Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอน

คู่มือการจัดการเรียนการสอน

Published by belle.thitiwan, 2021-06-11 08:00:38

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) โรงเรียนอนบุ าลศรวี ิไล สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ

คานา โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มกี ารระบาดในวงกวา้ ง โดยเม่อื วันท่ี 30 มกราคม พ.ศ.2563 องค์การอนามยั โลก ได้ประเมินสถานการณ์ และประกาศใหโ้ รค COVID- 19 เป็นภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดยแนะนาํ ให้ทุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและป้องกันความเสย่ี งจากเช้ือ COVID-19. และสําหรบั ในประเทศไทยนั้น ได้มีการพบผปู้ ว่ ยตดิ เชือ้ จาํ นวนหน่ึง ซ่ึงถึงแม้วา่ ตวั เลขผู้ป่วยตดิ เชอ้ื ในแตล่ ะวนั จะมีจาํ นวนลด นอ้ ยลง แต่กย็ ังคงอยูใ่ นสภาวการณท์ ่ีไม่อาจวางใจได้ ตอ่ มาเมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2564 ได้มีการแพรร่ ะบาด ใหมร่ อบ 3 พบมผี ตู้ ดิ เช้อื ระบาดหนักเปน็ จาํ นวนมากในแต่ละวัน ตอ่ มาเม่ือวนั ท่ี 27 เม.ย.2564 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ ําหนดแนวทางการดําเนนิ งานเพ่ือไม่ใหก้ ารเล่ือนวันเปดิ ภาคเรียนกระทบตอ่ โอกาส ในการเรยี นรแู้ ละสิทธขิ องผู้เรียน ดังนี้ ช่วงเวลาจากวันท่ี 17 - 30 พฤษภาคม 2564 ใหส้ ถานศกึ ษา ครูและ บคุ ลากร เตรียมความพร้อมในดา้ นอาคารสถานที่ การจัดการเรยี นการสอน และอนื่ ๆ เพื่อรองรบั การเปิด ภาคเรยี น ส่ือสารและทาํ ความเข้าใจกับผปู้ กครองในการเล่ือนวันเปดิ ภาคเรียน ครูอาจไปเย่ียมนกั เรยี น นกั ศึกษา ทบ่ี ้าน จัดกิจกรรมเสรมิ ใหแ้ ก่ผเู้ รียน ซง่ึ อาจใชร้ ะบบออนไลน์ หรือระบบอ่นื ๆ ที่เหมาะสม โดยพิจารณาตามบริบทและประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.) และคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั และเม่ือวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 ไดแ้ จง้ เลอ่ื นการเปดิ ภาค เรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จากวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 เป็นวนั ท่ี 14 มถิ ุนายน เนอื่ งจากสถานการณ์ โดยรวมของการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) มีความรนุ แรงมากขนึ้ โรงเรยี น ที่ตงั้ อยู่ในพืน้ ที่ควบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด (สแี ดงเข้ม) ใหจ้ ัดการเรยี นการสอนไดเ้ ฉพาะรูปแบบการจดั การศกึ ษา ทางไกล คือ On Air , Online , On Demand , On Hand (ผา่ นทางไปรษณยี ์) เท่าน้นั ส่วนโรงเรยี นที่ตั้งอยู่ใน พ้ืนทค่ี วบคุมสงู สดุ (สีแดง) หรือ พื้นที่ควบคุม (สีสม้ ) สามารถจัดการเรียนการสอนไดท้ ง้ั 5 รปู แบบ คือ On Site , On Air , Online , On Hand , On Demand โดยผสมผสานรปู แบบได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี รปู แบบ On Site นั้นไม่อนุญาต ใหโ้ รงเรียนหรอื สถานศึกษาในพ้ืนที่สีแดงเข้มจดั การเรียนการสอน ตามมตขิ อง ศบค. ที่ห้าม ใช้อาคารสถานที่ สว่ นโรงเรียนหรือสถานศึกษาในพืน้ ที่สีแดง และสีสม้ ทป่ี ระสงคส์ อนในรูปแบบ On Site ตอ้ ง ผ่านเกณฑ์การประเมินความพร้อมของระบบ Thai Stop COVID + (TSC+) ของกระทรวงสาธารณสขุ ครบท้งั 44 ขอ้ โรงเรียนอนบุ าลศรวี ิไล ตั้งอยู่ในหมู่บ้านศรีวไิ ล ตาํ บลศรีวไิ ล อาํ เภอศรวี ิไล จงั หวัดบงึ กาฬ มีพื้นที่ ตงั้ อยู่ในพนื้ ท่ีควบคมุ (สสี ้ม) สามารถจดั การเรยี นการสอนได้ท้งั ๖ รปู แบบ คอื On Site , On Air , Online , On Hand , On Demand และ Blended Learning โดยผสมผสานรปู แบบไดต้ ามความเหมาะสม ดังนัน้ เพ่ือลดความเสย่ี ง ปอ้ งกันและควบคมุ ไม่ไหเ้ กิดการระบาดของโรค แก่นักเรยี น ผปู้ กครอง ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ประชาชนทกุ คนตอ่ การสัมผัสเชอ้ื โรค จงึ ได้จัดทํา คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอน ของโรงเรียน ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศกึ ษา 2564 และเพ่ือเปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนอย่างมีประสิทธภิ าพ

สารบัญ หน้า ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนและมาตรการปอ้ งกนั ของสถานศกึ ษา 1 ความเปน็ มาของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19).......................................... ๖ สภาพปญั หาปจั จบุ ัน.............................................……………………………………….................. ๗ การกําหนดแนวทางการดาํ เนินงานของโรงเรยี น................................................................. ๙ แนวปฏิบัติระหว่างเปดิ ภาคเรียน........................................................................................ ๙ แนวปฏบิ ตั ิสําหรบั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา.......................................................................... ๑๐ ๑. คร.ู ............................................................................................................................... ๑๐ ๒. นกั เรยี น....................................................................................................................... ๑๑ ๓. ผปู้ กครอง.................................................................................................................... ๑๒ ๔. แมค่ รวั ผู้จําหน่ายอาหาร ผปู้ ฏิบัตงิ านทําความสะอาด............................................... ๑๒ ดา้ นอนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม............................................................................................................. ๑๔ มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาด กรณเี กิดการระบาด............................................................... 1๕ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนและมาตรการป้องกนั ของสถานศึกษา………................……….. ภาคผนวก

1 คูม่ ือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการปอ้ งกนั ของสถานศกึ ษา ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนอนุบาลศรวี ไิ ล สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ ............................................ ความเป็นมาของโรคโควดิ -19 (COVID-19) โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร ไวรัสโคโรนาเป็นไวรัสในสตั ว์ มหี ลายสายพันธุ์ โดยปรกตไิ ม่ก่อโรคในคน แต่ เมื่อกลายพนั ธ์เุ ป็น สายพันธุใ์ หมท่ ่ีกอ่ โรคในมนษุ ยไ์ ด้ (ซงึ่ มักเกดิ จากการจัดการทผ่ี ดิ ธรรมชาตโิ ดยมนษุ ย)์ ในขณะท่ีมนุษย์ยงั ไม่รู้จกั และไม่มีภูมิตา้ นทาน ก็จะเกดิ การระบาดของโรคในคน โรคโควดิ -19 (COVID-19, ยอ่ จาก Coronavirus disease 2019) เป็นโรคติดเชอ้ื ทางเดนิ หายใจท่ีเกิดจากไวรัสโคโรนา ซ่งึ มีช่ือทางการว่า SARS-CoV-2 ทําให้เกิด ไข้ ไอ และอาจมปี อดอักเสบ เรม่ิ พบผปู้ ว่ ยคร้งั แรกเมอ่ื เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ทเ่ี มอื งอู่ฮนั่ เมืองหลวงของมณฑลหเู ป่ย์ ภาคกลางของประเทศจนี ซึ่งเป็นเมืองใหญ่มผี ู้คน หนาแน่น จงึ เกดิ การ ระบาดใหญ่ไดร้ วดเรว็ การดแู ลรักษาเป็นไปอยา่ งฉุกเฉิน มีคน ป่วยหนกั และตายมากเกินทค่ี วรจะเปน็ จน ประเทศจนี ต้องปิดเมือง และปดิ ประเทศต่อมา ขณะน้ปี ระเทศจีนสามารถควบคมุ ได้ จนแทบจะไมม่ ีผปู้ ่วยราย ใหม่ แตโ่ ดย ธรรมชาตแิ ลว้ จะยังมผี ู้ท่ีมเี ชื้ออยู่ ผ้ปู ว่ ยรายแรกทีร่ บั การรักษาในประเทศไทย เม่ือวันที่ 13 มกราคม 2563 เป็น คนจนี ท่รี ับเชอื้ จากการระบาดในประเทศจนี และได้เดินทางมาประเทศไทย หลังจาก นนั้ มีผู้ปว่ ยอกี หลายรายท่ีมาจากประเทศอนื่ สว่ นผู้ป่วยที่ติดเช้ือในประเทศไทยราย แรก มกี ารรายงานเม่ือ 31 มกราคม 2563 โรคนเ้ี กิดจากไวรสั โคโรนา (Corona virus) ที่กลายพันธ์ใุ นธรรมชาตเิ ป็นสาย พันธใ์ุ หม่ จากการ ท่ีธรรมชาติถูกมนุษย์ทาํ ร้าย โดยมีสมมตุ ิฐานวา่ ไวรสั อาจจะมี แหล่งเร่มิ ต้นคือค้างคาว และกลายพนั ธเ์ุ มื่อผ่าน สตั วต์ วั กลาง กลายเป็นไวรัสสายพันธุ์ใหมท่ ่ีก่อโรคในคน และคนไปรับเชอ้ื มาแพรร่ ะหว่างคนส่คู น ทง้ั นีต้ ้องรอ การ พสิ ูจน์ต่อไป เคยมีเหตุการณท์ ่ีคล้ายคลึงกันจากไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ใุ หมท่ ี่เกดิ ขน้ึ ใน อดตี คือ การเกิด โรค SARS (พ.ศ.2545) และ MERS (พ.ศ.2557) ซึ่งทัง้ สองโรคนนั้ ผ้ปู ว่ ยมีอาการหนกั ทงั้ หมดและต้องอย่ใู น โรงพยาบาล จึงสกดั การแพร่โรคได้ไมย่ ากนัก ส่วนผปู้ ว่ ยโรค COVID-19 ท่แี พรเ่ ชอ้ื มีท้ังผู้ท่ีมอี าการน้อยหรือ อาจไมม่ ีอาการ นอกเหนือจากผ้มู อี าการหนักซ่ึงมนี ้อยกว่ามาก จงึ ควบคุมการระบาดได้ยากกวา่ การระบาด ที่ใกลเ้ คยี งกบั ครั้งน้ีมากทีส่ ุด คอื การระบาดของไขห้ วดั ใหญ่สายพันธุ์ ใหม่ 2009 (Influenza A (H1N1) pdm09 virus) ใน พ.ศ.2552 ซ่ึงเรมิ่ จากอเมริกา แล้วระบาดหนักไปทัว่ โลก แต่คนที่ติดเชอ้ื โควดิ -19 สามารถ แพร่เช้ือไดใ้ นช่วงเวลา ของการติดเชอ้ื ไดน้ านกว่า การระบาดจึงนา่ จะกว้างขวางกว่า และควบคุมยากกว่า ในขณะน้ี โรคโควิด-19 ไดร้ ะบาดไปทวั่ โลกแลว้ 11 กุมภาพนั ธ์ 2563 ไดม้ ีการกําหนดช่ือโรคและชือ่ ไวรสั อยา่ ง เปน็ ทางการ ดังน้ี โรค COVID-19 (อ่านวา่ โควิดไนน์ทนี ยอ่ มาจาก Corona Virus Disease 2019) กาํ หนด ชื่อโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)ไวรสั SARS-CoV-2 (อ่านว่า ซาร์สคอฟทู ยอ่ มาจาก Severe Acute Respiratory Syndrome Corona Virus 2) กําหนดชือ่ โดยคณะกรรมการระหว่าง ประเทศว่าดว้ ยอนกุ รมวธิ าน

2 ของไวรัส ( ICTV ) โดยทช่ี ว่ งแรกของการระบาด ใช้ชอื่ อย่างไมเ่ ปน็ ทางการ เช่น ไวรัสอูฮ่ นั่ 2019-nCoV (2019 novel coronavirus หรอื ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ 2019) แต่มักจะเรียกกนั ง่ายๆวา่ ไวรสั โควิด19 ส่วน ไวรัส SARS-Co-1 คอื ไวรัสท่ีเป็นสาเหตุของโรคติดเชอื้ ทางเดินหายใจรนุ แรง หรือ SARS ท่รี ะบาด ใน พ.ศ. 2545-2546 ไวรัสทก่ี ่อโรคระบาดในครงั้ นจ้ี ึง เป็นชนิดท่ี 2 หรือ SARS-CoV-2 ไวรสั SARS-CoV-2 เป็นเชื้อ โรคที่ต้องอย่ใู นเซลลเ์ น้ือเย่อื หรอื มเี มือกคลุมอยู่ เชน่ เสมหะ ไม่สามารถอยู่เป็นอสิ ระ นอกจากน้ี ยงั เปน็ ไวรสั ที่ เกราะด้านนอกเป็น ไขมนั ซ่งึ จะสลายตัวเมื่อสมั ผสั กบั สารซักฟอกหรือสบู่ ไวรัสโคโรนา่ ที่ก่อโรคในมนุษย์ใน ขณะนี้มีท้ังหมด 7 ชนิด ชนิดท่ี 1-4: โรคหวัดธรรมดา ชนดิ ท่ี 5: โรค SARS (ซาร)์ จากไวรสั สายพนั ธใุ์ หม่ เมื่อ พ.ศ. 2545-2546 ชนดิ ท่ี 6: โรค MERS (เมอร์ส) จากไวรัสสายพนั ธุใ์ หม่ เมื่อ พ.ศ. 2557 ชนดิ ท่ี 7: โรค COVID-19 (โควดิ -19) จากไวรัสสายพันธุ์ใหมใ่ นปัจจุบนั แหล่งแพร่เช้อื ไวรัส COVID-19 1. คาดว่าเร่ิมจากสตั วป์ ่าท่ีนาํ มาขายในตลาดสดเมืองอูฮ่ นั่ ประเทศจีน ซ่ึงคนไปสมั ผัสและนํามา เผยแพรต่ อ่ โดยเริ่มจากไวรสั จากคา้ งคาวทีม่ ีการผสมพนั ธุ์กับไวรสั อ่ืน และกลายพนั ธ์ุ 2.คนที่มเี ชื้อแลว้ แพร่สู่คนอื่น ทางส่งิ คัดหล่งั จากทางเดนิ หายใจ ขัน้ ตอนจากการรบั เชื้อถงึ การป่วย ประกอบดว้ ย การสมั ผัสเชอ้ื โรค การรบั เช้ือ การตดิ เช้อื และการป่วย ผสู้ ัมผสั เช้อื โรค (contact) หมายถงึ ผู้ท่ี สมั ผัสใกล้ชิดกับผตู้ ิดเช้อื หรอื อาจจะสัมผสั กบั เชื้อท่ีออกมากับสิง่ คดั หลั่งจากระบบหายใจของผ้ปู ่วย (นาํ้ ลาย เสมหะ น้าํ มกู ) แลว้ อาจจะนําเข้าสู่ รา่ งกายทางปาก จมูก ตา (อวยั วะทม่ี ีเยื่อเมอื กบ)ุ โดยไดอ้ ยู่ในชุมชนท่มี ีผู้ป่วย อยู่ดว้ ย โดยไมร่ ะมัดระวงั เพียงพอ หากมีการสัมผสั ดงั กลา่ ว กอ็ าจเกิดการตดิ เช้ือตามมา และเปน็ แหล่งแพร่เชื้อ ต่อไปได้ ผทู้ ต่ี ้องเฝา้ ระวงั ในระยะน้ี (มคี . 63) ได้แก่ ผ้สู มั ผสั หรืออาจจะสัมผัสโรค โดยมี ประวัตอิ ยา่ งใดอย่าง หนง่ึ ในชว่ งเวลา 14 วนั กอ่ นหนา้ นี้ (คอื ระยะฟกั ตวั ที่ยาวทส่ี ดุ ของโรค คือ ติดเชอื้ แล้วแต่ยังไม่มอี าการป่วย) ดังต่อไปนี้ ๑.มีประวัติเดนิ ทางไปยงั มาจาก หรอื อยู่อาศัย ในพนื้ ทที่ มี่ รี ายงานการระบาด 2. เป็นผูส้ มั ผัสใกลช้ ดิ กบั ผ้ทู ีม่ าจากพื้นทท่ี ีม่ รี ายงานการระบาด 3. มีประวัตใิ กล้ชดิ หรือสมั ผัสกับผู้ท่เี ขา้ ข่ายหรือไดร้ ับการตรวจยนื ยันว่าติดเชอ้ื ผลจากการ สมั ผัสกับเช้ือโรค ผทู้ ่สี ัมผสั กบั เชอ้ื โรคโควิด-19 หากไดร้ บั เชอื้ โรคมาอาจจะมีผลเปน็ 1.พาหะของเชื้อ คือผทู้ ร่ี ับเชอ้ื โรคแตไ่ มเ่ กิดการติดเชือ้ ซง่ึ เชื้อมักจะติดมาทางมอื 2.ผตู้ ิดเช้ือ คือ ผ้ทู ี่ตรวจพบเชอื้ และมปี ฏกิ ริ ิยาทางอิมมูนต่อเช้อื ซ่ึงตรวจพบ ได้ทางการ ตรวจเลือด แบง่ เปน็ 2.1 ผ้ตู ดิ เชื้อทไี่ ม่มีอาการ 2.2 ผู้ปว่ ย หรือ ผูต้ ิดเชื้อท่มี ีอาการ ซึง่ อาจจะมีอาการ น้อยหรือมาก อาการปว่ ย (Symptoms) โดยทัว่ ไป ผู้ปว่ ยจะมีอาการคลา้ ยไข้หวัดใหญ่ มีอาการ “ไข้ และ ไอ” เป็น พน้ื ฐาน สว่ นใหญ่เริ่มจาก ไอแห้งา ตามดว้ ย ไข้ ผปู้ ว่ ยส่วนนอ้ ยคอื รอ้ ยละ 5 มี นาํ้ มูก เจ็บคอ หรือ จาม ไม่มอี าการเสียง แหบหรือเสยี งหาย รอ้ ยละ 98.6 มไี ข้ (ไข้อาจจะไมได้เริ่มในวันแรกของการปว่ ย) รอ้ ยละ 69.6 มอี าการ อ่อนเพลยี ผดิ ปรกติ ร้อยละ 59.4 ไอแหง้ า (Wang et al JAMA 2020) ความรนุ แรงของโรค ความรุนแรงของ โรค ขึ้นอยู่กบั 1. ปรมิ าณไวรัสที่ได้รบั เข้าทางเดนิ หายใจ 2. ปจั จยั ทางผู้ติดเชอ้ื เช่น สขุ ภาพ โรคประจาํ ตวั ปฏิกริ ิยาอิมมูน การปฏิบัติตน เมอ่ื เร่ิมป่วย

3 3. การดแู ลรกั ษาเมื่อติดเช้ือและปว่ ย ผู้ตดิ เช้ือส่วนใหญ่มอี าการน้อย และสว่ นน้อยมากไม่มอี าการปว่ ยเลย เด็กสว่ น ใหญ่ มีอาการนอ้ ย ผ้สู งู อายแุ ละผมู้ ีโรคประจําตัวมักจะมีอาการหนักกวา่ -ร้อยละ 80 มอี าการนอ้ ย คล้ายไขห้ วดั ธรรมดา หรือไข้หวัดใหญ่ทอี่ าการนอ้ ย หายไดเ้ องหลังพักผ่อน และดูแลตามอาการ -ร้อยละ 14 มีอาการหนัก จากปอดอกั เสบ หายใจผดิ ปรกติ -รอ้ ยละ 5 มอี าการวิกฤติ เช่น การหายใจลม้ เหลว ชอ็ คจากการป่วยรนุ แรง - ร้อยละ 1-2 เสยี ชีวติ หลังจากมีอาการหนกั มักเกิดกับผู้สงู อายุ ผมู้ โี รค ประจาํ ตัวทางหวั ใจและปอด เบาหวาน ภูมติ ้านทานตํ่า หรอื โรคประจําตวั อน่ื ระยะเวลาท่ปี ว่ ย ขอ้ มูลผปู้ ่วย 55,924 ราย ให้คา่ มัธยฐาน (median time หรือ ค่ากลาง) ของ ระยะเวลาจากเรม่ิ มีอาการ จนถึงวนั ท่ีเริม่ ฟน้ื ตวั จากการป่วย คอื อาการเร่ิมดีขนึ้ ดงั น้ี - ผูป้ ่วยทมี่ ีอาการนอ้ ย (mild cases) 2 สัปดาห์ -ผ้ปู ่วยทีม่ อี าการหนกั (severe or critical) 3-6 สัปดาห์ -เร่ิม ป่วยจนมอี าการหนัก 1 สัปดาห์ -เริม่ ปว่ ยจนถึงแก่กรรม 2-8 สปั ดาห์ (WHO-China Joint Mission, publish Feb 28, 2020 by WHO) การดูแลรักษาผ้ตู ดิ เชื้อ โรคนี้คล้ายกับไขห้ วดั ใหญ่ คือ ผปู้ ่วยส่วนใหญ่ (ประมาณ ร้อยละ 80) มอี าการ นอ้ ย และหายไดเ้ อง แต่ ตอ้ งปฏบิ ัติตวั ใหร้ า่ งกายได้ซ่อมแซมตวั เอง และป้องกันคนอื่น การรกั ษา 1.1 การรักษาท่ัวไป: 1. พักผอ่ นทันทีท่ีเริ่มปว่ ย และพักผ่อนให้พอ ใหร้ า่ งกายอบอุ่น กนิ อาหาร และดม่ื น้ําให้เพยี งพอ รักษาตามอาการ เชน่ ลดไข้ 2. ปรกึ ษาแพทย์ เพื่อการดแู ลรักษา ถ้าเปน็ ผ้เู สีย่ งต่อการท่ีจะปว่ ย รุนแรง เช่น ผสู้ ูงอายุ ผู้มโี รค ประจําตัว หญงิ มคี รรภ์ หรือมีอาการหนัก 3. ผปู้ ว่ ยทีม่ ีอาการน้อย สามารถรักษาตวั ที่บา้ น ผูป้ ว่ ยทม่ี อี าการหนกั ตอ้ งรบั การรักษาใน โรงพยาบาล ในระยะทีผ่ ตู้ ิดเชื้อยังไมม่ ากเกนิ กําลังควบคุมดูแล มีข้อกาํ หนดใหร้ ับผู้ติด เช้ือไวใ้ นสถานพยาบาล ท้ัหมด เพื่อการดูแลรักษาและปอ้ งกนั การแพรเ่ ชื้อ 1. เฉพาะโรค: เร่มิ มียาต้านไวรสั ตอ่ ไวรสั ชนดิ นีใ้ นข้นั ทดลองในวงกวา้ งแลว้ 2. การปอ้ งกนั -ในระยะทคี่ วบคมุ การระบาด ตอ้ งรายงานเจ้าพนักงาน เมื่อมผี ตู้ ิดเช้ือ -ปอ้ งกันการแพร่เชอื้ ใหค้ นอนื่ ตามข้อแนะนํา การแพรเ่ ชอ้ื และ การรบั เช้ือ แหลง่ เชอื้ โรค COVID-19 และการแพร่เช้ือ 1. คนท่ีติดเชื้อ 1.1 ไอ จาม หรือ พดู โดยไม่มีอุปกรณป์ ิดปาก ในระยะใกลช้ ิด (น้อยกว่า 1 เมตร) มีผลให้ละออง ฝอยเสมหะ นํา้ มูก นํ้าลาย ที่มีไวรัสอยูด่ ้วย ฟุ้งกระจายออกมา เรียกวา่ airborne droplet หรอื หยดนา้ํ เล็กๆที่ ลอยในอากาศ (ขนาด >5 micron) ซ่งึ จะตกลงบนพื้นในระยะ 1-2 เมตร 1.2 ทาํ ใหเ้ กิดการฟุ้งของไวรัสในอากาศ โดยการปฏบิ ัติต่อผตู้ ิดเชือ้ บาง ลักษณะในสถานพยาบาล (เช่น การใชอ้ ุปกรณ์พน่ ยาเข้าทางเดินหายใจ การใช้สาย ยางดดู เสมหะ การสอ่ งกลอ้ งตรวจภายในหลอดลม การ

4 ใส่และถอดท่อหายใจให้ ผูป้ ่วย การดูดเสมหะดว้ ยระบบเปิด) ก่อใหเ้ กดิ ละอองขนาดเลก็ มาก (fine mist) เรยี กวา่ airborne aerosole ระยะเวลาแพรเ่ ชื้อจากผตู้ ิดเชอ้ื (Contagious period) โดยทว่ั ไปแล้ว ผปู้ ่วยตดิ เช้อื ที่เปน็ โรคตดิ ตอ่ จะแพร่เช้ือเม่ือมีอาการ และแพร่ เชอ้ื ได้มากท่ีสุดในระยะท่ีอาการหนักท่สี ดุ ของโรคท่ีไม่ใช่ผลแทรกซ้อนจากเหตุ อนื่ ท้งั นีผ้ ูต้ ดิ เช้ือทม่ี ีอาการน้อย อาจจะแพร่เช้อื ไดบ้ า้ ง แตน่ ้อยกวา่ การแพรเ่ ชือ้ ใน ระยะทไี่ ม่มอี าการอาจเกดิ ขึ้น ไดเ้ ลก็ น้อย และมักจะอยูใ่ นระยะ 2-3 วันกอ่ นเรม่ิ มี อาการปว่ ย โรคตดิ เชอื้ ท่ีเปน็ โรคตดิ ต่อแต่ละโรคมีระยะเวลาแพร่เช้ือแตกต่างกนั แมว้ า่ จะมี รายงานวา่ อาจจะมี ผู้ป่วย COVID-19 ทแ่ี พร่เช้ือในขณะที่ไมม่ ีอาการ แตข่ ้อมลู ยังไม่ชัดเจน และหากเป็นจรงิ ก็มีโอกาสเกิดขึน้ น้อย มากๆ เชน่ เดียวกบั โรคตดิ ต่ออืน่ ๆ ตอ้ งรอดูข้อมลู เพมิ่ เติม การแพรเ่ ช้ือ COVID-19 และการรบั เชื้อ เกดิ จากการ ติดตอ่ จากคนที่มีเช้อื สคู่ นอืน่ โดย 1. ทางตรง (direct) โดยทางละอองฝอย (droplet) จากทางเดนิ หายใจ  การคลกุ คลใี กล้ชิดกบั ผู้ติดเชื้อ/ผปู้ ว่ ย ในระยะน้อยกวา่ 1-2 เมตร  โดยทางละอองฝอย (droplet) ของนํา้ ลาย เสมหะ นา้ํ มูก ของผปู้ ว่ ย ด้วยการ ไอ จาม หรือการ พูดทน่ี าํ้ ลายกระเด็น  ละอองฝอยเหลา่ น้ี อาจจะเข้า ปาก จมูก ตา ของผทู้ อ่ี ยู่ใกล้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง เม่อื หันหน้าเข้า หากันและสูดหายใจเข้าไป เน่ืองจาก ไวรสั COVID-19 เปน็ ไวรัสทตี่ ้องอย่ใู นเซลลจ์ ึงจะมชี วี ิตอย่ไู ด้ ดังน้นั เมอื่ ละอองฝอยแห้งลง ไวรสั กต็ าย ไม่ลอยอยู่ในอากาศฟงุ้ กระจาย 2. ทางอ้อม (indirect) โดยการสัมผัส (contact)  โดยการสมั ผสั บรเิ วณ พืน้ ผิว สงิ่ ของ มอื ของคนอ่นื ที่มีการปนเป้ือนเชอ้ื โรคจาก ผปู้ ว่ ยจากการไอ จาม แล้วนาํ ไปเขา้ จมูก ปาก ตา ของตนเอง  มสี ง่ิ อน่ื นําเชื้อไปโดยการสมั ผสั เช่น ของเล่นของเดก็ ท่ีปนเปอ้ื นเชื้อ สัตว์เลยี้ งที่ มผี ู้นําเช้ือมา สมั ผัสท้งิ ไวท้ ข่ี น ทั้งน้ี ยงั ไม่มีหลกั ฐานว่าสัตวเ์ ล้ียงจะติดเชือ้ สายพันธ์ุน้ี  สนุ ขั มไี วรัสโคโรนาของสนุ ัข แต่เป็นสายพันธุ์ท่ีไม่กอ่ โรคในคน 3. ทาง aerosol เป็นกรณีเฉพาะ  Aerosol คอื ละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน ลอยในอากาศ  ไวรัสโคโรนาจากผปู้ ่วยจะลอยเปน็ ละอองฝอยขนาดเลก็ ในกรณที ี่มีหัตถการใน การรกั ษา บางอย่าง เช่น การดูดเสมหะโดยใชเ้ ครื่องต่อสายยาง การพ่นยาเป็นละอองเขา้ ทางเดินหายใจ เป็น ตน้  มีขอ้ มลู บา้ งวา่ ในลกั ษณะอากาศบางอยา่ ง อาจจะเปน็ อากาศเย็นและชื้น ไวรสั อาจจะลอยอยูใ่ น อากาศนานขน้ึ ซึ่งอาจจะสรา้ งปญั หาของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ต้องติดตามข้อมลู ต่อไป “COVID-19 ตดิ ตอ่ จากคนสู่คน ดว้ ยวิธีการทค่ี ล้ายคลึงกับไขห้ วัดใหญ่” การคลุกคลใี กล้ชิดกนั (close contact) การคลกุ คลีใกล้ชดิ ผปู้ ่วยทาํ ให้มโี อกาสรับเช้ือจากผ้ปู ว่ ยได้ ทั้งนี้ หมายถึง 1. การอยู่ใกลผ้ ้ปู ว่ ย ในระยะน้อยกวา่ 2 เมตร เป็นเวลานาน เชน่ อยู่ร่วมห้อง พดู คุยกัน หันหน้าเข้าหากนั เป็นคนดูแลผู้ป่วย เป็นต้น

5 2. มีกิจกรรมท่มี ีการสมั ผัสโดยตรงกบั เชื้อโรคจากนํ้าลาย เสมหะของผูต้ ดิ เช้อื เช่น กอดจบู กนั สัมผัสตัว การใชข้ องร่วมกัน เช่น ช้อนส้อม แก้วน้ํา การกนิ อาหาร รว่ มกัน การที่กาํ หนดระยะใกลช้ ิดที่ อาจจะรับเช้ือ หรือระยะหา่ งในการปอ้ งกนั การรบั เชอื้ ท่ี 1-2 เมตร เพราะการไอจามของคนทว่ั ไปจะส่งฝอย นาํ้ ลายได้ไกลถงึ 1 เมตร แตถ่ ้า คนตวั โตไอแรงมากๆ อาจจะไกลถึง 2 เมตร การรบั เชอื้ COVID-19 1. คนท่คี ลุกคลใี กล้ชดิ (close contact) ไดร้ บั เชอ้ื เข้าทางปาก จมูก ตา สว่ น ใหญเ่ กดิ จากการไอ จาม ของผ้ปู ว่ ย 2. มอื ท่ีสมั ผัสไวรสั จากผปู้ ่วย ท่ีปนเปือ้ นอยูบ่ นผิววตั ถุแลว้ นาํ เข้าสู่ทางเดนิ หายใจทาง ปาก จมกู ตา หรือแพร่ไปท่ีอ่นื ต่อ 3. แมว้ า่ จะมรี ายงานการตรวจพบไวรัสโคโรนา 19 ในอจุ จาระ และผู้ปว่ ยบาง คนมอี ุจจาระร่วง การติดเชื้อทางทางเดนิ อาหารไม่เป็นการแพร่เช้ือท่มี ีความสําคัญ (http://www.who.int/docs/default- source/coronaviruse/who-china-joint-mission-oncovid-19-final-report.pdf February 16-24, 2020 ) การปอ้ งกนั การแพรเ่ ช้อื และการตดิ เชื้อ การปอ้ งกนั การแพร่เชื้อ และการตดิ เชื้อ 1. ล้างมือ ด้วยน้าํ และสบู่ ให้ท่วั และนานพอ (ประมาณ 20 วนิ าที) และเชด็ มือให้ แหง้ -การลา้ งมือ ดว้ ยนํา้ และสบู่จะกาํ จดั คราบสกปรก และฆ่าเชือ้ ไวรัส ไม่จําเป็น ต้องใชส้ บู่ทีผ่ สมสารฆ่าเช้ือ -ถา้ ไม่มนี ํา้ และสบู่ จงึ ใช้แอลกอฮอล์(60-70 % ซ่งึ มกั อย่ใู นรปู เจล หรือสเปรย์) ทาทว่ั มือทไี่ มเ่ ปยี กเพื่อฆา่ เชื้อโรค (ถ้ามอื เปยี ก แอลกอฮอลจ์ ะเจือจางจนฆา่ เชื้อไม่ได้) ท้งิ ใหแ้ หง้ ห้ามลา้ งนาํ้ ต่อ เพราะจะลา้ งแอลกอฮอลห์ มดไป แตถ่ ้ามือ สกปรกต้องลา้ ง มือดว้ ยนํา้ และสบู่ เพราะแอลกอฮอล์จะไม่สามารถฆา่ เช้ือโรคที่อยใู่ นคราบเปอ้ื น 2. ไมเ่ อามือจบั หน้า ปาก จมูก หรอื ตา ถา้ จําเป็น ควรทํามอื ให้สะอาดกอ่ น 3. เว้นระยะห่าง จากคนอ่ืนที่อาจจะแพร่เชือ้ (keep distance) ได้แก่ - คนทม่ี อี าการซง่ึ อาจจะเกดิ จากการติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ - หลกี เลี่ยงการไปในทท่ี ีม่ ีคนหนาแนน่ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ คนทไ่ี ม่รจู้ ักและอาจ ติดเชอ้ื โดยไม่ สามารถอยู่หา่ งกนั เกิน 1 เมตร ไดต้ ลอดเวลา ถา้ จาํ เปน็ ควรใส่ หน้ากากอนามัย และไม่หนั หน้าเผชญิ กัน เพราะเขาอาจไอ จาม รดได้ 4. ทําความสะอาดสงิ่ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอย่างย่ิงบรเิ วณที่อาจปนเปือ้ นเสมหะ นํา้ มูก น้ําลาย จาก ผู้ปว่ ย และมไี วรสั คนกลมุ่ ตา่ งๆที่มีโอกาสสัมผัสเชื้อโรคนี้ ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. คนทุกคน มอื สะอาด : ล้างมือด้วยนํ้าและสบู่อยา่ งถูกวธิ ีเป็นหลกั โดยเฉพาะเมื่อมีคราบ สกปรก ใช้ แอลกอฮอลเ์ จลเฉพาะเวลาท่ีไมส่ ามารถใช้นา้ํ และสบู่ล้างมือ หนา้ : ไม่สัมผสั ดว้ ยมอื ท่ียังไมส่ ะอาด เพราะปาก จมกู ตา เปน็ ทางเข้าของเชื้อ หน้ากากปอ้ งกัน : คนทไี่ มต่ ิดเชื้อไม่จําเปน็ ต้องใช้หน้ากากเมื่ออยู่ในทีช่ มุ ชนท่ี แน่ใจว่าไม่

6 มีผตู้ ิดเช้ือ อาจใชห้ น้ากากผ้าที่มีคุณภาพ เพ่ือป้องกันอุบตั ิเหตทุ ีค่ าดไม่ถึง วา่ จะมคี นไอจามรด หากเกิดขึน้ รบี เอาหนา้ กากออก ลา้ งหนา้ หรอื เช็ดหน้า หากไม่ เกิดอบุ ัตเิ หตุ จัดการหน้ากากทใ่ี ช้คร้ังเดยี วเชน่ เดยี วกับ ขยะ ทว่ั ไป สว่ นหน้ากากผ้า นั้น ซักแลว้ ใชใ้ หม่ได้ กิน: อาหารปรงุ ใหม่ๆ ดว้ ยกระบวนการทีส่ ะอาด ลา้ งมือก่อนกนิ อาหาร และไม่ ปนเป้ือน อาหารสว่ นกลางด้วยชอ้ นสอ้ มส่วนตวั 2. ผปู้ ่วย -หน้ากากป้องกัน: ใชห้ น้ากากอนามัยทางการแพทย์ ใชแ้ ละท้งิ อย่าง ขยะตดิ เชื้อ ในทท่ี ี่ มกี ารจัดไว้ให้ที่เปน็ ลกั ษณะปิด หรอื ท้ิงในถงุ หรือถังขยะปดิ ทีใ่ ช้เฉพาะ -ไอ จาม: ใหป้ ลอดภัยต่อคนอนื่ เว้นระยะห่างและหนั หนา้ ออกจากคนอน่ื ใช้ขอ้ พับศอก ด้านในปิดปากและจมูก หรอื ใช้ทชิ ชูปดิ ปากและจมูก แล้วทิ้งในถังขยะติด เช้ือ หรอื ใส่ถุงที่ปดิ หากใสห่ น้ากาก อนามัยอยู่ ให้ไอ จาม ในหน้ากากอนามัย ถา้ ใช้ ผ้าเชด็ หน้าปดิ ปากจมูก เสร็จแลว้ ให้พับด้านเปื้อนไวข้ ้างใน เก็บ ไว้ในถงุ พลาสตกิ กอ่ นนาํ ไปซัก -อยหู่ า่ งจากคนอืน่ : งดหรือเล่ยี งการเขา้ ใกล้คนอืน่ ในระยะนอ้ ยกวา่ 1 เมตร 3. ผ้ดู ูแลผู้ป่วย ถ้าตอ้ งเปน็ ผดู้ แู ลผ้ปู ่วยทบ่ี า้ น 1. แยกผู้ปว่ ยจากคนอน่ื เวน้ ระยะห่างใหเ้ กนิ 1-2 เมตร ตลอดเวลา หาก เปน็ ไปได้ ผ้ปู ว่ ยควรจะอย่ใู นห้องแยกและแยกใช้ห้องน้ําจากคนอ่นื 2. หน้ากากอนามัย ผูป้ ่วยใส่หนา้ กากอนามยั เมือ่ อยู่ในห้องรว่ มกับคนอื่น คนที่ ดแู ลผู้ป่วย ใกลช้ ิดก็ควรจะใส่หนา้ กากอนามยั เมอื่ อย่ใู นห้องผปู้ ่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อผู้ป่วยใส่ไม่ได้ 3. ระมัดระวังในการสัมผสั เสมหะ นา้ํ มูก นํา้ ลาย และสิง่ คัดหลง่ั อน่ื จากผปู้ ่วย ใสห่ นา้ กาก อนามัย ผ้ากนั เป้ือน และถงุ มือ ตามกรณี และลา้ งมอื 4. ทาํ ความสะอาดบริเวณทีใ่ ช้ดูแลผู้ปว่ ย และส่ิงของ เช่น โทรศัพท์ 5. ลา้ งมอื ดว้ ยสบ่แู ละนาํ้ ใช้แอลกอฮอล์เมอ่ื ไม่มีสบ่แู ละนาํ้ สภาพปญั หาปัจจุบัน จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคโควิด-19 ระบาดใหม่รอบท่ีสามนับตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ าร ร่วมกนั จดั แนวทางเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรยี นของ สถานศึกษา ในวนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2564 ใหเ้ ปิดภาคเรยี นท่ี 1 ในวันท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 และถกู เลื่อน อีกครั้งในวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2564 ให้เปิดภาคเรยี นที่ 1 ในวนั ที่ 14 มถิ นุ ายน 2564 (หนงั สือ สพฐ. ท่ี ศธ 04004/ว2448 ลงวนั ที่ 20 พ.ค. 64) เน่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) ระลอกใหม่ทัว่ ประเทศ มคี วามรุนแรงอยา่ งต่อเน่ือง ดงั นัน้ จึงต้องเล่ือนการเปิดเทอมออกไป เพอ่ื ความปลอดภยั ของ นักเรียน นกั ศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ลดการเสี่ยงกับการติดเช้อื โควดิ 19 และเพ่ือใหม้ รี ะยะเวลารบั การฉีดวัคซนี ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวมถึงรองรบั การย้ายสถานศึกษาของ นักเรียนในแตล่ ะช่วงช้นั ศบค.ซึ่งเป็นหนว่ ยควบคมุ เพอื่ ให้เกิดความปลอดภัย และเม่ือวันท่ี 18 พฤษภาคม 2564 ศบค. แบง่ พื้นทีค่ วบคุมออกเปน็ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนท่ีมีการแพร่ระบาดสงู สดุ พืน้ ทส่ี แี ดงเขม้ ประกอบดว้ ย 4 จงั หวัด คอื กรุงเทพฯ , นนทบุรี ,ปทุมธานี และสมทุ รปราการ 2) พ้นื ท่คี วบคุมสงู สุด หรือ พน้ื ท่ี

7 สแี ดง มี 17 จังหวดั ไดแ้ ก่ กาญจนบุรี, ชลบรุ ,ี ฉะเชิงเทรา, ตาก, นครปฐม, นครศรีธรรมราช, นราธิวาส, ประจวบคีรขี นั ธ์, พระนครศรีอยธุ ยา, เพชรบรุ ี, ยะลา, ระนอง, ระยอง, ราชบุร,ี สมทุ รสาคร, สงขลา และ สุ ราษฎร์ธานี 3) และพ้นื ท่ีควบคมุ อีก 56 จังหวดั หรอื พนื้ ท่ีสีส้ม กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงประกาศเลอ่ื นเปิดการ ภาคเรยี นเป็นวันที่ 14 มถิ ุนายน 2564 แตก่ ารเลื่อนครง้ั น้ีมเี งอ่ื นไข 3 ประการ ดงั นี้ 1) ในพน้ื ทีส่ ีแดงเขม้ 4 จงั หวดั ยงั ไม่อนุญาตให้เปิดการเรยี นการสอน Onsite คอื ไม่อนุญาตเด็กใหม้ าโรงเรยี น รวมถึงการใช้อาคาร สถานท่ี และหา้ มบุคลากรหรือมีการมารวมกลุ่มของคนเกินกวา่ 20 คน และใหเ้ ล่ือนเปดิ ภาคเรียนเป็นวนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน 2564 2) จังหวดั อนื่ ก็สามารถเล่ือนการเปิดภาคเรยี นไปได้เช่นเดียวกัน หากโรงเรยี นใดอยูใ่ นพืน้ ที่ 17 จงั หวัด หรอื 56 จงั หวดั ไหป้ ระเมินตนเองบนพืน้ ฐานความพร้อม โดยผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นรว่ มกับคณะครู กรรมการสถานศกึ ษา และหากมีความประสงค์ทีจ่ ะเปิดเรยี นกอ่ นวนั ที่ 14 มถิ นุ ายนน้ี ก็สามารถดาํ เนินการทํา เรือ่ งเสนอไปยงั คณะกรรมการควบคมุ โรคจังหวัดน้นั ๆ พิจารณา และหากได้รับการพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ โรงเรยี นกส็ ามารถเปดิ ทําการเรยี นการสอน On site คอื ใหเ้ ด็กมาเรียนท่ีโรงเรียนได้ ในขณะเดียวกันแมว้ ่าจะเปิด อนญุ าตให้นักเรียนมาโรงเรียนได้แต่มาตรการในการรักษาความปลอดภัยกย็ ังต้องปฏบิ ตั ิตามอย่างเข้มงวด เม่อื เลอ่ื นเปิดภาคเรียนเป็นวันที่ 14 มิถนุ ายน 2564 แล้วจะส่งผลอย่างไรหรือไม่ในการปดิ ภาคเรยี น ซงึ่ ตามประกาศเดมิ ปดิ เรยี นในวันท่ี 11 ตลุ าคม และเปดิ เรียนวนั ที่ 1 พฤศจิกายน ดังน้ันเรอื่ งของเวลาเรียน ทดแทนให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของแต่ละโรงเรยี นว่าจะชดเชยอย่างไรเพ่ือให้ไดว้ นั เวลาเรยี นครบถ้วนตามหลกั สตู ร อย่างไรก็ตามขอใหส้ ถานศึกษาตดิ ตามสถานการณ์อยา่ งใกล้ชิด พจิ ารณารปู แบบการเรียนการสอน โดยยดึ หลัก ความปลอดภยั สงู สุดของเด็ก ครู ผูป้ กครองเปน็ ทต่ี ้ัง นักเรยี นทุกคนต้องไม่พลาดโอกาสในการเรียนรู้ ไม่บังคบั วา่ เด็กทุกคนในโรงเรยี นเดยี วกันต้องเรยี นเหมือนกัน การตดั สินใจใชร้ ูปแบบใดในการจดั การเรียนการสอน รวมถงึ การจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียน ตอ้ งเป็นไปด้วยความสมัครใจ ขออนุญาตกับคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั ใหถ้ ูกต้อง และปฏบิ ตั ิตามข้อกําหนดของกระทรวงสาธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด การกาหนดแนวทางการดาเนนิ งานของโรงเรยี น เพอ่ื ให้การดาํ เนนิ งานก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ในวันท่ี 14 มถิ นุ ายน 2564 นนั้ เปน็ ไปดว้ ยประสิทธิภาพท่ามกลางการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 19 ดงั นน้ั โรงเรยี นอนบุ าลศรวี ิไล จงึ กาํ หนดแนวทาง ดังน้ี 1. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นของสถานศึกษาผ่านแพลทฟอรม์ Digital Platform ผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus ของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข จํานวน 44 ข้อ ผล การประเมนิ เปน็ สเี ขียว 2. ประสานข้อมลู กัยผูน้ ําชมุ ชม อสม.ในพืน้ ทีเ่ พ่ือประชาสมั พันธิ์ การกลบั จากพื้นทเี่ สี่ยง ในระดบั สี แดงและสสี ม้ (รอบท1ี่ เม่ือวันที่ 19 เมษายน 2564 รอบท่ี 2 เมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม 2564) ใหก้ ลบั เขา้ มาในพื้นทกี่ ่อน 14 วัน กอ่ นเปิดภาคเรียน 14 มิถนุ ายน 2564 3. ขอนญุ าตเปิดการเรียนการสอน ผา่ นสาํ นกั งานเขตพื้นการศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ กศจ.และ คณะกรรมการโรคติดต่อระดับจงั หวดั

8 4. เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ดงั น้ี 1. สือ่ สารประชาสมั พนั ธแกครแู ละ บุคลากรในสถานศึกษาใหมคี วามรู ความเขาใจเบื้องตน เก่ยี วกบั โรคโควดิ 19 ทกั ษะการลางมือ การสวมหนากากผาหรอื หนากากอนามัย สขุ ลักษณะสวนบุคคลที่ดี รวมทงั้ การทําความสะอาดอยางถกู วิธี จัดประชมุ ชีแ้ จงคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานแบบออนไลน หรื อกลุมยอยตามความจําเปน กําหนดแผนงาน โครงการ และกิจกรรม รองรับนโยบายและแนวทาง การปองกันโรคโควดิ 19 ของสถานศึกษา แตงตัง้ คณะทํางานรับผดิ ชอบ เกย่ี วกบั โรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา ประกอบดวย ครู บคุ ลากร สถานศึกษา นกั เรยี น ผูปกครอง เจาหนาท่ี สาธารณสขุ และผูเกี่ยวของ กาํ หนด บทบาทหนาที่ โดย มอบหมายครู ครูอนามยั หรือ บคุ ลากรของสถานศกึ ษาทาํ หนาที่ คัดกรอง วัดไขนักเรียน สังเกต สอบถามอาการเส่ียง และประสานงานเจาหนาท่สี าธารณสขุ ในพ้นื ท่ีเขตเทศบาลตําบล ศรวี ิไล โรงพยาบาลศรีวิไล ทวี่ ่าการอาํ เภอศรวี ิไล ซ่งึ เป็นหน่วยงานใหบริการ ในหองพยาบาลดแู ล ทําความสะอาดใน บรเิ วณสถานศึกษา และบริเวณจดุ เส่ียงประชุมจัดทาํ แผนปฏิบตั กิ ารประจําปี 2564 ในสถานการณ์โควิด เพ่ือ เพมิ่ งบประมาณในการปอ้ งกันการแพรเ่ ช้ือโควิด 19 อาทิ ยาฆ่าเชือ้ หน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ เครอ่ื งวดั อุณหภูมิใหเ้ พยี งพอ 2. พฒั นาปรบั ปรุงหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกับรูปแบบการจดั การเรียนการสอน 5 รปู แบบ ได้แก่ 1) On Site 2) On Air

9 3) Online 4) On Demand 5) On Hand 6) Blended Learning 3. เตรียมความพรอ้ มด้านอาคารเรยี น ห้องเรยี น หอ้ งนาํ้ โรงอาหาร โรงประกอบ กาํ หนด เส้นทางเขา้ ออก จุดคัดกรอง อ่างล้างมือ ผ้าเชด็ มือ สบู่ เจล การระบายน้ํา กําหนดเส้นทางการเดิน ระยะหา่ ง โต๊ะ เก้าอี้ ให้เป็นไปตามมาตรการเว้นระยะห่าง (Social Distancing) จดั ทําป้ายงดใช้สนามกฬี าต่างๆ ป้าย ป้องกันอันตราย ปา้ ยต่างๆท่ีแสดงถงึ มาตรการป้องกนั การแพรเ่ ชอ้ื วิธีสวมหนา้ กาก วธิ ิล้างมือ เป็นต้น 4. กําหนดมาตรการในโรงเรียน ให้มีการคัดกรองวัดไขและ อาการเสี่ยง กอนเขา้ สถานศกึ ษา พรอมสงั เกตอาการไข ไอ มีน้ํามูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหน่อื ยหอบ ไมไดกลนิ่ ไมรรู ส สาํ หรบั นกั เรยี น บุคลากรของ สถานศึกษา และ ผมู าตดิ ตอ ทุกคน กาํ หนดใหนักเรยี น บุคลากร และผูเขามา ใน สถานศกึ ษา ทุกคนตองสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัย ตลอดเวลาเม่อื อยูในสถานศึกษา ปรบั ปรุงจดุ บริการลางมือดวยสบูและนาํ้ หรอื เจลแอลกอฮอลอยางเพยี งพอ ในบรเิ วณตางๆ เชน ทางเขาอาคาร หองเรยี น โรงอาหาร จดั เวนระยะหางระหวางบคุ คล อยางนอย 1 - 2 เมตร เชน ระหวางโตะเรยี น ท่นี งั่ เรียน ทน่ี ั่งในโรง อาหาร ท่ีนง่ั พกั ทางเดนิ จดุ รอคอย หองนอนเด็กเล็ก กรณหี องเรียนไมเพียงพอในการจดั เวนระยะหางระหวาง บคุ คล ควรจดั ใหมีการสลบั วันเรียน แตละชน้ั เรยี น การแบงจํานวนนักเรียน หรือการใชพ้ืนท่ีใชสอย บรเิ วณ สถานศึกษา ตามความเหมาะสม ทงั้ นอ้ี าจพิจารณาวธิ ปี ฏบิ ตั ิอื่นตามบริบทความเหมาะสม โดยยดึ หลกั Social distancing เปดประตู หนาตางใหอากาศ ถายเท ทําความสะอาดหองเรียน และบริเวณตาง ๆ โดยเชด็ ทําความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของ โตะ เกาอี้ และวัสดุอปุ กรณ กอนเขาเรยี น พักเที่ยง และ หลงั เลกิ เรียนทุกวัน รวมถงึ จดั ใหมีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปด และรวบรวมขยะออกจากหองเรียนเพือ่ นาํ ไปกําจัด ทุกวนั 5. ใหพจิ ารณาควบคุมจาํ นวนนกั เรยี น ที่มารวมกจิ กรรม ลดแออดั หรอื ลดเวลาทํากิจกรรมให สน้ั ลง เทาทจี่ ําเปน หรือเหล่ือมเวลา ทํากจิ กรรม โดยถือหลักหลีกเลีย่ ง การตดิ ตอสมั ผัสระหวางกัน แนวปฏบิ ตั ิระหวา่ งเปิดภาคเรยี น (Public health and social guidelines in schools) 1. หลกั ปฏิบัตใิ นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 1) คดั กรอง (Screening) ผทู้ ่เี ขา้ มาในสถานศึกษาทกุ คน ตอ้ งไดร้ บั การคัดกรองวดั อุณหภูมิ ร่างกาย 2) สวมหนา้ กาก (Mask) ทุกคนต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอยใู่ น สถานศกึ ษา 3) ล้างมอื (Hand Wash) ลา้ งมือบ่อย ๆ ด้วยสบแู่ ละนา้ํ นานอย่างนอ้ ย 20วนิ าที หรือใชเ้ จล แอลกอฮอล์ หลีกเลยี่ งการสัมผัสบริเวณจุดเสี่ยงโดยไม่จําเป็น 4) เว้นระยะหา่ ง (Social distancing) เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1- 2 เมตร รวมถึง การจดั เวน้ ระยะห่างของสถานที่ 5) ทําความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถ่ายเท หากจําเป็นต้องใช้

10 เครื่องปรบั อากาศ กําหนดเวลาเปิด - ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ และเปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ระบายอากาศ ทกุ 1ชั่วโมง และทาํ ความสะอาดห้องเรยี นและบรเิ วณตา่ ง ๆ โดยเช็ดทาํ ความสะอาดพ้นื ผวิ สัมผัสของโตะ๊ เก้าอี้ และวัสดุ อปุ กรณ์ ก่อนเขา้ เรียน ชว่ งพักเท่ยี ง และหลังเลกิ เรยี นทุกวนั รวมถึงจัดใหม้ ีถังขยะมูลฝอยแบบมฝี าปิดและ รวบรวมขยะออกจากห้องเรียนเพอ่ื นาํ ไปกําจัดทุกวนั 6) ลดแออดั (Decrease) ลดระยะเวลาการทาํ กิจกรรมให้สน้ั ลงเทา่ ที่จําเปน็ หรอื เหลื่อมเวลาทํา กิจกรรมและหลีกเลี่ยงการทํากจิ กรรมรวมตัวกนั เปน็ กลุม่ 2. ขนั้ ตอนการคัดกรองสุขภาพและแนวทางการสง่ ต่อนักเรียนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 1) จดั ตงั้ จดุ /บริเวณคดั กรองบรเิ วณทางเข้าสถานศึกษา 2) วดั อณุ หภมู ิ (> 37.5° C ถือว่ามีไข้) 3) ให้ผูถ้ กู คัดกรองล้างมือดว้ ยสบู่และนาํ้ หรอื เจลแอลกอฮอล์ 4) ตรวจสอบการสวมหนา้ กากของบุคคลทุกคนทเ่ี ข้าสถานศกึ ษา 5) ซักประวตั ิเส่ียง อาการทางเดนิ หายใจอย่างใดอย่างหน่งึ (มีน้าํ มูก เจบ็ คอ หายใจลําบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ไดก้ ลนิ่ ไม่ร้รู ส) และบันทึกผลในแบบบนั ทึกการตรวจคัดกรองสขุ ภาพ  กรณี วัดอุณหภูมิกาย < 37.5° C ไม่มีอาการทางเดนิ หายใจ ไมม่ ปี ระวัตสิ มั ผัสใกล้ชิดกบั ผปู้ ่วยยืนยัน ให้ตดิ สญั ลกั ษณ์หรอื สต๊กิ เกอร์ เข้าเรียน/ปฏบิ ัตงิ านได้ตามปกติ  กรณี วัดอุณหภูมกิ าย > 37.5° C ขน้ึ ไป ร่วมกับอาการทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหนงึ่ และ/หรอื มีประวัตสิ มั ผสั ใกล้ชิดกบั ผปู้ ่วยยืนยัน ให้แยกนกั เรยี นไว้ในหอ้ งหรือบรเิ วณทจ่ี ัดเตรียมไว้ แจ้ง ผูป้ กครอง แจ้งเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขสอบสวนโรค และดาํ เนินการตามคาํ แนะนาํ ๖) ผู้รับผดิ ชอบรวบรวมขอ้ มูล รายงานผลให้ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาทราบ แนวปฏบิ ัติสาหรับบุคลากรในสถานศกึ ษา ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบตั ิ พร้อมท้งั จัดต้งั คณะทาํ งานดาํ เนนิ การป้องกนั การแพร่ระบาด ของ โรคโควิด-19 2. ทบทวน ปรบั ปรงุ ซ้อมปฏิบตั ติ ามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษา 3. ให้มีการสื่อสารประชาสัมพนั ธ์การปอ้ งกนั โรคโควิด-19 เกย่ี วกับนโยบาย มาตรการ การปฏิบัตติ น การจดั การเรียนการสอนให้กับผเู้ ก่ียวขอ้ ง และลดการตีตราทางสงั คม (Social stigma) 4. มมี าตรการคดั กรองสุขภาพทกุ คน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศกึ ษา (Point of entry) 5. ควรพจิ ารณาการจดั ให้นักเรียนสามารถเข้าถงึ การเรยี นการสอนทีม่ ีคุณภาพเหมาะสมตามบรบิ ท ได้ อยา่ งต่อเน่อื ง รวมถงึ การตดิ ตามกรณีนักเรยี นขาดเรยี น ลาปว่ ย 6. กรณีพบนักเรยี น ครู บุคลากร หรือผ้ปู กครองอยใู่ นกลุ่มเส่ียงหรอื ผู้ปว่ ยยนื ยนั เขา้ มาใน สถานศึกษา ใหร้ ีบแจง้ เจา้ หน้าที่สาธารณสุขในพืน้ ท่ี 7. มีมาตรการให้นกั เรยี นได้รับอาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ นมตามสิทธทิ ี่ควรไดร้ ับ กรณีพบอยู่ ใน กลุ่มเสย่ี งหรือกักตวั 8. ควบคุม กํากบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดําเนินงานตามมาตรการอยา่ งเคร่งครัดและตอ่ เน่อื ง 9. ทาํ การฉดี วัคซนี เพอ่ื ป้องกันตนเอง

11 ครูผูด้ แู ลนกั เรยี น 1. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ชื่อถือได้ 2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึง่ ให้หยดุ ปฏิบตั งิ าน รายงานผบู้ งั คบั บญั ชาและรีบไปพบแพทย์ทนั ที 3. ปฏิบตั ติ ามมาตรการการป้องกันโรคอยา่ งเคร่งครัด ได้แก่ ล้างมอื บ่อยๆ สวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั และเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล หลีกเลยี่ งการไปในสถานท่ีทแี่ ออัดหรือแหล่งชุมชน 4. แจง้ ผปู้ กครองและนกั เรยี น ใหน้ าํ ของใชส้ ว่ นตวั และอปุ กรณป์ อ้ งกนั มาใชเ้ ป็นของตนเอง 5. สอ่ื สารความรคู้ ําแนะนําหรอื จัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการปอ้ งกันและลดความเสี่ยงจากการ แพรก่ ระจายโรคโควดิ -19 6. ทาํ ความสะอาดสื่อการเรียนการสอนหรอื อุปกรณ์ของใช้ร่วมทเ่ี ป็นจุดสมั ผสั เส่ยี ง ทกุ ครง้ั หลัง ใช้ งาน 7. ควบคุมดูแลการจดั ทน่ี ่ังภายในสถานทใ่ี นโรงเรียน ตามหลกั การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร 8. ตรวจสอบ กาํ กบั ตดิ ตามการมาเรียนของนกั เรยี น 9. ตรวจคดั กรองสุขภาพทุกคนทีเ่ ขา้ มาในสถานศึกษาตามข้ันตอน 10. สงั เกตกล่มุ นักเรียนท่ีมีปัญหาพฤติกรรม หรอื นักเรียนทีไ่ ม่ร่วมมือปฏบิ ัตติ ามมาตรการที่ครู กําหนด เพือ่ ให้ได้รบั การชว่ ยเหลือ 11. สื่อสารความรเู้ กีย่ วกบั ความเครยี ด กระบวนการการจดั การความเครียดใหแ้ ก่นักเรยี นและ บคุ ลากรในสถานศกึ ษา 12. ทําการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันตนเอง นักเรียน 1. ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ชอ่ื ถือได้ 2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหนึ่ง รีบแจ้งครูหรือ ผูป้ กครอง 3. มีและใชข้ องใช้ส่วนตวั ไมใ่ ช้รว่ มกบั ผู้อืน่ 4. ปฏิบัตติ ามมาตรการการป้องกนั โรคอย่างเครง่ ครดั ได้แก่ ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย และเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ที่แออดั หรือแหลง่ ชมุ ชน 5. ดแู ลสขุ ภาพให้แขง็ แรง ดว้ ยการกินอาหารปรงุ สกุ ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ ออกกาํ ลังกาย และนอนหลับใหเ้ พยี งพอ 6. กรณนี ักเรยี นขาดเรยี นหรือถูกกกั ตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอยา่ งสมา่ํ เสมอ 7. หลีกเล่ียงการล้อเลยี นความผิดปกตหิ รืออาการไม่สบายของเพ่อื น ผปู้ กครอง 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมูลทเี่ ชอ่ื ถือได้

12 2. สงั เกตอาการปว่ ยของบตุ รหลาน หากมอี าการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ให้รบี พาไปพบ แพทย์ 3. จัดหาของใชส้ ่วนตวั ใหบ้ ุตรหลาน 4. จดั หาอุปกรณ์ป้องกันโรคและการล้างมือ กาํ กบั ใหบ้ ตุ รหลานปฏบิ ัติตามมาตรการการป้องกนั โรค อย่างเคร่งครดั ได้แก่ ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล หลกี เล่ียงการไปในสถานที่ทแี่ ออดั หรือแหลง่ ชุมชน 5. ดแู ลสขุ ภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรงุ สุก ใหม่ 6. กรณมี ีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผูป้ กครองควรใหค้ วามรว่ มมอื กับครูในการดแู ล จัดการเรียนการสอนแก่นักเรียน แมค่ รัว ผูจ้ าหนา่ ยอาหาร ผู้ปฏิบัตงิ านทาความสะอาด 1. ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค จากแหลง่ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ 2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ให้หยดุ ปฏบิ ัติงาน และ รบี ไปพบแพทย์ทันที 3. ลา้ งมือบ่อยๆ ก่อน – หลงั ปรุงและประกอบอาหาร ขณะจาํ หนา่ ยอาหาร หลงั สมั ผัสสงิ่ สกปรก 4. ขณะปฏิบัตงิ านของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากนั เป้อื น ถุงมือ สวมหน้ากากผา้ หรือ หน้ากากอนามัย และปฏบิ ัตติ นตามสขุ อนามัยสว่ นบคุ คลท่ีถูกต้อง 5. ปกปิดอาหาร ใส่ถงุ มือและใชท้ คี่ บี หยิบจับอาหาร 6. จัดเตรยี มอาหารปรงุ สกุ ใหม่ ใหน้ กั เรียนกิน ภายในเวลา 2 ช่วั โมง 7. ผ้ปู ฏิบัตงิ านทําความสะอาด ผปู้ ฏิบตั งิ านเกบ็ ขนขยะ ต้องใสอ่ ุปกรณป์ ้องกันตนเองและปฏบิ ัติ ตาม ขนั้ ตอนการทาํ ความสะอาดให้ถูกต้อง ด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม 1. หอ้ งเรยี น สถานท่ีสาํ หรบั การจัดการเรียนสอน ห้องปฏบิ ัติการต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา ห้อง ประชมุ หอ้ งพักครู โรงยิม โรงอาหาร หอ้ งสมุด หอ้ งสว้ ม เป็นต้น ให้ดาํ เนินการตามหลกั ปฏิบตั กิ ารป้องกนั การ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่างเคร่งครัด ได้แก่  จัดโตะ๊ เกา้ อี้ หรอื ทน่ี ั่ง ใหม้ กี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร  มกี ารเหล่ือมเวลาเรียน การเรียนกลมุ่ ยอ่ ย  จดั ให้มกี ารระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถ่ายเท และทาํ ความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์การ เรยี นทกุ คร้งั และจุดสัมผสั เสี่ยง ก่อน-หลงั ใช้งาน  จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือ  จาํ กัดจาํ นวนผ้ใู ชง้ านหรือลดระยะเวลาทาํ กจิ กรรมหรอื เหลือ่ มเวลา 2. โรงอาหาร  จัดบริการอาหาร เน้นป้องกันการปนเปื้อนของเชอ้ื โรค เชน่ อาหารปรงุ สาํ เรจ็ สกุ ใหม่ทุกครงั้

13  พิจารณาทางเลอื กให้ผ้ปู กครองสามารถเตรยี มอาหารกลางวัน (Lunch box) ให้นักเรียน 3. สถานที่แปรงฟัน หลกี เลยี่ งการรวมกลมุ่ และเว้นระยะห่างในการแปรงฟนั ใหน้ กั เรียนแปรงฟนั ใน ห้องเรยี น โดยนัง่ ทีโ่ ตะ๊ เรยี น เพือ่ ป้องกนั การแพรก่ ระจายของนํ้าลายละอองน้ํา หรือเชอ้ื โรคสผู่ อู้ ่นื ตามข้ันตอนการแปรงฟัน 4. ห้องพยาบาล  จดั ครหู รือเจ้าหนา้ ท่ีดูแลนักเรียน ในกรณีทมี่ นี ักเรยี นป่วยมานอนพักรอผปู้ กครองมารับ และมี การบันทกึ รายช่ือและอาการของนักเรียนท่ีปว่ ย  จัดให้มีพ้นื ทห่ี รือห้องแยกอย่างชดั เจน ระหว่างนักเรยี นป่วยจากอาการไขห้ วัดกับนกั เรียนป่วย จากสาเหตอุ นื่ ๆ 5. หอ้ งนอนเด็กเลก็ ระดับ อนุบาล 2-3  ทาํ ความสะอาดเครือ่ งนอน และผา้ กันเปื้อนทกุ วนั อุปกรณ์ของใชข้ องเลน่ ต้เู ก็บของส่วน บคุ คล และจุดสัมผัสเสีย่ งร่วม เปน็ ประจาํ ทกุ วนั  จัดให้มพี น้ื ท่ีสาํ หรบั การเรียนรขู้ องเด็กรายบคุ คล ยึดหลักเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร  มแี ละใช้ของใชส้ ่วนตัว เนน้ ไม่ใช้ของใชร้ ่วมกัน  จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือสําหรบั ครูและนักเรยี น  มกี ารระบายอากาศทดี่ ี อากาศถ่ายเทสะดวก  จัดอุปกรณ์การสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ใหเ้ พียงพอ

14 มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 กรณีเกดิ การระบาด (เมื่อพบผูป้ ่วยยืนยนั อยา่ งนอ้ ย 1 ราย ทค่ี ดิ ว่าอาจมีการแพรก่ ระจายเชือ้ ในสถานศึกษา) 1. ปิดสถานศึกษา/ชัน้ ปี/ชั้นเรียน เพอ่ื ทาํ ความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วนั 2. ประสานเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ เทศบาลตาํ บลศรีวไิ ล โรงพยาบาลศรวี ไิ ล สํารวจคัดกรองนักเรียน และบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้า สถานศึกษา และดาํ เนินการข้ันตอนท่ีกาํ หนด หากพบผเู้ ข้าเกณฑส์ อบสวน (PUI) ให้เก็บตวั อยา่ ง NP swab ส่งตรวจหาเช้ือ 3. ผู้สมั ผสั กล่มุ High risk ใหด้ าํ เนนิ การเกบ็ ตัวอยา่ ง NP swab สง่ ตรวจเชอื้ 4. ผู้สมั ผสั กลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอยา่ ง แตใ่ หแ้ ยกตัวอย่ทู ่ีบ้าน และรายงานอาการ (Self report) ทุกวนั หากพบวา่ มีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ให้ดําเนนิ การแบบผปู้ ่วย PUI 5. เมือ่ เปิดเรียน ใหม้ ีการคัดกรองไข้ทกุ วัน หากพบมอี าการเขา้ ได้กับ PUI ใหเ้ ก็บตัวอยา่ ง และ พจิ ารณาความเสีย่ งเพ่ือตดั สนิ ใจว่าจะใหผ้ ูป้ ่วยดูอาการที่บ้าน หรอื ต้องแยกตัวในโรงพยาบาล 6. ทมี สอบสวนโรคทําการตดิ ตามผูส้ มั ผสั ทกุ วนั จนครบกาํ หนด (ทม่ี า: กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสขุ ) การกํากบั ติดตาม และรายงานผล สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน และหน่วยงาน สาธารณสขุ ทดี่ ูแลสถานศึกษา ต้องมีการกาํ กับ ตดิ ตาม ทบทวนการดาํ เนินงานให้สอดคล้องตามแนวปฏบิ ัติ สถานการณ์ และบรบิ ทพืน้ ท่ี อย่างต่อเนอื่ ง กรณีพบ ผมู้ อี าการเสี่ยงหรอื ปว่ ย ตอ้ งรีบแจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ทันที และรายงานตอ่ ผูบ้ ริหาร ผู้เก่ยี วข้องไป

15 รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน โรงเรียนอนุบาลศรวี ิไล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ 19 ในการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควดิ 19 ในรอบทีส่ าม ที่มีความรุนแรง กระทรวงศกึ ษาธิการจะไม่กาํ หนดรปู แบบใดรปู แบบหน่งึ เพื่อใหท้ ุกโรงเรยี นจัดการเรยี นการสอนเหมอื นกนั ทั้งหมด โดยได้ต่อยอดรปู แบบ การจดั การเรยี นการสอนเป็น 6 รูปแบบ เพื่อให้มคี วามเหมาะสมต่อการรับมอื กบั การแพรร่ ะบาดระลอกใหมน่ ้ี คือ 1. On-site เรียนท่ีโรงเรียน โดยมีมาตรการเฝา้ ระวงั ตามประกาศของศนู ย์บรหิ ารสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.) 2. On-air เรียนผา่ นมลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ หรือ DLTV 3. On-demand เรยี นผา่ นแอปพลิเคชันต่างๆ 4. On-line เรยี นผ่านอินเตอรเ์ นต็ 5. On-hand เรียนทีบ่ ้านดว้ ยเอกสาร เชน่ หนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ๖. Blended Learning ในรูปแบบผสมผสานการจดั การเรียนการสอนแบบต่างๆเข้าดว้ ยกัน ข้ึนอยู่ กับสถานการณแ์ ละความจาํ เป็นของแต่ละบุคคล โรงเรียนอนุบาลศรวี ิไล กาหนดรปู แบบทัง้ ๖ รูปแบบดังน้ี โรงเรยี นกาหนดให้เรยี นแบบ On-site 1. เมือ่ เปิดเรียนในวนั ท่ี 14 มิถุนายน 2564 โรงเรยี นกาหนดใหเ้ รยี นแบบ On-site โดยมี ข้ันตอนดังน้ี 1.1 การเข้า – ออกประตู ผ่านจุดคัดกรองทางเดียว ผา่ นกิจกรรม ท้ังในและนอกหอ้ งเรยี นตาม แนวทางทโี่ รงเรียนกาํ หนด 1.2 มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บรเิ วณจุดแรกเขา้ ไปในสถานศกึ ษา (Point of entry) ทําการวดั อุณหภูมิ (> 37.5° C ถือว่ามีไข)้ ให้ผถู้ กู คัดกรองลา้ งมือด้วยสบู่และนํ้า หรือเจล แอลกอฮอล์ ตรวจสอบการสวมหนา้ กากของบุคคลทุกคนท่เี ขา้ สถานศกึ ษา ซักประวตั เิ ส่ยี ง อาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอย่างหน่งึ (มีนํา้ มูก เจ็บคอ หายใจลาํ บาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ไดก้ ล่ิน ไม่ร้รู ส) และบนั ทกึ ผลในแบบบนั ทกึ การตรวจคัดกรองสุขภาพ  กรณี วดั อุณหภูมิกาย < 37.5° C ไม่มอี าการทางเดินหายใจ ไม่มีประวัตสิ ัมผสั ใกลช้ ิดกับ ผปู้ ่วยยืนยันให้ติดสญั ลักษณ์หรือสติ๊กเกอร์ เข้าเรียน/ปฏิบัติงานไดต้ ามปกติ

16  กรณี วดั อุณหภมู ิกาย > 37.5° C ขึน้ ไป รว่ มกับอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ และ/หรือมีประวตั สิ มั ผสั ใกล้ชดิ กับผูป้ ่วยยืนยัน ให้แยกนกั เรียนไว้ในห้องหรือบรเิ วณทจี่ ัดเตรียมไว้ แจง้ ผปู้ กครอง แจ้งผ้นู าํ ชมุ ชน อสม.ในพนื้ ท่รี ับผดิ ชอบแจ้งเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ สอบสวนโรค และ ดาํ เนนิ การตามคาํ แนะนํา 1.3 ครเู วรประจําวนั และ อสม.ผูร้ ับผดิ ชอบรวบรวมขอ้ มลู รายงานผลใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ทราบทุกวัน ผ่านแอพพลเิ คชั่น Google form ,line 1.4 โรงเรยี จัดทํา Big data ประวัติ น.ร.,ผู้มาติดต่อในโรงเรียนทกุ ครัง้ ทกุ วนั 2. โรงเรยี นกาหนดให้เรียนแบบ On-Air , On-demand , On-line , On-hand 2.1 กรณี วัดอุณหภูมิกาย > 37.5° C ข้นึ ไป รว่ มกบั อาการทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหน่ึง ไม่พบวา่ มีประวัติสัมผัสใกล้ชดิ กบั ผปู้ ่วยยนื ยนั ใหแ้ ยกนักเรยี นไวใ้ นห้องหรอื บรเิ วณท่ีจัดเตรยี มไว้ แจ้ง ผู้ปกครอง แจ้งผู้นําชมุ ชน อสม.ในพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบแจ้งเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ สอบสวนโรค และดาํ เนินการตาม คาํ แนะนํา โรงเรียนโดยครปู ระจาช้ัน ครูประจาวชิ า ต้องกาหนดวิธกี ารเขา้ ถงึ ความรู้ กระบวนการเรียน ผา่ น 4 รูปแบบ คือ 1. On-air เรียนผา่ นมลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ หรือ DLTV ท้ังน้ี ผู้ปกครอง ตอ้ งมโี ทรทศั น์ , คอมพิวเตอร์ PC ,NOTEBOOK,TABLET และสามารถรับชมได้ และ/หรือ นกั เรียนตอ้ งมี Application DLTV บนมือถอื ตามชัน้ ปกี ารศึกษาของนกั เรียน ยกเวน้ ระดับ อนบุ าล หรือ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 -2 ที่ยงั ไม่มคี วามสามารถเข้าถงึ ได้ 2. แบบ On-demand ครปู ระจาวชิ า ต้องกาหนด Application วธิ ีการเขา้ ถึง ความรู้ กระบวนการเรยี น งานที่ต้องศึกษา งานท่ตี ้องปฏบิ ัติ คณุ ธรรมจริยธรรมท่ตี ้องผ่าน ยกเว้น นักเรียนที่ไมม่ ี คอมพิวเตอร์ PC ,NOTEBOOK,TABLET, มอื ถือ ระดับอนบุ าล หรอื ชน้ั ประถมศึกษา ท่ียงั ไมม่ ี ความสามารถเข้าถึงได้ 3. แบบ On-line เรียนผา่ นอินเตอร์เนต็ ท้ังนี้ นักเรยี นตอ้ งมีโทรทัศน์ , คอมพิวเตอร์ PC,NOTEBOOK,TABLET โทรศัพท์มือถอื และมีความสามารถเข้าถงึ เรยี นรู้ได้ 4. แบบ On-hand เรียนที่บา้ นด้วยเอกสาร เชน่ หนังสอื แบบฝึกหัดใบงาน ในรูปแบบ ผสมผสาน หรืออาจใช้วธิ ีอืน่ ๆ ท้ังนี้ ครูประจาวิชา ต้องเตรียมการสอน อธบิ ายการเรียนเตรยี มสื่อ เตรยี มใบ งาน แบบฝกึ หัด วิธกี ารวัดผลประเมินผล การนดั หมายวันเวลาในการ รบั -สง่ งานท่ีมอบ 2.2 กรณี นักเรียนมีอาการปว่ ย และนักเรียนตอ้ งนอนพักรักษาทบ่ี า้ นและตอ้ งพักป่วยใน สถานพยาบาลให้ใช้รปู แบบท้ัง 4 รปู แบบที่นักเรียนและครู ต้องตกลงวา่ ให้ใชร้ ูปแบบใด 2.3 กรณี พบว่า นกั เรียนท่ีมีผปู้ กครองหรอื ตัวนกั เรียน ตดิ เชือ้ ไวรสั โควิด 19 ให้ดาเนนิ การ ดังน้ี 2.3.1 ใหท้ าการปดิ เรยี นเปน็ เวลา 3 วัน และใหท้ าการป้องกันตามแนวทางที่ ศบค.และโรงเรยี นกาหนดไว้ 2.3.2 ใหน้ ักเรยี น หยดุ เรียน 14 วัน ใหใ้ ชร้ ปู แบบทั้ง 4 รูปแบบท่นี ักเรยี นและ ครู ต้องตกลงว่าใหใ้ ชร้ ปู แบบใด

17 หมายเหต*ุ ในการเปิดเรยี นในครง้ั นใี้ หเ้ ปน็ ไปตามมาตรการท่ี ศบค. และกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนดไวอ้ ย่างเครง่ ครดั ภาคผนวก แผนภาพแสดงขั้นตอนการดาเนินงานของโรงเรียน ตามคาสัง่ ศบค. ทีม่ า : กระทรวงสาธารณสุข

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook