู่ นระดับ สูง ตำรำงท่ี 6 คะแนนเฉล่ีย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับคุณลักษณะและลาดับที่ของคุณลักษณะ ของครู ท่พี งึ ประสงค์ตามทัศนะของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ในด้าน คณุ ธรรมและความประพฤติ ด้านคณุ ธรรมและความประพฤติ N = 120 ระดับ ลาดบั X SD คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ 26. ครไู ม่ดื่มสรุ า 2.85 2.89 27. ครูไม่สบู บุหร่ี สูง 1 28. ครูไม่เลน่ การพนัน 2.54 .63 29. ครูซอื่ สตั ย์ สงู 4 30. ครรู ักและเมตตานักเรียนเหมือนลูกหลาน 2.49 .63 31. ครูประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีแกน่ ักเรยี น ปานกลาง 5 และสงั คม 2.59 .51 สูง 3 รวม 2.60 .59 สูง 2 2.60 .56 สูง 2 2.51 .55 สงู จากตาราง 6 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ในด้านคุณธรรมและความ ประพฤติ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉลย่ี แล้วอยใู่ นระดบั สูง ( x = 2.49 – 2.85 ) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ คุณลักษณะ ของครูที่พึงประสงค์ ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ข้อที่ 28 ครูไม่เล่นการพนัน อยู่ในระดับ ปานกลางส่วนคุณลักษณะของครทู ่ีพึงประสงค์ของนักเรียน ข้อที่ 26,27,29,30,31 อยูใ่ นระดับ สงู ตำรำงท่ี 7 คะแนนเฉลีย่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับคณุ ลักษณะและลาดบั ที่ของคณุ ลักษณะ ของครู ทีพ่ ึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21ในดา้ น บุคลกิ ลกั ษณะ ดา้ นบคุ ลกิ ลักษณะ N = 120 ระดับ ลาดับ X SD คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ 32. ครแู ต่งกายเรียบร้อย 2.52 .65 33. ครูเป็นคนสุภาพอ่อนโยน สูง 5 2.66 .54 สงู 1

17 34. ครพู ดู เสียงดังฟงั ชัด ไม่พดู เรว็ เกนิ ไป 2.62 .59 สูง 3 35. ครูว่องไวกระฉบั กระเฉง 2.64 .50 สูง 2 36. ครูคุยเกง่ และคุยสนุก 2.57 .60 สงู 4 2.39 .58 ปานกลาง รวม จากตาราง 7 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้านบุคลิกลักษณะ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉล่ียแล้ว อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.52 – 2.66 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะของครู ท่ีพึงประสงค์ ด้านบุคลิกลักษณะ ข้อที่ 32,33,34,35,36 อยใู่ นระดบั สูง ตำรำงท่ี 8 คะแนนเฉล่ีย ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับคุณลักษณะและลาดับที่ของคุณลกั ษณะ ของครู ท่ีพึงประสงคต์ ามทัศนะของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 ในดา้ นการอบรมและการปกครอง ดา้ นการอบรมและการปกครอง N = 120 ระดบั ลาดบั X SD คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ 37. ครูสนใจและเอาใจใสด่ ูแลนักเรยี น 2.57 .54 38. ครเู ป็นท่ีพึ่งและใหค้ าปรึกษานกั เรยี นเมื่อมี 2.57 .53 สูง 2 ปัญหา 39. ครคู อยชว่ ยเหลือและติดตามผลการเรียนของ 2.55 .63 สูง 2 นกั เรยี น 40. ครสู ง่ เสรมิ ยกย่องนักเรียนทท่ี าดี 3.65 5.41 สงู 4 41. ครใู หค้ วามยตุ ิธรรมกับนกั เรยี นทุกคน 2.31 .53 42. ครูไมบ่ งั คับจติ ใจนักเรยี น 2.49 .48 สูง 1 43. ครไู มล่ งโทษนักเรียนดว้ ยวธิ รี ุนแรง 2.54 .50 ปานกลาง 7 2.36 .68 ปานกลาง 6 รวม 5 สูง ปานกลาง จากตาราง 8 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ในด้านการอบรมและการ ปกครองตามทศั นะของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉลย่ี แล้วอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( x = 2.31 – 3.65 ) เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อพบว่าคณุ ลกั ษณะของ ครูที่พึงประสงค์ ด้านการอบรมและการปกครอง ข้อที่ 41 ครูให้ความยุติธรรมกับนักเรียนทุกคน และข้อท่ี 42 ครูไม่บังคับจิตใจนักเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคุณลักษณะของครูที่พึง ประสงคข์ องนักเรยี น ข้อที่ 37,38,39,40,43 อยู่ในระดับ สูง

18 ตำรำงที่ 9 คะแนนเฉล่ยี ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดบั คณุ ลกั ษณะและลาดบั ท่ีของคุณลักษณะ ของครู ที่พึงประสงคต์ ามทัศนะของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 ในดา้ น การเป็นพลเมืองดใี นสงั คมประชาธิปไตย ดา้ นการเปน็ พลเมอื งดีในสังคมประชาธิปไตย N = 120 ระดบั ลาดับ X SD คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ 44. ครมู รี ะเบยี บวินยั ในตนเอง 2.64 .45 2.55 .45 สงู 3 45. ครูมคี วามรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี 2.58 .63 2.61 .42 สูง 6 46. ครูมุ่งม่ันและต้งั ใจทางานในหนา้ ท่ีให้เกิดผลดี 47. ครมู ีเหตุผลและยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของ 2.80 .40 สูง 5 นกั เรียน 48. ครูสามารถทางานร่วมกับผูอ้ น่ื ได้อย่างมี 2.86 .43 สงู 4 ความสุข 49. ครสู นับสนนุ และให้ความร้เู กี่ยวกับโครงการ 2.41 .62 สูง 2 ประชาธิปไตยในโรงเรียน 2.52 .56 50. ครคู อยดูแลรกั ษาทรัพย์สินสมบัติของสว่ นรวม สูง 1 รวม ปานกลาง 7 สงู จากตาราง 9 แสดงว่าระดับคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้านการเป็นพลเมืองดีใน สังคมประชาธปิ ไตย ตามทศั นะของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ในระดับ สูง ( x = 2.41 – 2.8 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าคุณลักษณะ ของครูท่ีพึงประสงค์ ด้านการเป็นพลเมืองดีสังคมประชาธิปไตย ข้อที่ 50 ครูคอยดูแลทรัพย์สิน สมบัติของส่วนรวม อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน ข้อท่ี 44,45,46,47,48,49 อยใู่ นระดบั สูง

19 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ จุดประสงคก์ ำรวิจัย 1. เพอ่ื ศกึ ษาระดับและจัดลาดบั ท่ีของคุณลกั ษณะของครูท่พี ึงประสงคท์ ้ัง 8 ดา้ น ตามทศั นะของ นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. เพือ่ ศกึ ษาระดับและจดั ลาดับท่ขี องคุณลักษณะของครูท่ีพงึ ประสงค์ เป็นรายข้อในแต่ละดา้ นทง้ั 8 ดา้ น ตามทศั นะของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สมมติฐำนของกำรวจิ ัย ในการศึกษาค้นคว้าคร้งั นี้ ผู้วิจัยไดต้ ัง้ สมมติฐานไวด้ ังนี้ นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ถึง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จะแสดงความคดิ เห็นตอ่ คุณลกั ษณะ ของครทู ้งั 8 ดา้ น แตกต่างกัน ประชำกร ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังนไ้ี ดแ้ ก่ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ 21 ซึง่ กาลังศกึ ษาอย่ใู นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ถึง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 12 หอ้ ง และใชว้ ธิ สี ่มุ อย่างง่าย หอ้ งเรียนละ 10 คน รวม 120 คน เครอื่ งมือท่ใี ช้กำรรวบรวมข้อมลู เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมลู คร้ังน้ีเปน็ แบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่ามี 3 ระดับ ซึง่ ผ้วู ิจัยสร้างขน้ึ เอง โดยแบง่ แบบสอบถามออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามเก่ยี วกบั คุณลักษณะของครูท่ีพงึ ประสงค์ตามทัศนะของนกั เรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 โดยผ้วู จิ ยั ได้กาหนดคุณลักษณะของ ครทู ี่พึงประสงค์ไว้ท้ังหมด 8 ดา้ น แบบสอบถามมี 50 ข้อ ลักษณะของแบบสอบถามจะถามความ ตอ้ งการของนักเรียนต่อคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ โดยมเี กณฑใ์ หน้ ้าหนักคะแนนดงั น้ี 3 คะแนน หมายถึง ต้องการมาก 2 คะแนน หมายถึง ต้องการปานกลาง 1 คะแนน หมายถงึ ต้องการนอ้ ย

20 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มประชากรท้ัง 120 คน พร้อมอธิบายวิธีการตอบแล้วให้ประชากรทาพร้อมกันทั้งห้อง ห้องละ 10 คน จนครบ 12 ห้อง 2. ผู้วจิ ยั เกบ็ แบบสอบถามคนื ด้วยตนเองจากลุ่มประชากรครบ 120 ชุด ไดแ้ บบสอบถามคนื ทง้ั 120 ชุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ระดับและจัดลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ตามทัศนะของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 โดยรวม 8 ด้าน และเป็น รายข้อในรายด้าน ด้วยการใชส้ ถติ พิ น้ื ฐาน ไดแ้ ก่ 1. คา่ คะแนนเฉลีย่ ( mean ) 2. คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน ( Standard deviation ) ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าคร้ังนีส้ รปุ ไดว้ ่า 1. ระดับของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ตามคุณลักษณะทั้ง 8 ด้าน พบว่า อยู่ในระดับ ปานกลาง และลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ นับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปยังต่าสุด เรียง ตามลาดบั ได้ ดังนี้ ลาดับ 1 ดา้ นการเป็นพลเมืองดใี นสังคมประชาธปิ ไตย ลาดบั 2 ด้านคณุ ธรรมและความประพฤติ ลาดบั 3 ด้านสุขภาพกายและจิต ลาดบั 4 ดา้ นมนษุ ยสมั พนั ธ์ ลาดบั 5 ดา้ นการสอน ลาดับ 6 ดา้ นบุคลกิ ลักษณะ ลาดับ 7 ด้านการอบรมและการปกครอง ลาดับ 8 ด้านวชิ าการ 2. ระดับและลาดับที่ของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพื่อพิจารณาเป็นรายข้อในแต่ละด้านท้ัง 8 ดา้ น สรุปไดด้ ังน้ี 2.1. ด้านการสอน ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพ่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยใู่ นระดบั สูง มี 1 ข้อ ได้แก่ ครูให้นกั เรียนจดั กจิ กรรมประกอบการเรียนช่วยใหน้ กั เรียนมีความสุข

21 ในการเรียนและคุณลักษณะท่ีอยู่ในระดับปานกลาง มี 6 ข้อ ได้แก่ ครูสอนตรงเวลา ครูพูดออก เสียงคาควบกล้า และเสียง ร,ล ได้ชัดเจน ครูส่งเสริมให้นักเรียนแสดงความสามารถตามความถนัด ครูสอดแทรกข้อคิดคติธรรมเตือนสติให้นักเรียน ครูนาสื่อมาใช้ประกอบในการสอน และ ครูพา นักเรียนไปเรียนนอกห้องเรียนเพื่อให้เห็นของจริง ส่วนลาดับที่ของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ในด้านการสอน เรียงตามลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสดุ ไปยงั ต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูให้นักเรียนจัดกิจกรรม การเรียนช่วยให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน 2.) ครูส่งเสริมให้นักเรียนแสดงความสามารถตาม ความถนัด 3.) ครนู าสอื่ มาใชป้ ระกอบในการสอน 4. ) ครูพานักเรยี นไปเรียนนอกห้องเรียนเพ่ือให้ เห็นของจริง 4. ) ครูพูดออกเสียงคาควบกล้า และเสียง ร,ล ได้ชัดเจน 5. ) ครูสอดแทรกข้อคิดคติ ธรรมเตือนสตใิ หน้ ักเรียน 6.) ครสู อนตรงเวลา 2.2. ด้านวิชาการ ระดับของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ในระดับสูง มี 3 ข้อ ได้แก่ ครูมีความรู้รอบตัวหลายด้าน ครูพานักเรียนเข้าห้องสมุดเพ่ือหา ความรู้เพิ่มเติม ครูขยันทดสอบและวัดความรขู้ องนักเรียน และคุณลักษณะที่อยู่ในระดับปานกลาง มี 2 ข้อ ได้แก่ ครูมีความสามารถพิเศษ เช่น พูดภาษาค่างประเทศ คอมพิวเตอร์ และเล่นดนตรี ได้ ครูสามารถนาวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของให้นักเรียนใช้เรียน ส่วนลาดับที่ของ คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้านวิชาการ เรียงตามลาดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูพานักเรียนเข้าห้องสมุดเพ่ือหาความรู้เพิ่มเติม 2. ) ครูมีความรู้รอบตัวหลายด้าน 3.) ครูขยันทดสอบและวัดความรู้ของนักเรียน 4. ) ครสู ามารถนาวัสดุเหลอื ใช้มาประดิษฐ์เปน็ ส่ิงของ ให้นักเรียนใช้เรียน 5.) ครูมีความสามารถพิเศษ เช่นพูดภาษาต่างประเทศ คอมพิวเตอร์ และเล่น ดนตรีได้ 2.3. ด้านสุขภาพกายและจิต ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพ่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยูใ่ นระดบั สงู มี 4 ขอ้ ได้แก่ ครูมีสุขภาพแขง็ แรง ครูมีอารมณ์ขนั บางโอกาส ครูใจเย็นไมโ่ กรธงา่ ย ครูไมใ่ ชอ้ ารมณ์ฉนุ เฉียวกบั นักเรียน นักเรยี น และคุณลกั ษณะที่อยูใ่ นระดบั ปานกลางมี 1 ข้อ ครู ไม่ข้ีบ่น ส่วนลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้านสุขภาพกายและจิต เรียงตามลาดับ คะแนนเฉล่ียสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูใจเย็นไม่โกรธง่าย 2. ) ครูไม่ใช้อารมณ์ฉุนเฉียวกับ นักเรียน 3. ) ครมู ีอารมณ์ขันบางโอกาส 4.) ครมู ีสุขภาพแขง็ แรง 5. ) ครูไมข่ บี้ น่ 2.4. ดา้ นมนษุ ยสัมพันธ์ ระดับของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยใู่ นระดบั สูง มี 7 ข้อ ไดแ้ ก่ ครใู จดี ครูเปน็ กันเองกับนักเรยี นทุกคนครูจาช่ือและเรียกชื่อนักเรียน ได้ถูกต้อง ครูพูดจากสุภาพ ครูไม่พูดเหยียดหยามนักเรยี น ครูไม่ข่มขู่นักเรียน ครูเปิดโอกาสให้ นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น และคุณลักษณะท่ีอยู่ในระดับปานกลางมี 1 ข้อ ได้แก่ ครูปฏิบัติกับนักเรียนได้เหมาะสมกับเพศและวัย ส่วนลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ใน ด้านมนุษยสัมพันธ์ เรียงตามลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังนี้ 1. ) ครูใจดี 2. ) ครูพูดจา สุภาพ 3.) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 4. ) ครูเป็นกันเองกับนักเรียน ทุกคน 5. ) ครูจาชื่อและเรียกช่ือนักเรียนได้ถูกต้อง 6.) ครูไม่ข่มขู่นักเรียน 7.) ครูไม่พูดเหยียด หยามนกั เรียน 8. ) ครูปฏบิ ัตกิ บั นักเรยี นได้เหมาะสมกบั เพศและวยั

22 2.5. ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 เพอ่ื พจิ ารณาเป็น รายข้อพบว่า อยใู่ นสูงมี 5 ข้อ ได้แก่ ครไู มด่ มื่ สุรา ครไู ม่สูบบุหรี่ ครูซื่อสัตย์ ครูรักและเมตตา นักเรียนเหมือนลูกหลาน ครูประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและสังคม และคุณลักษณะ ท่ีอยู่ในระดับปานกลางมี 1 ข้อ ได้แก่ ครูไม่เล่นการพนัน ส่วนลาดับท่ีของคุณลักษณะของครูที่พึง ประสงค์ในด้านคุณธรรมและความประพฤติ เรียงตามลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูไม่ด่ืมสุรา 2. ) ครรู กั และเมตตานกั เรยี นเหมอื นลูกหลาน 2.) ครูประพฤตติ นเปน็ แบบอย่าง ท่ดี ีแก่นกั เรียนและสังคม 4. )ครูไมส่ บู บุหร่ี 5. ) ครไู ม่เลน่ การพนัน 2.6. ด้านบุคลิกลักษณะ ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ตามทัศนะของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพ่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ในสูงทุกข้อ ได้แก่ ครูแต่งกายเรียบร้อย ครูเป็นคนสุภาพอ่อนโยน ครูพูดเสียงดังฟังชัด ไมพ่ ูดเร็วเกินไป ครวู ่องไวกระฉบั กระเฉง ครูคยุ เก่งและคุยสนุก ส่วนลาดับทข่ี องคุณลักษณะของครู ที่พึงประสงค์ในด้านบุคลิกลักษณะ เรียงตามลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูเป็นคนสุภาพอ่อนโยน 2. ) ครูว่องไวกระฉับกระเฉง 3. ) ครูพูดเสียงดังฟังชัดเจน 4.) ครคู ุยเก่งและคุยสนกุ 5.) ครูแตง่ กายเรยี บร้อย 2.7. ด้านการอบรมและการปกครอง ระดับของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ตามทศั นะของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 เพือ่ พิจารณาเป็น รายข้อพบว่า อยู่ในสูง 5 ข้อ ได้แก่ ครูสนใจและเอาใจใส่ดูแลนักเรียน ครูเป็นท่ีพึ่งและให้ คาปรึกษานักเรียนเม่ือมีปัญหา ครูคอยช่วยเหลือและติดตามผลการเรียนของนักเรียน ครูส่งเสริม ยกย่องนักเรยี นทที่ าดี ครูไม่ลงโทษนักเรียนด้วยวธิ รี นุ แรง และคุณลักษณะที่อยู่ในระดบั ปานกลาง มี 2 ข้อ ได้แก่ ครูให้ความยุติธรรมกับนักเรียนทุกคน ครูไม่บังคับจิตใจนักเรียน ส่วนลาดับท่ีของ คุณลกั ษณะของครูท่ีพึงประสงค์ในดา้ นการอบรมและการปกครอง เรยี งตามลาดบั คะแนนเฉล่ียสูงสุด ไปยังต่าสุดได้ดังน้ี 1. ) ครูส่งเสริมยกย่องนักเรียนที่ทาดี 2. ) ครูสนใจและเอาใจใส่ดูแลนักเรียน 2.) ครูเปน็ ท่ีพง่ึ และให้คาปรกึ ษานักเรียนเมื่อมปี ัญหา 4.) ครคู อนชว่ ยเหลอื และตดิ ตามผลการเรียน ของนักเรียน 5. ) ครูไม่ลงโทษนักเรียนด้วยวธิ ีรุนแรง 6.) ครูไม่บังคับจิตใจนักเรียน 7. ) ครูให้ ความยุตธิ รรมกบั นกั เรยี นทกุ คน 2.8. ด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ระดับของคุณลักษณะของครูที่พึง ประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เพื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ในสูง 6 ข้อ ได้แก่ ครูมีระเบียบวินัยในตนเอง ครูมีความ รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ครมู ุ่งมน่ั และตัง้ ใจทางานในหนา้ ทีใ่ หเ้ กิดผลดี ครูมเี หตุผลและยอมรับฟังความ คิดเห็นของนักเรียน ครูสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ครูสนับสนุนและให้ความรู้ เก่ียวกับโครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน และคุณลักษณะที่อยู่ในระดับปานกลางมี 1 ข้อ ครู คอยดูแลรักษาทรัพย์สินสมบัติของส่วนรวม ส่วนลาดับที่ของคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ในด้าน การเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย เรียงตามลาดับคะแนนเฉล่ียสูงสุดไปยังต่าสุดได้ดังนี้ 1. ) ครูสนับสนุนและให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน 2. ) ครูสามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 3.) ครูมีระเบียบวินัยในตนเอง 4. ) ครูมีเหตุผลและยอมรับฟังความ คดิ เหน็ ของนักเรียน 5. ) ครูมุง่ ม่ันและตง้ั ใจทางานในหน้าที่ให้เกิดผลดี 6. ) ครมู ีความรับผิดชอบ ต่อหนา้ ท่ี 7. ) ครูคอยดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ นิ สมบตั ิของสว่ นรวม

23 อภิปรำยผล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 อภปิ รายผลไดด้ งั น้ี 1. ระดับของคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 เม่ือพิจารณา คุณลักษณะของครูท้ัง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านการสอน ด้านวิชาการ ด้านสุขภาพกายและจิต ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านคุณธรรมและความ ประพฤติ ด้านบุคลิกลักษณะ ด้านการอบรมและการปกครอง และ ด้านการเป็นพลเมืองดีใน สงั คมประชาธิปไตย พบวา่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง และเม่อื พจิ ารณาลาดับที่ของคุณลักษณะของ ครูพบว่า ลาดับที่ 1 ด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ลาดับท่ี 2 ด้านคุณธรรม และความประพฤติ ลาดับที่ 3 ดา้ นสุขภาพกายและจิต ลาดับที่ 4 ดา้ นมนษุ ยสัมพันธ์ ลาดับท่ี 5 ด้านการสอน ลาดับท่ี 6 ด้านบุคลิกลักษณะ ลาดับท่ี 7 ด้านการอบรมและการปกครอง ลาดบั ที่ 8 ด้านวชิ าการ จากผลการวิจัยคร้ังน้ี แสดงใหเ้ ห็นวา่ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ 21 ก็มีทัศนะต่อคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ยังได้ให้ความสาคัญต่อ คุณลักษณะของครู ด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย สูงเป็นอันดับท่ี 1 ส่วนด้าน วิชาการนักเรียนให้ความสาคัญอยู่ในลาดับที่ 8 ท่ีเป็นเช่นนี้คงเป็นเพราะว่า นักเรียนเห็นว่า ครูคือ แม่พิมพ์ของชาติ มีหน้าท่ีเป็นเป้าหล่อหลอมพลเมือง ซ่ึงเป็นอนาคตของชาติให้เป็นคนดีของสังคม แต่ปัจจุบันกลับมีครูบางคน พยายามประพฤติตนไม่เหมาะสมกับฐานะความเปน็ ครู มักประพฤติผิด วินัย และจรรยาบรรณครูอยู่เสมอ ดังปรากฏเป็นข่าวอยู่บ่อย ๆ ตามหน้าหนังสือพิมพ์ ด้วยเหตุน้ี จึงทาให้นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ต้องการให้ครู มีคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์ข้อน้ีสูงเป็นอันดับที่ 1 ฉะน้ันในฐานะท่ีครูเป็นแม่พิมพ์ของชาติ ครจู งึ ตอ้ งเปน็ พลเมืองดีในสังคมประชาธปิ ไตย เพือ่ เป็นตวั อยา่ งท่ดี ีแก่ศิษย์ต่อไป ส่วนคณุ ลกั ษณะของ ครทู พ่ี ึงประสงค์ดา้ นวิชาการท่นี กั เรยี นใหค้ วามสาคัญนอ้ ย เป็นลาดบั ที่ 8 คงจะเป็นเพราะวา่ ปัจจบุ นั เทคโนโลยแี ละการส่อื สารเจริญก้าวหนา้ มากความสาคัญต่อคณุ ลักษณะของครูในดา้ นนี้น้อยทีส่ ดุ 2. เมอ่ื พิจารณาผลการวิจัยคุณลักษณะของครูท่ีพงึ ประสงค์ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาตอน ปลาย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 เปน็ รายข้อในแต่ละดา้ น พบว่า 2.1. ด้านการสอน นักเรียนต้องการให้ครู จัดกิจกรรมประกอบการเรียนช่วยให้ นักเรียนมีความสุขในการเรียน เป็นอันดับที่ 1 ที่เป็นเช่นน้ี คงเป็นเพราะว่า นักเรียนชอบให้ครู จัดกจิ กรรมประกอบการเรยี นเพ่อื ท่ีจะไดม้ ีความสขุ และชอบท่จี ะเรียนในวิชานน้ั 2.2. ด้านวิชาการ นักเรียนต้องการให้ครู พานักเรียนเข้าห้องสมุดเพ่ือหาความรู้ เพิ่มเติม เป็นอันดับท่ี 1 ที่เป็นเช่นน้ี คงเป็นเพราะว่า นักเรียนต้องการที่จะศึกษาหาความรู้ เพ่มิ เตมิ ที่นอกเหนือจากตาราเรยี น จากหอ้ งสมดุ หรอื ศูนย์การเรียนรู้ทั่ว ๆ ไป 2.3. ด้านสุขภาพกายและจิต นักเรียนต้องการให้ครู เป็นคนใจเย็นไม่โกรธง่าย เปน็ อนั ดบั ที่ 1 ทีเ่ ป็นเชน่ นี้ คงเปน็ เพราะวา่ งานของครูเป็นงานท่ีหนกั ดังนน้ั ครจู งึ จะตอ้ งเปน็ คนที่ ใจเยน็ ไม่โกรธง่าย เพราะถ้าครเู ปน็ คนทใ่ี จเย็นจะทาใหค้ รูมสี ขุ ภาพแข็งแรงและมสี มาธใิ นการสอนท้ัง วัน

24 2.4. ดา้ นมนุษยสัมพันธ์ นักเรียนต้องการใหค้ รู ใจดี เปน็ อนั ดบั ท่ี 1 ท่ีเป็นเชน่ นี้ คงเป็นเพราะว่า ครูเปรียบเสมือนพ่อแม่คนที่สองของนักเรียน ดังน้ันนักเรียนจึงต้องการความรัก ความอบอุน่ จากคณุ ครู 2.5. ด้านคุณธรรมและความประพฤติ นักเรียนต้องการให้ครู ไม่ด่ืมสุราเป็น อันดับท่ี 1ที่เป็นเช่นน้ีคงเป็นเพราะว่า อาชีพครูจาเป็นต้องเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ไม่ประพฤติตัว ในทางท่ีผิดศีลธรรมตอ่ จรรยาบรรณครู 2.6. ด้านบุคลิกลักษณะ นักเรียนต้องการให้ครู เป็นคนสุภาพอ่อนโยน เป็นอันดับที่ 1 ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่า เด็กวัยนี้ตามทฤษฎีพัฒนาการของทางเชาว์ปัญญา เช่ือว่า เด็กวัยนต้ี ้องการครทู ี่เปน็ คนสภุ าพอ่อนโยน แสดงกริ ิยามารยาทสภุ าพเรียบร้อยอยู่เสมอ ไม่ชอบการ บงั คับจติ ใจ 2.7. ด้านการอบรมและการปกครอง นักเรียนต้องการให้ครู เป็นคนส่งเสริมยก ยอ่ งนกั เรียนที่ทาดี เปน็ อนั ดบั ที่ 1 ท่เี ปน็ เชน่ น้เี พราะว่า ครูสว่ นใหญ่ยังยดึ ตดิ กบั พฤติกรรมการสอน แบบเดิมคือแบบอัตตาธิปไตย โดยยึดตัวครูเป็นสาคัญ ไม่ยอมเปล่ียนพฤติกรรมตามความต้องการ ของผู้เรียน ดงั นัน้ นักเรียนตอ้ งการใหค้ รูเปน็ ผู้ส่งเสริมยกย่องในการทาความดีของนักเรียน 2.8. ด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย นักเรียนต้องการให้ครู เป็นผู้สนับสนุนและให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน เป็นอันดับที่ 1 เพราะว่า นกั เรยี นตอ้ งการให้ครจู ดั กจิ กรรมหรือโครงการทเี่ กย่ี วข้องกับประชาธิปไตยภายในโรงเรยี นให้มากขน้ึ ขอ้ เสนอแนะ ควรนาผลการวิจัยคร้ังน้ีไปจัดทาโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรในโรงเรียนให้มปี ระสทิ ธภิ าพและคุณคา่ สงู ขนึ้ กว่าเดมิ

25 บรรณำนุกรม ธีรศักดิ์ อคั รบวร. ( 2542 ) . ความเปน็ ครู. กรงุ เทพฯ : ก. พลพมิ พ์. ประจง ประสารฉา่ . ( 2541 ). คณุ ธรรมของครู : รากฐานอนั ม่ันคงของสังคม. ข้าราชการครู. ปรดี า บญุ เพลงิ . ( 2541 ). เกณฑ์มารฐานวิชาชีพครู. พิมพ์คร้ังที่ 4 . กรงุ เทพ ฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภา ลาดพร้าว พรพมิ ล และ อนันค์ชัย พงษ์สวุ รรณ. ( 2534 ). ลักษณะครูดี 10 ประการ.มิตรครู. ภาวิณี เจรญิ ยิ่ง. ( 2542 ). ครูของแผน่ ดนิ . วทิ ยาจารย์.หนา้ 18

26 แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ยั เร่ือง “ การศึกษาคุณลักษณะของครทู พี่ ึงประสงค์ตามทัศนของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 ” แบบสอบถามฉบบั น้แี บง่ ออกเป็น 2 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 เปน็ คาถามเกี่ยวกับภมู ิหลังของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เป็นคาถามเกย่ี วกับคุณลักษณะของครทู ่ีพึงประสงคต์ ามทัศนของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21รวม 8 ดา้ น จานวน 50 ข้อ ในการตอบแบบสอบถามท้งั 2 ตอน โปรดตอบให้ครบทุกข้อ และตรงกับความต้องการท่ีแทจ้ ริง ของนักเรียน ข้อมลู ทถี่ ูกต้องและตรงกบั ความจริงจะทาให้การวิจยั คร้ังนเ้ี ป็นประโยชน์ต่อตัวนกั เรยี น และตอ่ การจัดการเรียนการสอนของครู ตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามเกี่ยวกับภูมหิ ลังของผ้ตู อบแบบสอบถาม คาชแี้ จง โปรดทาเครื่องหมาย √ ลงใน ( ) หนา้ ข้อความทีต่ รงกบั ความเป็นจรงิ ของนกั เรยี น 1. ผู้ตอบเปน็ นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ีใด ( ) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ( ) มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ( ) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับคุณลกั ษณะของครทู ่ีนักเรียนต้องการ ตามความคิดเห็นของ นักเรยี น คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนอา่ นขอ้ ความทีแ่ สดงถึงคุณลกั ษณะของครูที่พึงประสงค์ ( ครทู น่ี ักเรียน ตอ้ งการ ) แต่ละข้ออย่างละเอียด แล้วไตร่ตรองดวู า่ นกั เรียนต้องการครูทีม่ ีคุณลักษณะอย่างไร ก็ ให้ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องทีต่ รงกบั ความต้องการของนักเรยี นมากที่สุด โดยกาหนดคะแนนกบั ระดบั ความต้องการ ดังน้ี 3 คะแนน หมายถึง ตอ้ งการมาก 2 คะแนน หมายถึง ต้องการปานกลาง 1 คะแนน หมายถึง ตอ้ งการน้อย

27 ลาดับ ระดับความต้องการ ท่ี คุณลักษณะของครูที่นกั เรยี นต้องกำร มาก ปานกลาง นอ้ ย 3 21 ด้านการสอน นอ้ ย 1 ครูสอนตรงเวลา 1 2 ครูพูดออกเสียงคาควบกลา้ และเสยี ง ร,ล ไดช้ ัดเจน 3 ครูสง่ เสริมใหน้ กั เรียนแสดงความสามารถตามความถนดั 4 ครใู ห้นกั เรยี นจัดกจิ กรรมประกอบการเรยี นชว่ ยใหน้ กั เรยี นมี ความสขุ ในการเรียน 5 ครูสอดแทรกข้อคิดคตธิ รรมเตือนสติใหน้ ักเรยี น 6 ครูนาสอื่ มาใชป้ ระกอบในการสอน 7 ครพู านักเรยี นไปเรยี นนอกห้องเรียนเพอ่ื ใหเ้ หน็ ของจรงิ ด้านวิชาการ 8 ครมู ีควำมรูร้ อบตวั หลำยด้ำน 9 ครูมคี วำมสำมำรถพิเศษ เชน่ พูดภำษำต่ำงประเทศ คอมพิวเตอร์ และเล่นดนตรีได้ 10 ครูพำนกั เรียนเขำ้ ห้องสมุดเพอ่ื หำควำมรู้เพิม่ เติม 11 ครสู ำมำรถนำวัสดุเหลอื ใช้มำประดิษฐเ์ ปน็ สิ่งของใหน้ ักเรียน ใช้เรียน 12 ครขู ยนั ทดสอบและวัดควำมรขู้ องนักเรียน ด้านสุขภาพกายและจติ 13 ครมู สี ุขภำพแข็งแรง 14 ครูมอี ำรมณ์ขันบำงโอกำส 15 ครใู จเย็นไมโ่ กรธง่ำย 16 ครไู ม่ขี้บ่น 17 ครไู มใ่ ช้อำรมณ์ฉุนเฉียวกับนักเรียน ดา้ นมนษุ ยสัมพนั ธ์ 18 ครูใจดี 19 ครเู ป็นกันเองกบั นักเรียนทกุ คน 20 ครูจำชอื่ และเรียกช่ือนักเรยี นได้ถูกต้อง 21 ครพู ูดจำสุภำพ ลาดับ ระดบั ความต้องการ ท่ี คณุ ลักษณะของครูทน่ี ักเรยี นต้องกำร มาก ปานกลาง 32 22 ครไู ม่พูดเหยียดหยามนกั เรียน 23 ครไู ม่ข่มขนู่ ักเรยี น

24 ครปู ฏิบัติกบั นักเรียนไดเ้ หมาะสมกบั เพศและวัย 28 25 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น ระดบั ความต้องการ ด้านคณุ ธรรมและความประพฤติ มาก ปานกลาง น้อย 26 ครูไม่ดื่มสรุ ำ 3 21 27 ครไู มส่ บู บหุ ร่ี 28 ครูไมเ่ ลน่ กำรพนัน 29 ครูซอื่ สตั ย์ 30 ครรู กั และเมตตำนักเรยี นเหมือนลกู หลำน 31 ครปู ระพฤติตนเป็นแบบอย่ำงทด่ี ีแกน่ กั เรียนและสังคม ด้านบคุ ลกิ ลกั ษณะ 32 ครแู ตง่ กำยเรยี บร้อย 33 ครเู ปน็ คนสภุ ำพออ่ นโยน 34 ครูพูดเสียงดงั ฟังชัด ไมพ่ ดู เรว็ เกนิ ไป 35 ครวู ่องไวกระฉับกระเฉง 36 ครคู ยุ เก่งและคุยสนกุ ด้านการอบรมและการปกครอง 37 ครสู นใจและเอำใจใส่ดแู ลนกั เรียน 38 ครูเป็นที่พึ่งและใหค้ ำปรกึ ษำนักเรียนเม่ือมปี ัญหำ 39 ครูคอยช่วยเหลือและติดตำมผลกำรเรยี นของนกั เรยี น 40 ครูส่งเสรมิ ยกย่องนกั เรียนที่ทำดี 41 ครใู ห้ควำมยุติธรรมกับนักเรยี นทุกคน 42 ครไู มบ่ ังคบั จติ ใจนกั เรยี น 43 ครไู ม่ลงโทษนกั เรยี นดว้ ยวิธีรนุ แรง ด้านการเปน็ พลเมืองดใี นสังคมประชาธิปไตย 44 ครมู รี ะเบยี บวินยั ในตนเอง 45 ครมู คี วำมรบั ผดิ ชอบตอ่ หนำ้ ที่ ลาดบั ท่ี คณุ ลักษณะของครูทีน่ กั เรียนต้องกำร 46 ครูมุ่งม่ันและตั้งใจทางานในหนา้ ทใ่ี ห้เกิดผลดี 47 ครมู ีเหตผุ ลและยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของนักเรียน 48 ครสู ามารถทางานร่วมกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมีความสุข 49 ครูสนบั สนนุ และให้ความรู้เก่ียวกับโครงการประชาธิปไตยใน โรงเรยี น 50 ครูคอยดูแลรักษาทรัพยส์ นิ สมบตั ิของส่วนรวม

29 ประวตั ิยอ่ ของผ้วู จิ ัย ชือ่ – สกลุ นำยตอ่ พงศ์ พูนภญิ โญยศ วนั เดอื น ปี เกดิ 8 มิถนุ ำยน 2535 สถำนท่ีเกดิ อำเภอเทิง จ.เชียงรำย สำนท่อี ยูป่ จั จุบนั 187 ม.5 ต.งว้ิ อ.เทงิ จ.เชียงรำย ตำแหน่งหนำ้ ที่กำรงำนปัจจบุ นั รองหัวหนำ้ กลุ่มบรหิ ำรงำนกิจกำรนกั เรียน ประวตั กิ ำรศกึ ษำ ครศุ ำสตร์บณั ฑติ สำขำชวี วิทยำ ( ค.บ. ) พ.ศ.2558 มหำวิทยำลัยรำชภฏั เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook