Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิงคโปร์-singapore

สิงคโปร์-singapore

Description: สิงคโปร์-singapore

Search

Read the Text Version

ภารกจิ • สำ�นักงานเลขาธกิ ารเพอื่ ความร่วมมอื ด้านความมัน่ คง แหง่ ชาติ (National Security Coordination Secretariat) สำ�นักนายกรัฐมนตรีทำ�หน้าที่ให้การสนับสนุนนายก- รัฐมนตรีทั้งในด้านองค์การและงานบริหาร หน่วยงานต่างๆ ด�ำ เนนิ งานอยา่ งเปน็ อสิ ระขนึ้ ตรงตอ่ เจา้ หนา้ ทบ่ี ญั ชขี องแตล่ ะ หน่วยงาน นอกจากนี้ ยงั มีคณะกรรมการที่มอี ำ�นาจ 2 คณะ ภายใต้ การกำ�กับของสำ�นักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงได้แก่ Monetary Authority of Singapore (MAS) และ Civil Service College (CSC) โดย MAS คือ ธนาคารกลางของสิงคโปร์ ทมี่ พี นั ธกจิ ในการสง่ เสรมิ ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยนื และเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเงนิ MAS มคี ณะกรรมการบรหิ าร ของตวั เอง ซง่ึ มรี องประธานาธบิ ดเี ปน็ ประธาน และ CSC คอื สถาบันการเรียนกลางเพ่ือข้าราชการสิงคโปร์ ซ่ึงดำ�เนินการ ภายใตก้ องบรกิ ารสาธารณะส�ำ นักนายกรัฐมนตรี [57] 100

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defense) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ นโยบายด้านการป้องกนั ภารกจิ ของกระทรวง และการทตู (Defence กลาโหมและกองทพั Policy & Diplomacy) สงิ คโปร์ คือ สง่ เสรมิ มดี ังน้ี ให้เกดิ สนั ตภิ าพ • การยบั ยงั้ ขดั ขวางและ และความมน่ั คง การทูต (Deterrence ของประเทศสงิ คโปร์ and Diplomacy) ผา่ นการยบั ยงั้ ขดั ขวาง • เสริมสร้างความเขม้ แข็ง และการทตู หากเหน็ วา่ ดา้ นความสมั พนั ธก์ ลาโหม ล้มเหลวตอ้ งสรา้ ง ในภาคทวิภาคี ความมัน่ คงอย่าง (Strengthening Bilateral ฉบั พลนั และมชี ยั ชนะ Defence Relations) อยา่ งแน่วแน่ เหนอื ทัง้ ในภูมิภาคและท่วั โลก ผู้ทีม่ ารกุ ราน [43] • สรา้ งความมน่ั คงระดับ ภมู ภิ าคที่มคี วามโปร่งใส ครอบคลุม และยดื หยนุ่ (Building an Open, Inclusive, and Flexible Regional Security Architecture) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 101

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ • สร้างความม่นั คงในระดบั สากล (Contributing to International Security Efforts) กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ เพอื่ ให้บรรลภุ ารกจิ ทม่ี อี ยู่ สรา้ งสงิ คโปรใ์ หด้ ยี ง่ิ ขน้ึ กระทรวงการคลงั ผ่ า น ร ะ บ บ ก า ร เ งิ น จึงได้ก�ำ หนดกลยทุ ธ์ การคลัง [45] เพื่อความส�ำ เร็จไวด้ ังน้ี การเป็น “การคลังภาครฐั ” (Sound Public Finances) • บริหารทุนส�ำ รองอย่าง เหมาะสม (Optimally Managed Reserves) • รบั ประกนั ความย่งั ยนื ดา้ นการคลงั ของรฐั บาล ในระยะยาว (Fiscal Sustainability) 102

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ เตบิ โตดว้ ยโอกาสทกุ ดา้ น (Growth with Opportunity for All) • การเติบโตอยา่ ง มืออาชีพของระบบ การคลงั (Pro-growth Fiscal System) • ความเป็นมอื อาชพี ของชุมชนด้านระบบ การเงนิ (Pro-Community Fiscal System) • สรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทางธรุ กจิ (Conducive Business Environment) • ขยายชอ่ งทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ (Expand International Economic Space) รัฐบาลสมรรถนะสูง (High Performance Government) • ใช้ทรพั ยากรอย่างมี ประสิทธิภาพและ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 103

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ประสิทธผิ ล (Effective and Efficient Use of Resources) • รบั ผิดชอบผลการปฏิบตั ิ งาน (Accountability for Performance) • รัฐบาลเชิงบรู ณาการ (Integrated Government) • รฐั บาลทท่ี นั ตอ่ สถานการณ์ ในอนาคต (Government in Time for the Future) กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) ภารกจิ กระทรวงการตา่ งประเทศสงิ คโปร์ม่งุ มั่นทจี่ ะ • สนับสนุนการกำ�หนดนโยบายด้านต่างประเทศ และ น�ำ ไปปฏบิ ตั สิ คู่ วามกา้ วหนา้ เพอ่ื ผลประโยชนต์ า่ งๆ ของชาติ • สร้างมิตรและด�ำ รงความเป็นสมาชิกของประชาคม นานาชาตทิ ีม่ คี วามรับผิดชอบและสรา้ งสรรค์ รวมทัง้ แบ่งปนั ประสบการณก์ ารพฒั นาประเทศใหก้ บั 104

ภารกจิ ประเทศอนื่ ๆ • การเตรยี มการอย่างมีประสทิ ธิภาพ และตอบสนอง การช่วยเหลอื ดา้ นกงสุลแก่ชาวสงิ คโปร์ทั้งใน และตา่ งประเทศ [46] กระทรวงการพฒั นาสังคมและครอบครัว (Ministry of Social and Family Development) ภารกิจ การอบรมดูแลและทะนุบำ�รุง • การปรบั ตวั ของประชาชนรายบุคคล • ความเขม้ แข็งของสถาบันครอบครวั • การดูแลใสใ่ จสงั คม [50] กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) ภารกิจ เสรมิ สรา้ งการเชอื่ มตอ่ ดา้ นขนสง่ ของสงิ คโปรแ์ ละพฒั นา ศกั ยภาพภาคการขนสง่ ใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ การแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ และคุณภาพชีวิตของชาวสงิ คโปร์ [53] ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 105

กระทรวงสิง่ แวดล้อมและทรพั ยากรน�ำ้ (Ministry of the Environment and Water Resources) ภารกจิ รบั รองเรอื่ งความสะอาด ความยง่ั ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม และ ตอบสนองความต้องการเรือ่ งน้ำ�สำ�หรับชาวสิงคโปร์ [51] กระทรวงการสื่อสารและสารสนเทศ (Ministry of Communication and Information) ภารกจิ สร้างความมีส่วนร่วมของประชาชนในชาติให้มีชีวิตที่ดีข้ึน โดย • การพฒั นาแผนก Infocomm สอ่ื และภาคการออกแบบ ต่างๆ ใหม้ ชี วี ติ ชวี า • ปลกู ฝงั ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ • การดแู ลและความผูกพนั ตอ่ สาธารณะ [41] 106

กระทรวงมหาดไทย (Ministry of Home Affairs) ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ทกุ หน่วยงานและกรรมการ ท�ำ งานเป็นทีมเสมือน ท่บี ญั ญตั โิ ดยกฎหมาย เป็นหนุ้ สว่ นของชมุ ชน ภายใต้กระทรวงมหาดไทย ในการทำ�ให้สงิ คโปร์ มีกลยทุ ธ์หลกั มีทมี ปลอดภัยและเปน็ บา้ น ประจ�ำ บ้านท่แี สดงถงึ ท่มี คี วามม่นั คง [48] ความเป็นทมี เดยี วกนั ประสานงานและรว่ มมอื กนั นำ�ความปลอดภยั และมน่ั คงเพอ่ื ชาวสงิ คโปร์ กระทรวงกฎหมาย (Ministry of Law) ภารกจิ ความก้าวหน้าในการเขาถึงความยุติธรรม หลักนิติธรรม เศษฐกิจ และสังคม โดยผ่านนโยบาย กฎหมาย และการ บริการตา่ งๆ [49] ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 107

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (Ministry of Education) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ พ้ืนฐานการดำ�รงชีวิตและ พนั ธกจิ การบรกิ ารดา้ น ความสำ�เรจ็ : การศกึ ษา คอื หลอ่ หลอม ท ลี่ �ำ้ ปครา่ ะทชกุ าคชนนลเว้ ปน็นมทคี รณุ ัพคยา่ แากละร อนาคตของชาติ โดย ลักษณะเฉพาะของตนเอง การปลุกปั้นประชาชน ดังน้ันการศึกษาจะทำ�ให้เห็น ที่มีอิทธิพลต่ออนาคต ถึงศักยภาพท่ีเต็มเปี่ยมของ ของชาติ ซงึ่ การบรกิ าร แต่ละบุคคล นำ�พรสวรรค์ การศึกษาจะเตรียม และความสามารถมาใชใ้ หเ้ ปน็ ความพรอ้ มใหแ้ กเ่ ดก็ ๆ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตแิ ละ อย่างเท่าเทียม พัฒนา ชุมชน นำ�ไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ ให้เต็มศักยภาพ และ และนา่ พงึ พอใจ อบรมใหเ้ ปน็ ประชาชน เด็กทุกคนต้องได้รับการ ท่ีดี มีความรับผิดชอบ ส่งเสริมความก้าวหน้าผ่าน ต่อครอบครัว สังคม ระบบการศกึ ษาเทา่ ทศี่ กั ยภาพ และประเทศชาติ [44] ความสามารถของแตล่ ะคนจะ ท�ำ ได้ ความก้าวหน้าข้ึนอยู่กบั ความสามารถและคุณธรรม จะเปน็ เครอื่ งรบั ประกนั โอกาส ท่เี ท่าเทียมกนั ของทกุ คน เด็กทุกคนควรได้รับการ 108

ยุทธศาสตร์ ภารกจิ อบรมสั่งสอนตามท่ีแต่ละคน สามารถรับมือได้ และควรได้ รบั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ชยี่ วชาญตาม ความถนดั ตา่ งๆ ของแตล่ ะคน ระบบการศึกษาต้องยืดหยุ่น ตามความสามารถในการรบั มอื สำ�หรับพวกนักเรียนท่ีมีอัตรา แตกต่างกัน ท้ังในด้านจิตใจ รา่ งกาย อารมณ์ และสังคม เด็กทุกคนต้องเรียนรู้ที่จะ ภมู ใิ จในงานทท่ี �ำ ทง้ั ท�ำ งานให้ ดที ส่ี ดุ และดกี วา่ ในสงิ่ ใดกต็ าม ที่ได้ทำ� ให้คุณค่าและนับถือ ความซอื่ สตั ยข์ องงานท่ที ำ� การศึกษาให้ความรู้และ ทักษะแก่ตนเอง ตลอดจน คุณค่าท่ีถูกต้องและทัศนคติ ท่ีทำ�ให้เชื่อมั่นในการดำ�รงชีพ ของแตล่ ะคนรวมถงึ ความส�ำ เรจ็ และอยู่รอดของประเทศ จึง ต้องเรียนรู้ความสัมพันธ์ส่วน ตัวและสามารถทำ�งานใกล้ชิด กบั ผอู้ น่ื การแขง่ ขนั สว่ นบคุ คล ดว้ ยความส�ำ นกึ ทางสงั คมอยา่ ง ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 109

ยุทธศาสตร์ ภารกจิ เขม้ แขง็ ซง่ึ ตอ้ งมคี วามยดื หยนุ่ ในการนึกคิดและปรับตัวต่อ ความเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของโลก รวมทง้ั ตอ้ งมจี รยิ ธรรม และช่วยเหลือให้เข้มแข็งใน โลกของการยกระดับคุณค่า ต่างๆ ผเู้ รยี นตอ้ งรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ พื้นฐาน ความอ่อนแอ และ ขอ้ จ�ำ กดั ตา่ งๆ ของสงิ คโปร์ ทง้ั ต้องพัฒนาความสำ�นึกในเอก- ลกั ษณ์ และโชคชะตาสญั ชาต- ญาณแหง่ การปอ้ งกนั ผลประโยชน์ ของชาติ รวมถึงการแก้ปัญหา และมั่นใจท่ีจะยืนหยัดด้วย กัน พร้อมท่ีจะเผชิญหน้ากับ ความทา้ ทายและอปุ สรรคดว้ ย ตวั เอง การศึกษาช่วยอนุรักษ์ราก ฐานของวฒั นธรรม ผเู้ รยี นควร จะมคี วามรเู้ กยี่ วกบั วฒั นธรรม ประเพณี และภาษาแม่ ในขณะ เดียวกันต้องเรียนรู้ท่ีจะเข้าใจ และเคารพเพื่อนร่วมชาติที่มี 110

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ พ้ืนฐานทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และภาษาท่ีแตก ตา่ งจากตน กระทรวงวัฒนธรรม ชมุ ชน และเยาวชน (Ministry of Culture, Community and Youth) ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ ดา้ นศิลปะ (Arts) • สร้างทุนทางสงั คม • สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของ • สรา้ งแรงบันดาลใจ ชมุ ชนและความผูกพันใน แห่งจติ วิญญาณ ศิลปะ ความเป็นสิงคโปร์ • สนบั สนนุ ความรัก • ร่วมกันทำ�ให้ ความตอ้ งการในศลิ ปะของ สิงคโปร์เป็นบา้ น ประชาชน รวมทั้งรสนยิ ม ที่นา่ อยู่ ที่เปน็ เลศิ และการศกึ ษา ผา่ นงานศลิ ปะ ประเพณี • พฒั นาอุตสาหกรรม กฬี าตา่ งๆ การใหแ้ ละ ด้านศลิ ปะของสงิ คโปร์ ความผูกพนั ของชุมชน โครงสรา้ งพื้นฐาน และเยาวชน สรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมท่ีมีชีวิตชีวา สิง่ แวดลอ้ มท่สี ามารถ และคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีขน้ึ ทำ�ได้ ดงั นี้ • ดำ�เนนิ การตาม ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 111

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ การพัฒนาชุมชน ความตอ้ งการเพอื่ และการบรกิ าร (Community การเติมเต็มชวี ติ development and • เปน็ สงั คมทส่ี วยงาม services) โดยเกดิ จากการ • สนบั สนนุ ความสมั พันธ์ ชน่ื ชมซง่ึ กนั และกนั สามัคคีของชมุ ชน และมคี วามไวว้ างใจ และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม กัน ทหี่ ลากหลายทางวฒั นธรรม • มีสามัญสำ�นึกใน ของสิงคโปร์ ความเปน็ เจ้าของ • สง่ เสรมิ วฒั นธรรมการใสใ่ จ สงิ คโปร์ วา่ เปน็ บา้ น และวฒั นธรรมการให้ ของเรา [42] ผา่ นทางอาสาสมคั ร และการทำ�บญุ • ควบคุมดูแลองค์การ การกศุ ลและสหกรณต์ า่ งๆ ท่เี กีย่ วกับกิจการมุสลิม ไดแ้ ก่ ศาลศาสนาอิสลาม (Syariah Court) และ การจดทะเบียนสมรส (Registry of Muslim Marriages) ประเพณี (Heritage) • อบรมความประทับใจของ 112

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ประวตั ศิ าสตรช์ าติ และ มรดกทางวฒั นธรรมท่ี หลากหลาย ผา่ นการเกบ็ สะสมของชาติ การพิทักษ์ รกั ษาประเพณี และ การศกึ ษา • สนบั สนนุ ชมุ ชนใหเ้ ขา้ มี ส่วนรว่ มในประเพณี ทีต่ กทอดผา่ นทาง พิพธิ ภัณฑ์แห่งชาติ โปรแกรมประเพณีตา่ งๆ และอ่ืนๆ ความผกู พันกบั ถ่ินท่ีอยูแ่ ละ การปรับตัว (Rootedness and resilience) • เสริมสร้างเอกลกั ษณข์ อง ชาติ แบ่งปันคุณคา่ ตา่ งๆ ความเป็นเจา้ ของ และ ค�ำ มนั่ สัญญาใหแ้ กช่ าติ สิงคโปร ์ • อบรมความงดงามและ ความภาคภมู ิใจของ พลเมือง ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 113

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ กฬี า (Sports) • สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของ ชมุ ชน และผูกพนั ในกีฬา ตา่ งๆ • สนับสนุนความตอ้ งการ ดา้ นการกฬี าของประชาชน รวมทัง้ ความเป็นเลศิ ดา้ น กฬี าและการศกึ ษา • พัฒนาอตุ สาหกรรมกฬี า ของสงิ คโปร์ และโครงสรา้ ง พน้ื ฐานเพอ่ื วฒั นธรรมดา้ น กีฬาทมี่ ชี วี ติ ชีวา และ คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีข้นึ เยาวชน (Youth) • สนบั สนนุ และเตมิ ความหวงั และความสนใจต่างๆ ของ เยาวชน • สนับสนนุ ให้เยาวชน ช่วยเหลือชุมชน ด้วยความผกู พนั • อบรมภาวะเยาวชน 114

กระทรวงสาธารณสขุ (Ministry of Health) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ กระทรวงสาธารณสขุ ไดก้ �ำ หนด สง่ เสริมการมีสขุ ภาพ สามกลยทุ ธเ์ พอ่ื ความส�ำ เรจ็ ไว้ ทด่ี ี และลดการเจบ็ ปว่ ย ดงั น้ี ของประชาชน ประกัน สง่ เสรมิ การมสี ขุ ภาพทดี่ ี และ การเข้าถึงการบริการ ลดการเจบ็ ปว่ ยของประชาชน ดแู ลสขุ ภาพท่ดี แี ละ (Promote good health ราคาไมแ่ พง และปฏบิ ตั ิ and reduce illness) ตามความเป็นเลิศ การมีสุขภาพท่ีดีน้ันเป็น ด้านการแพทย์ [47] ความรับผิดชอบของแต่ละ บุคคล แต่กระทรวงแสดง บทบาทหลักในการให้ความรู้ และขอ้ มลู ขา่ วสารแกป่ ระชาชน ในการดแู ลสขุ ภาพ และลดการ เจบ็ ปว่ ยของประชาชนผา่ นการ ควบคมุ และปอ้ งกนั โรค รวมถงึ การจดั สรรทรพั ยากรตา่ งๆ ให้ เหมาะสม ประกันการเข้าถึงการบริการ ดูแลสุขภาพที่ดีและราคา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 115

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ไม่แพง (Ensure access to good and affordable healthcare) กระทรวงมคี วามรบั ผดิ ชอบ ในการท�ำ ใหม้ น่ั ใจวา่ ระบบการ ดูแลสุขภาพในสิงคโปร์น้ันมี ผลลัพธ์ท่ีดี และมีมาตรฐาน ระดับมืออาชีพ และแต่ละ บริการสุขภาพน้ันเหมาะสม กับความต้องการของผู้ป่วย และราคาคา่ บรกิ ารตอ้ งไมแ่ พง ให้ประชาชนสามารถจ่ายได้ ถงึ แมว้ า่ รฐั บาลและประชาชน จะรว่ มกนั จา่ ยคา่ บรกิ ารสขุ ภาพ นัน้ ก็ตาม ตดิ ตามความเปน็ เลศิ ทางการ แพทย์ (Pursue medical excellence) ระบบสขุ ภาพของสงิ คโปร์ นนั้ ไดร้ บั การยอมรบั เปน็ อยา่ ง ดี และชาวสิงคโปร์ก็ได้รับ ประโยชน์จากระบบน้ี ทำ�ให้ จำ�นวนผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามา 116

ยทุ ธศาสตร์ ภารกิจ รบั การรกั ษาในสงิ คโปรเ์ พม่ิ ขน้ึ ทางกระทรวงจึงต้องดำ�เนิน วิธีการต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่า ชาวสงิ คโปรส์ ามารถรบั ผดิ ชอบ ค่าบริการสขุ ภาพได้ กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม (Ministry of Trade and Industry) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ เพ่อื ให้บรรลภุ ารกิจท่มี ีอยู่ สง่ เสรมิ การเตบิ โตดา้ น กระทรวงการคา้ และอุตสาห- เศรษฐกจิ และสรา้ งงาน กรรมได้กำ�หนด กลยุทธ์เพ่อื ที่ดีให้แก่ชาวสิงคโปร์ ความส�ำ เรจ็ ไว้ดงั นี้ ให้สามารถปรับปรุง • อ�ำ นวยความสะดวก การดำ�เนินชีวติ ได้ [52] ในการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมใหม้ ี ศักยภาพการเตบิ โต และมีพื้นฐานต่างๆ ที่เขม้ แข็ง • ปกป้องผลประโยชน์ ทางการค้าระหวา่ ง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 117

ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ประเทศของสิงคโปร์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ความชดั เจนในการ ไดร้ บั สทิ ธใิ นตลาดโลก เรอื่ งสนิ คา้ การบรกิ าร และการลงทนุ ตา่ งๆ • จดั เตรียมความเขา้ ใจ ทดี่ ใี นสภาพปัจจบุ นั และทศั นคติ เพอ่ื เศรษฐกจิ สงิ คโปร์ และนโยบาย ท่บี ัญญตั ขิ ้ึนดว้ ย ความละเอียดออ่ น กระทรวงพัฒนาแหง่ ชาติ (Ministry of National Development) ยุทธศาสตร์ ภารกจิ วิสยั ทัศนข์ องกระทรวงพัฒนา • พัฒนาสาธารณปู - แหง่ ชาติ คอื การท�ำ ใหส้ งิ คโปร์ โภคข้นั พน้ื ฐาน เป็นบ้านในดวงใจ เป็นเมืองท่ี ระดบั โลก(Develop โดดเด่นระดับโลก กระทรวง World-Class พฒั นาแหง่ ชาติ จงึ มเี ปา้ หมาย Infrastructure) 118

ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ สคู่ วามส�ำ เร็จดงั นี้ • สรา้ งสง่ิ แวดล้อม • พัฒนาโครงสร้าง ดา้ นทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ พน้ื ฐานระดับโลก นา่ อยูอ่ ย่างย่ังยนื • สร้างสิง่ แวดล้อม และมีชีวติ ชวี า ในการด�ำ เนนิ ชีวติ ท่ี (Create a Vibrant ย่งั ยนื และมีชิวติ ชีวา and Sustainable • สร้างรากฐาน LivingEnvironment) และความสมั พนั ธ์ • สร้างรากฐานและ ของชุมชน ความเหนียวแนน่ ของชมุ ชน [56] กระทรวงแรงงาน (Ministry of Manpower) ภารกจิ พัฒนาผลิตภาพแรงงานและสถานที่ปฏิบัติงานให้ ดีขึ้น เพ่ือให้ชาวสิงคโปร์มีงานท่ีดี และมีความม่ันคง ยามเกษียณ [54] ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 119

5.2 หนว่ ยงานหลกั ทรี่ บั ผดิ ชอบงานทเี่ กยี่ วกบั ASEAN 5.2.1 หน่วยงานด้านเศรษฐกจิ หนว่ ยงาน หนา้ ที่ คณะกรรมการมาตรฐาน สนับสนุนให้ประเทศมีผลการผลิต ผลติ ภาพและนวตั กรรมแหง่ เพิม่ ขน้ึ โดยเฉพาะใน 3 ด้าน คอื ประเทศสิงคโปร์ หรอื SPRING 1) การเพิ่มผลผลิตและการ (Standards, Productivity สร้างสรรค์ and Innovation Board of 2) มาตรฐานและคณุ ภาพ และ Singapore) 3) SMEs ภาคอุตสาหกรรม ภายในประเทศ เพื่อให้สิงคโปร์เป็นประเทศ ทส่ี ามารถแขง่ ขนั ได้ และมศี กั ยภาพ การขยายตัวของเศรษฐกิจเพิ่มข้ึน สง่ ผลใหป้ ระชาชนมคี วามเปน็ อยทู่ ด่ี ี และชีวติ มคี ณุ ภาพ เว็บไซต์ : www.spring.gov.sg 120

หน่วยงาน หนา้ ท่ี กระทรวงการค้า รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การคา้ การลงทนุ และอุตสาหกรรม และการจัดตง้ั โรงงานอตุ สาหกรรม (Ministry of Trade and Industry) เว็บไซต์ : www.mti.gov.sg หน่วยงาน หนา้ ท่ี International มีนโยบายช่วยเหลือและสนับสนุน Enterprise Singapore บริษัทสิงคโปร์ให้สามารถขยายตัว (IE Singapore) สู่ตลาดโลกได้ โดยให้บริการและ อ�ำ นวยความสะดวกในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การจัดหาข้อมูลการตลาด ทำ�การ ศึกษาความเป็นไปได้ในการดำ�เนิน การคา้ และการนดั หมาย/จดั หาคคู่ า้ ในต่างประเทศ รวมทั้งมีนโยบาย สง่ เสรมิ สงิ คโปรใ์ หเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางของ SME ในภมู ภิ าค โดยมมี าตรการจงู ใจ ใหป้ ระเทศตา่ งๆ มาเปดิ บรษิ ทั /สาขา ในสงิ คโปร์ และรว่ มกบั บรษิ ทั สงิ คโปร์ ในการขยายธรุ กจิ สตู่ ลาดในภมู ภิ าค ต่อไป เวบ็ ไซต์ : www.iesingapore.gov.sg ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 121

หน่วยงาน หน้าที่ Economic ส่งเสริมให้นักธุรกิจต่างชาติเข้ามา Development Board ลงทุนในประเทศท้ังด้านการผลิต (EDB) และการบรกิ ารระดับนานาชาติ เวบ็ ไซต์ : www.edb.gov.sg หน่วยงาน หนา้ ที่ Agri-Food and รับผิดชอบในการตรวจสอบมาตร- Veterinary Authority ฐาน/คุณภาพอาหารนำ�เข้าสิงคโปร์ (AVA) ออกระเบียบและดูแลสุขอนามัย ภายในประเทศ เพ่ือให้ประชาชน มีความม่ันใจว่า อาหารที่นำ�เข้า สิงคโปร์และผลิตในประเทศมีความ สะอาดถูกสุขอนามัยปลอดภัยต่อ การบรโิ ภค เว็บไซต์ : www.ava.gov.sg 122

5.2.2 ดา้ นการศกึ ษา หน่วยงาน หนา้ ที่ กระทรวงศกึ ษาธิการ หลอ่ หลอมอนาคตของชาติ โดยการ (Ministry of Education) ปลุกป้ันประชาชนท่ีจะเป็นอนาคต ของชาติ ซง่ึ การบรกิ ารของกระทรวง ศึกษาธิการ คือ การให้การศึกษา แกเ่ ดก็ ๆอยา่ งเทา่ เทยี มพฒั นาเยาวชน อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ และอบรมใหเ้ ปน็ ประชาชนท่ีดี มีความรับผิดชอบ ตอ่ ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ เวบ็ ไซต์ : www.moe.gov.sg 5.2.3 ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม หนว่ ยงาน หน้าท่ี กองทุนธรุ กิจเพื่อสงั คม เสริมสร้างศักยภาพของตัวบุคคล (Social Enterprise และองค์การเพ่ือสร้างโอกาสแก่ Fund: SEF) ผู้ด้อยโอกาสในสังคมให้สามารถ โดยกระทรวงวฒั นธรรม พ่ึงพาตนเองได้ รวมท้ังเสริมสร้าง ชุมชนและเยาวชน ศักยภาพให้ผู้มีนวัตกรรมที่จะสร้าง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 123

หนว่ ยงาน หน้าที่ (Ministry of Culture, ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมได้ Community and Youth) แสดงออกอย่างเต็มที่ เว็บไซต์ : www.mccy.gov.sg 5.2.4 ด้านสาธารณสุข หน่วยงาน หน้าท่ี The Healthcare พฒั นาสงิ คโปรใ์ หเ้ ปน็ ศนู ยใ์ หบ้ รกิ าร Service Working Group รกั ษาพยาบาลของเอเชยี (HSWG) เวบ็ ไซต์ : www.mti.gov.sg 5.2.5 ดา้ นการบิน หนว่ ยงาน หน้าที่ กระทรวงคมนาคม รักษาสถานะการเป็นศูนย์กลาง (Ministry of Transport) ทางการบินในภมู ภิ าค เวบ็ ไซต์ : www.mot.gov.sg 124

5.2.6 ดา้ นการท่องเที่ยว หน่วยงาน หน้าท่ี การท่องเทย่ี วสงิ คโปร์ สง่ เสรมิ พฒั นา และใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี วประเทศสงิ คโปร์ เว็บไซต์ : www.yoursingapore.com 5.2.7 ด้านอุตสาหกรรมทใี่ ช้ความคิดสร้างสรรค์ หนว่ ยงาน หนา้ ที่ กระทรวงการสอ่ื สาร พัฒนาอตุ สาหกรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ และสารสนเทศ (Ministry of Communication and Information) เว็บไซต์ : www.mci.gov.sg 5.2.8 ด้านตลาดแรงงาน หนว่ ยงาน หน้าท่ี กระทรวงแรงงาน พฒั นาผลติ ภาพแรงงานและสถานที่ (Ministry of Manpower) ปฏบิ ตั งิ านใหด้ ขี น้ึ เพอ่ื ใหช้ าวสงิ คโปร์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 125

หนว่ ยงาน หนา้ ที่ มีการงานท่ีดี และมีความมั่นคง ยามเกษียณ เว็บไซต์ : www.mom.gov.sg 5.2.9 ด้านความช่วยเหลอื ประเทศเพื่อนบ้าน หนว่ ยงาน หน้าที่ กระทรวงการตา่ งประเทศ สร้างความสมั พันธ์ แบง่ ปันประสบ- (Ministry of Foreign Affairs) การณ์การพัฒนาประเทศ และให้ ความชว่ ยเหลือประเทศเพอ่ื นบ้าน เวบ็ ไซต์ : www.mfa.gov.sg 5.2.10 ด้านไอที หนา้ ท่ี หน่วยงาน MICA มีวิสัยทัศน์ คือ “Creative People, Gracious Community, Ministry of Information, Connected Singapore” โดยมี Communications, ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ น้ น ด้ า น วั ฒ น ธ ร ร ม and Arts (MICA) 126

หนว่ ยงาน หน้าท่ี เปน็ หลกั เปา้ หมายของ MICA คอื การ พฒั นาสงิ คโปรใ์ หเ้ ปน็ เมอื งระดบั โลก ดา้ นขอ้ มลู การสอื่ สารและวฒั นธรรม สร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และ สร้างสังคมคุณภาพในประเทศท่ีมี ความหลากหลาย Industry Division ดูแลให้ ICT มศี กั ยภาพเขม้ แข็งและ (IND) แขง่ ขันกับประเทศอ่นื ๆ ได้ ควบคุม ดูแลให้บรรยากาศในการซื้อขาย เป็นไปด้วยดี ส่งเสริมให้ธุรกิจ ICT มีความก้าวหน้า ส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรมและผลผลิตทาง ICT ใหม่ๆ รวมท้ังพัฒนาคุณภาพของ บคุ ลากรในงานด้าน ICT Infocomm Development ดูแลการพัฒนาเทคโนโลยีด้าน ICT Authority of Singapore โดยตรง โดยยึดเป้าหมายที่จะเป็น (iDA) Intelligent Nation ภายในปี 2015 (iN2015) เพื่อพัฒนาให้สิงคโปร์ เป็นเมืองระดับโลก โดยมจี ดุ แขง็ คอื ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 127

หนว่ ยงาน หนา้ ท่ี เทคโนโลยีและการส่ือสาร อย่างไร ก็ตาม iDA ยังมีอีกเป้าหมายหน่ึง คือ ด้านสิ่งแวดล้อมและระบบ นิเวศน์ (Ecosystem) การพัฒนา ด้านเทคโนโลยีจึงจะต้องไม่ทำ�ลาย ส่ิงแวดล้อม นวัตกรรมด้าน Eco- friendly จึงถือเป็นอกี นโยบายหนงึ่ ซึ่งมุ่งเน้นความยั่งยืน iDA ยังมี เป้าหมายในการส่งเสริมความเป็น Economic Hub และการลงทุน ด้านความรู้และทักษะของบุคลากร หวั ใจส�ำ คญั ของ iDA กค็ อื นวตั กรรม นน่ั เอง International Conference เน้นเร่ืองการนำ�เทคโนโลยีเข้า on Teaching and Learning มาประกอบการให้การศึกษากับ with Technology ประชากรรุ่นใหม่ (ICTLT) 128

6 ระบบการพฒั นาข้าราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 129

6.1 ภาพรวมของการพฒั นาขา้ ราชการ วิทยาลัยข้าราชการพลเรือน (Civil Service College: CSC) [31] ประเทศสิงคโปร์ คือ สถาบันการเรียนรู้ส่วนกลางสำ�หรับหน่วยงาน บริการภาครัฐประเทศสิงคโปร์ อีกทั้งยังมีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือหน่วยงานให้บริการสาธารณะของภาครัฐชั้นหน่ึง ตามพันธกจิ ของวิทยาลัยขา้ ราชการพลเรอื น วิสัยทัศน์ของวิทยาลัยข้าราชการพลเรือน คือ หัวใจของการเรียนรู้ อันเป็นเลิศและการพัฒนาหน่วยงานให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ในประเทศสิงคโปร์ • ศนู ยก์ ลางความรู้ การประมวล การสรา้ งสรรค์ และการถา่ ยทอด ความรภู้ ายในธรุ กจิ ภาครฐั • การตคี วามรว่ มกันในด้านลักษณะพฤตกิ รรมและคา่ นยิ ม • สร้างซอฟต์แวรส์ ำ�หรบั เครือข่ายภาครฐั • สร้างความสามารถหลักในธุรกจิ ภาครัฐ • เช่ือมต่อไปยังทัว่ โลก • ศนู ยก์ ลางความเปน็ เลศิ ดา้ นการเรยี นรแู้ ละพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ในหน่วยงานใหบ้ รกิ ารสาธารณะของภาครัฐ • สร้างความสามารถทางยุทธศาสตร์ด้านกำ�ลังการผลิตและภาวะ ความเปน็ ผู้น�ำ ให้แกห่ นว่ ยงานให้บรกิ ารสาธารณะของภาครฐั วทิ ยาลยั ขา้ ราชการพลเรอื น (CSC) มโี ปรแกรมทค่ี รอบคลมุ เหมาะสม เพอ่ื สรา้ งยทุ ธศาสตรด์ า้ นก�ำ ลงั การผลติ ในหนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารสาธารณะ ของภาครัฐ มุ่งเน้นในด้านการบริหารปกครอง ภาวะความเป็นผู้นำ� 130

รวมทั้งการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ โดย CSC ดำ�เนินงานอย่างใกล้ชิด กบั รฐั บาลและหนว่ ยงานสอื่ สารภาครฐั ทปี่ ลกู ฝงั คา่ นยิ ม ตลอดจนสถาบนั วชิ าการและองคก์ ารการเมอื งระหวา่ งประเทศ เพอ่ื แลกเปลย่ี นวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ทที่ �ำ ใหอ้ งคก์ ารประสบความส�ำ เรจ็ และมปี ระสบการณด์ า้ นความเปน็ ผนู้ �ำ การพฒั นานโยบาย การบรหิ ารรัฐกจิ และการปฏิรปู ภาครฐั รายงานว่ามีผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัว เปน็ จ�ำ นวนเกือบ 44,000 คน ในปี พ.ศ. 2553 ภาพที่ 7 สถติ กิ ารฝึกอบรม ปี พ.ศ. 2552 – 2554 ท่ีมา: รายงานประจ�ำ ปี พ.ศ. 2554 ของวทิ ยาลยั ขา้ ราชการพลเรอื นสงิ คโปร์ ประเทศสิงคโปร์เน้นการสร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมในการฝึกอบรม ภายในหน่วยงานบริการสาธารณะของภาครัฐประเทศสิงคโปร์ อย่างเป็นระบบ (Training Environment in the Singapore Public Service: SPS) ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบหลายประการ เพ่ือให้ได้ มมุ มองทล่ี ะเอยี ดเกยี่ วกบั ระบบนี้ จะมอี งคป์ ระกอบทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั ทงั้ สนิ้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 131

9 ประการ ได้แก่ บริบท หลักการและแนวทาง การให้ความสำ�คัญและ การกำ�หนดทิศทาง กรอบแนวคิด ผู้มีบทบาทสำ�คัญ ระเบียบวิธีการ ประเภทของโครงการ การเลือกโครงการ และการวิเคราะห์ท่ีนำ�มาใช้ ในการประเมินสภาพแวดล้อม คือ การประเมินความคุ้มค่า (VFM) ดงั ภาพที่ 8 ในหัวข้อ 6.2.1 ระบบการพัฒนาข้าราชการ 6.2 วิธีพัฒนาข้าราชการ การพัฒนาข้าราชการของแต่ละประเทศต่างมีวิธีการของตนเอง ประเทศสิงคโปรก์ เ็ ชน่ กนั ซง่ึ ดไู ดจ้ ากภาพที่ 8 จะเหน็ ได้ว่าองคป์ ระกอบ ท่ี 1-5 สะท้อนให้เห็นถึงระบบการพัฒนาข้าราชการ องค์ประกอบ ที่ 6-9 สะท้อนถงึ วิธีการพฒั นาขา้ ราชการ ทภามี่ พา:ท ่ีG8amภสbภาคhารพirัฐแBขวhอดaงลtปtอ้ aรม,ะใ2เนท0กศ0าส0ริงฝคึกโปอรบ์ รมภายในหน่วยงานบรกิ ารสาธารณะ 132

จากภาพท่ี 8 ได้น�ำ มาขยายการศึกษาดงั นี้ 6.2.1 ระบบการพัฒนาข้าราชการ องคป์ ระกอบท่ี 1: บริบท การฝึกอบรมภายในหน่วยงานบริการสาธารณะภาครัฐของประเทศ สงิ คโปร์ (SPS) มหี ลายตวั แปร ซงึ่ เปน็ ปจั จยั ในการพฒั นาและบางตวั แปร อยู่นอกเหนือการควบคุมของรัฐบาล ตามท่ีแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ในภาพประกอบทม่ี ี 8 ตวั แปร ชว่ ยขยายใหเ้ หน็ ขอบเขตของปญั หา นบั จาก ปญั หาดา้ นขนาดทางภมู ศิ าสตรไ์ ปจนถงึ ปญั หาดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากร มนษุ ยเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ (SHRM) ทปี่ ระเทศเลก็ ๆ อยา่ งสงิ คโปร์ มคี วามสมั พนั ธ์ กบั เศรษฐกจิ โลกและประเทศนมี้ กี รอบการวางแผนกลยทุ ธอ์ นั เปน็ อสิ ระ จากปัจจัยภายนอก สิงคโปร์เป็นประเทศท่ีไม่มีทรัพยากรธรรมชาติ แต่มีความเป็นชุมชนเมืองอย่างสมบูรณ์ เศรษฐกิจของประเทศสิงคโปร์ มีวิวัฒนาการมาจากการพ่ึงพาอาศัยทรัพยากรของชาติอ่ืนๆ โดยเร่ิมต้น จากการรวมสนิ คา้ สง่ ไปจ�ำ หนา่ ยยงั สถานทอ่ี น่ื จนกลายมาเปน็ เมอื งศนู ยก์ ลาง ทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ีเศรษฐกิจของประเทศสิงคโปร์อยู่บนพื้นฐาน ของการคา้ เสรแี ละระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ ม ทรี่ ฐั บาลมบี ทบาทหนา้ ที่ อย่างมากในกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเข้าแทรกแซงด้านการวางแผนและ การดำ�เนินงานนโยบายเศรษฐกิจที่ช่วยเพ่ิมพูนความเข้มแข็งของชาติ และในขณะเดียวกันเศรษฐกิจของชาวสิงคโปร์มีความสัมพันธ์ทางตรง กับตลาดโลกอย่างกว้างขวาง เพราะฉะนั้นเม่ือมีส่ิงท่ีเกิดข้ึนในตลาด ต่างประเทศจงึ ส่งผลกระทบโดยตรงอย่างมากต่อประเทศสงิ คโปร์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 133

นอกจากนี้การศึกษาถึงความเข้มแข็งของสังคมระยะยาวมักจะดูที่ การพฒั นาศกั ยภาพคน การศกึ ษา รวมถงึ การฝกึ อบรมภายในหนว่ ยงาน ใหบ้ รกิ ารสาธารณะของภาครฐั ประเทศสงิ คโปร์ ซงึ่ ปรากฏใหเ้ หน็ ในบรบิ ท ของการใชง้ านทเี่ พม่ิ ขนึ้ ของสง่ิ ทเี่ รยี กกนั วา่ การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ เชงิ กลยุทธ์ (SHRM) องค์ประกอบที่ 2: หลกั การและแนวทาง แนวทางการฝกึ อบรมภายในหนว่ ยงานภาครฐั เปน็ ผลติ ผลจากแนวทาง การปฏิบัติท้ังหมดท่ีมีต่อนโยบายสาธารณะภายในประเทศสิงคโปร์ ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา [40] สิ่งเหล่านี้ประกอบด้วยความมุ่งม่ันและ ความเชอ่ื มนั่ อยา่ งแรงกลา้ ทง้ั นหี้ นว่ ยงานใหบ้ รกิ ารสาธารณะภาครฐั ของ ประเทศสิงคโปร์ยังตั้งคำ�ถามว่า กิจกรรมการฝึกอบรมช่วยตอบสนอง ความตอ้ งการดา้ นทกั ษะและอาจสง่ ผลกระทบตอ่ ความตอ้ งการเดยี วกนั น้ี ในอนาคตอย่างไร ส่ิงท่ีน่าทึ่งยิ่งกว่าเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์ คือ การให้ความสำ�คัญ อย่างมากด้านการมุ่งเน้นอนาคต กลยุทธ์การมุ่งเน้นท่ีรัฐบาลใช้อยู่น้ี กลายเป็นกลยุทธ์ที่โด่งดังในปัจจุบัน และเป็นวิธีที่ทำ�ให้ประเทศเล็กๆ สามารถประสบความส�ำ เร็จไดอ้ ย่างยอดเยย่ี ม โดยรฐั บาลมกั ถามตัวเอง เสมอว่า “ปีหน้าจะเป็นเช่นไร” และการค้นหาคำ�ตอบสำ�หรับคำ�ถามน้ี คือ สิ่งท่ีผลักดันให้มีการมุ่งเน้นในด้านการฝึกอบรม ซ่ึงเป็นวิธีการ ในการบรหิ ารจดั การความซบั ซอ้ นทเี่ พมิ่ มากขน้ึ ตลอดเวลา ภายในขอบเขต ของนโยบายสาธารณะในระดบั บคุ คล แมแ้ ตพ่ นกั งานแตล่ ะคนยงั คาดหวงั วา่ จะไดค้ รอบครองกรรมสทิ ธใ์ิ นกระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารเพมิ่ พนู 134

ทักษะ ยกตัวอย่างเช่น การเตรียมเส้นทางการฝึกอบรมรายบุคคล (ITRM) ซ่ึงจุดน้ีพนักงานจะเร่ิมต้นและวางแผนเก่ียวกับสายอาชีพ ของพนักงานเอง รวมทั้งจะระบุทักษะท่ีจำ�เป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การท�ำ งาน ในลกั ษณะดงั กลา่ วนค้ี วามเปน็ เจา้ ของกรรมสทิ ธค์ิ วบคไู่ ปกบั ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับความเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ิในระดับบุคคล จะเป็นของพนักงาน สถาบันที่มุ่งเน้นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องมีความพิเศษอยู่ที่สถาบัน ดงั กลา่ วมองเหน็ วา่ แนวคดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สามารถชว่ ยใหพ้ นกั งาน ของหนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารสาธารณะของภาครฐั สามารถน�ำ เอาทศั นคตทิ มี่ ี อยไู่ ปใชก้ ับปัญหาในอนาคตได้ และส่ิงสำ�คัญในการเรียนรู้อย่างตอ่ เนอ่ื ง คือ การนำ�ไปสูก่ ารจ้างงานระยะยาวใหแ้ ก่พนกั งาน จุดกำ�เนิดของการมุ่งเน้นการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง คือ ข้อเท็จจริง ที่ว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นส่ิงท่ีไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และหากไม่มี การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งกไ็ มส่ ามารถรบั รองไดว้ า่ การด�ำ เนนิ งานในอนาคต จะเกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ความมุ่งม่ันของรัฐบาลที่มีต่อ หลักแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตน้ันมีความชัดเจนมาก ยกตัวอย่างเช่น เพงิ่ มกี ารสรา้ งระบบการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ในโรงเรยี นของประเทศสงิ คโปร์ เมอื่ ไมน่ านมานี้ [76] อีกหลักการที่สำ�คัญในการดำ�เนินงานโดยท่ัวไปของภาครัฐ และโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการฝึกอบรมหน่วยงานภาครัฐ คือ การดำ�เนินการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องเพื่อทำ�ให้เกิดประสิทธิภาพ [62] ความมีประสิทธิภาพ คือ วิถีการดำ�เนินชีวิตในประเทศสิงคโปร์ รฐั บาลประเทศสงิ คโปรเ์ นน้ ย�ำ้ เสมอเกย่ี วกบั คณุ คา่ ของการบรหิ ารจดั การน้ี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 135

อีกท้ังยังประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างมากในการสร้างประสิทธิภาพ ซ่ึงเป็นรากฐานสำ�คัญในการดำ�เนินงานของภาครัฐ ข้อเท็จจริงท่ีว่า รัฐบาลมีนโยบายอันแข็งแกร่งในการแสวงหาความมีประสิทธิภาพ คือ การทร่ี ฐั บาลใหค้ วามใสใ่ จเปน็ พเิ ศษในดา้ นการฝกึ อบรมบคุ ลากรภาครฐั การขบั เคลอ่ื น เพอ่ื ท�ำ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพนตี้ อ้ งตอบสนองความตอ้ งการ ของลกู คา้ และตอ้ งปรากฏใหเ้ หน็ อยใู่ นบรบิ ทของโครงการบรกิ ารสาธารณะ หรือ PS21 ของรัฐบาล ซง่ึ “ให้บริการสาธารณะของภาครัฐมักแสวงหา การปรบั ปรงุ พฒั นา เพอ่ื คน้ หาวธิ กี ารด�ำ เนนิ งานทด่ี ยี ง่ิ ขน้ึ ทง้ั ตง้ั ค�ำ ถามวา่ ควรจะด�ำ เนนิ งานในลกั ษณะเดมิ ตอ่ ไปหรอื ไม่ และก�ำ ลงั ด�ำ เนนิ การสง่ิ ใด กันอยู่ รวมทั้งตั้งคำ�ถามวา่ มีสิง่ อืน่ ใดทค่ี วรด�ำ เนนิ การอกี ...” [40] นอกจากน้ีมีการเปล่ียนหลักสำ�คัญด้านการฝึกอบรมของหน่วยงาน ภาครัฐในประเทศสิงคโปร์ โดยมีการเปล่ียนแปลงลักษณะของ การฝึกอบรมจากรายบุคคลไปเป็นค่ายฝึกอบรม การเปล่ียนนี้เพื่อให้ กรอบการวิเคราะห์ระดับมหภาค (Macro Framework) ปรากฏ อยใู่ นกระบวนการเรียนรู้ การฝึกอบรมที่บังคับให้บุคลากรต้องฝึกอบรม เพยี งล�ำ พงั นนั้ จะไมค่ อ่ ยไดผ้ ลเหมอื นกบั การฝกึ อบรมทนี่ �ำ บคุ ลากรเขา้ ไป ฝกึ อบรมในลกั ษณะคา่ ย โดยโครงการคา่ ยฝกึ อบรมเปน็ กรณตี วั อยา่ งทดี่ ี ส�ำ หรบั ประเด็นน้ี การขยายขอบเขตการฝกึ อบรมใหเ้ ปน็ ลกั ษณะโครงการคา่ ยฝกึ อบรม น้ัน จำ�เป็นต้องให้บุคลากรตระหนักถึงสถานการณ์ของประเทศ การบรหิ ารงานบรกิ าร โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การไดม้ าซง่ึ ความคดิ ทด่ี เี ยย่ี ม และการทำ�งานในตำ�แหน่งงานบริหารระดับสูงภายในหน่วยงานภาครัฐ ในประเทศสิงคโปร์ อย่างเช่น มีการจัดทีมงานโครงการประกอบด้วย 136

บุคลากรทกุ วัยและทุกระดบั เพ่อื ร่วมศึกษาปญั หาส�ำ คญั ทสี่ ง่ ผลกระทบ ต่ออนาคตของประเทศสิงคโปร์ ซ่ึงการฝึกอบรมลักษณะนี้จะไม่ใช่ การฝกึ อบรมทกั ษะพน้ื ฐานเพยี งเทา่ นนั้ การเขา้ รว่ มการประชมุ รายสปั ดาห์ รายเดือน หรือรายไตรมาส เพื่อให้ได้ทราบข้อมูลล่าสุดเก่ียวกับปัญหา และเป้าหมายของประเทศ ปัญหาระดับภูมิภาค รวมท้งั นโยบายภาครัฐ จะขึน้ อย่กู ับระดับต�ำ แหนง่ งานของบคุ ลากร บุคลากรภายในหน่วยงานให้บริการสาธารณะภาครัฐของประเทศ สิงคโปร์จะถือว่ามีสิทธิขั้นพื้นฐาน 3 ประการ ได้แก่ สิทธิในการแนะนำ� สิทธิในการทำ�งานในทีมงานปรับปรุงพัฒนา และสิทธิในการฝึกอบรม โดยสทิ ธขิ อ้ สดุ ทา้ ยนม้ี คี วามครอบคลมุ หลายสง่ิ หลายอยา่ ง แตโ่ ดยหลกั แลว้ สทิ ธขิ อ้ นกี้ �ำ หนดขนึ้ เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรไดร้ บั โอกาสและเงนิ ทนุ อนั เหมาะสม และเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ทกั ษะความรใู้ หมๆ่ สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กอ่ นการก�ำ หนดสทิ ธนิ ้ี คือ ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ.1980) รัฐบาลได้กำ�หนดนโยบายข้ึน โดยนำ�เอาปรัชญาการบริหารงานส่วนบุคคลที่มุ่งบุคลากรมาใช้กับงาน ราชการฝ่ายพลเรือน ซึ่งระบุไว้ว่าบุคลากรต้องได้รับการส่งเสริมด้าน การพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรอยา่ งเตม็ ท ่ี กอ่ นหนา้ นม้ี งี านหลากหลาย ประเภททต่ี อ้ งท�ำ ดว้ ยตนเอง เชน่ การกรอกแบบฟอรม์ ฯลฯ แตใ่ นปจั จบุ นั งานเหล่าน้ันถูกเปล่ียนให้เป็นระบบอัตโนมัติ ด้วยเหตุนี้บุคลากรภาครัฐ จึงมีเวลาในการฝกึ อบรมมากขนึ้ แนวทางสุดท้ายเพ่ือให้เป็นสถาบันการเรียนรู้และการฝึกอบรม เรียกว่า “กลยุทธ์ 4R” [39] ซ่ึงได้แก่ (1) การฟ้ืนฟูบุคลากร (Renewal of Workforce) (2) การโยกย้ายบุคลากร (Re-deployment of Retrenched Workers) (3) การปรับเปล่ียนแนวทางการปฏิบัติ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 137

ของบุคลากร (Re-alignment of Employment Practices) และ (4) การฟื้นฟูการจ้างงาน (Revitalization of Employment) ขณะที่ ภาครัฐให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่องในด้านการฟ้ืนฟูบุคลากร ซึ่งมี ความสมั พนั ธก์ บั ภาคธรุ กจิ แตเ่ ปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ ภาครฐั ใชว้ กิ ฤตเิ ศรษฐกจิ เป็นโอกาสในการฝึกอบรมและทบทวนทักษะความรู้ของบุคลากร เพ่ือเตรียมความพร้อมสำ�หรับงานใหม่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด ที่เรียกว่าการจ้างงานตลอดชีพด้วยการยกระดับแนวคิดเก่ียวกับ การจา้ งงานตลอดชีพแบบเดมิ ส่งิ นแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ เจตนารมณอ์ นั มุง่ มน่ั ของภาครฐั ในการเพม่ิ ขดี ความสามารถของบคุ ลากรรวมทง้ั เปน็ การวางแผน เชงิ กลยุทธใ์ นระยะยาว องคป์ ระกอบท่ี 3: การใหค้ วามสำ�คัญและการก�ำ หนดทิศทาง การใหค้ วามส�ำ คญั และการก�ำ หนดทศิ ทางในการฝกึ อบรมเปน็ หนา้ ที่ ของฝ่ายบริหารงานบุคคล โดยแบ่งเป็นโครงการการฝึกอบรมแบ่งออก เป็นโครงการภายในประเทศและนานาชาติ เพ่ือแบ่งการมอบทุน การศกึ ษาอยา่ งเปน็ ทางการตามรปู แบบการฝกึ อบรม ซงึ่ สามารถด�ำ เนนิ การฝกึ อบรมไดท้ ง้ั ภายในประเทศสงิ คโปรห์ รอื ตา่ งประเทศ สง่ิ ทนี่ า่ สงั เกต เป็นพิเศษในขอบเขตของการฝกึ อบรมภายในประเทศ คอื การท่ีภาครัฐ ให้การมุ่งเน้นการเช่ือมโยงกับภาคเอกชนอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นแนวทาง ในการฝึกอบรมบุคลากรที่มีคุณภาพ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2540 ภาครัฐได้ทำ�การคัดเลือกบุคลากรจำ�นวน 3 คนจากผู้สมัครภาคเอกชน เพ่อื ให้เข้ามาทำ�งานในฐานะผ้นู ำ�ฝ่ายบริหารงานบริการเป็นคร้งั แรก ซ่งึ การดำ�เนนิ การน้เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของโครงการการฝึกอบรม ในทางกลับกนั 138

มบี คุ ลากรใหบ้ รกิ ารสาธารณะของภาครฐั ทม่ี าจากฝา่ ยบรหิ ารงานบรกิ าร จากกระทรวงการตา่ งประเทศ ทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ บรษิ ทั เชลล์ ลอนดอน มาเป็นระยะเวลากว่า 2 ปี แต่สิ่งที่ขาดหายไปจากเน้ือหาท่ัวไปของ วรรณกรรมเกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมในหน่วยงานให้บริการสาธารณะ ภาครัฐของประเทศสิงคโปร์ในด้านการมอบความช่วยเหลือด้านเทคนิค ให้แก่ประเทศอ่ืนๆ ผ่านโครงการสนับสนุนต่างๆ สิ่งที่เป็นตัวชี้วัด คือ ข้อเท็จจริงทีว่ ่าประเทศสงิ คโปร์ “ไดผ้ ่านชว่ งรอยต่อ และสามารถก้าวสู่ ความเป็นสากลอย่างแท้จริงได้ด้วยโครงการฝึกอบรมที่มีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกป่ ระเทศก�ำ ลงั พฒั นาใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ” [36] ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2504 ประเทศสิงคโปร์ได้ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ซึ่งความช่วยเหลือท้ังหมดเกี่ยวกับด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อกี ท้งั ในปี พ.ศ. 2535 ไดม้ กี ารกอ่ ตั้งส�ำ นักงานโครงการรว่ มมอื ประเทศ สิงคโปร์ (SCP) โดยสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ เพ่ือประสานงาน ความร่วมมือด้านการฝึกอบรมระหว่างประเทศท้ังหมด ตลอดจน ให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จากข้อเท็จจริง กล่าวได้ว่าแนวทางพิเศษของประเทศสิงคโปร์ในการให้ความช่วยเหลือ แก่ต่างประเทศนั้นอยู่บนพนื้ ฐานของการฝกึ อบรมด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ สำ�นักงานโครงการร่วมมือประเทศสิงคโปร์มีองค์ประกอบหลัก 2 ประการ คือ (1) การจัดทำ�ความตกลงทวิภาคีร่วมกับประเทศ กำ�ลังพัฒนาอ่ืนๆ เพ่ือจัดการฝึกอบรมในประเทศสิงคโปร์ หรือ ส่งผู้เชี่ยวชาญไปยังประเทศเหล่าน้ัน (2) เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม ซ่ึงจะมีการระดมความเชี่ยวชาญและทรัพยากรของประเทศ คู่เจรจา เพ่ือนำ�มาจัดการฝึกอบรมและรับผิดชอบค่าใช้จ่ายร่วมกัน ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 139

โดยมีองค์ประกอบ 2 ประการ ในการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรม ประการแรก คอื โครงการฝกึ อบรม 3 ประเทศ (Third Country Training Program: TCTP) ซ่ึงมีช่ือเสียงและเป็นท่ีรู้จัก โดยโครงการฝึกอบรมน้ี ได้รับความนิยมอย่างสูงในแวดวงการฝึกอบรมท่ีมุ่งการพัฒนาทั่วโลก ความจริงแล้วประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศแรกที่ธนาคารโลกได้เลือก เพ่ือเข้าร่วมลงนามโครงการ TCTP ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2539 ปจั จบุ นั มปี ระเทศทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ TCTP จ�ำ นวนมากกวา่ 16 ประเทศ ในการจัดตั้งโครงการ TCTP ประเทศสิงคโปร์ได้ร่วมลงนามในข้อตกลง ความร่วมมือกับประเทศต่างๆ (เช่น ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ลักเซมเบิร์ก ญ่ีปุ่น เป็นต้น) หน่วยงานระดับภูมิภาคต่างๆ (เช่น ธนาคารเพอ่ื การพฒั นาเอเชยี และส�ำ นกั เลขาธกิ ารแผนโคลมั โบ เปน็ ตน้ ) รวมทง้ั องคก์ ารระหวา่ งประเทศตา่ งๆ (เชน่ ส�ำ นกั เลขาธกิ ารเครอื จกั รภพ ส�ำ นกั งานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และธนาคารโลก เปน็ ตน้ ) เพอ่ื จดั หลกั สตู รฝกึ อบรมตา่ งๆ ขน้ึ ในประเทศสงิ คโปรใ์ หแ้ กบ่ คุ ลากร จากประเทศก�ำ ลงั พฒั นา ในการด�ำ เนนิ การหลกั สตู รการฝกึ อบรมดงั กลา่ ว SCP ใช้หน่วยงานจัดฝึกอบรม เช่น สถาบันการบินชั้นนำ�แห่งสิงคโปร์ (Singapore Aviation Academy) หรอื ด�ำ เนนิ งานผา่ นโครงการเอกเทศ เช่น โครงการภาษาอังกฤษ สิงคโปร์-แคนาดา (Singapore-Canada English Language Project) องค์ประกอบประการที่ 2 ในการเข้าร่วม โครงการฝึกอบรม คือ การผูกเข้ากับความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง กลุ่มประเทศกำ�ลังพัฒนา (TCDC) ของ UNDP โดยในแต่ละปี ประเทศสิงคโปร์จะเป็นเจ้าภาพในการจัดการฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ ให้แก่ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคและประเทศในแอฟริกา 140

วัตถุประสงค์ของโครงการ TCDC เพื่อเพิ่มความเชื่อมโยงของอาชีพ และธุรกิจระหวา่ งประเทศทางใต้เสน้ ศนู ยส์ ูตร ในโครงการท้ังหมดอาจปรากฏให้เห็นถึงการไหลออกของทักษะ ความรู้อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ซึ่งบุคลากรของสิงคโปร์ท่ีนำ�ความรู้เข้าไป มีส่วนเก่ยี วข้องกับหลักสูตรเหล่าน้ี จะได้เรียนร้มู ากมายจากการส่งผ่าน ความรู้ และความเชี่ยวชาญ ซ่ึงแง่มุมของการเพิ่มขีดความสามารถ ในการบริหารท่ีปรากฏให้เห็นน้ีไม่ได้รับการกล่าวถึงมากนักในงานเขียน ทีเ่ กย่ี วข้อง องคป์ ระกอบที่ 4: กรอบแนวคดิ กรอบแนวคดิ ในการฝกึ อบรมใน SPS มอี งคป์ ระกอบหลกั 4 ประการ คือ (1) รายการความรู้และทักษะ (2) เส้นทางการฝึกอบรมบุคลากร (3) การฝึกอบรมแบบ SPOT-ON และ (4) กิจกรรมค่ายวิชาการ องค์ประกอบทั้งหมดเหล่านี้มีผลกระทบท่ีสำ�คัญในเร่ืองของการเพ่ิม ขดี ความสามารถ การจดั ท�ำ รายการความรแู้ ละทกั ษะแบง่ ความสามารถ ออกเป็น 2 ประเภท คือ ความสามารถหลักและความสามารถ ด้านสายงาน โดยความสามารถหลักให้ความสำ�คัญในด้านความรู้ ขององค์การประสิทธิผล ส่วนบุคคล ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ ทักษะการบริหารหรือการจัดการ และทักษะการเจรจาต่อรอง เป็นต้น ซึ่งทักษะเหล่าน้ีถือเป็นทักษะที่มีความเก่ียวข้องกับบุคลากรทุกคน ในทางกลบั กนั ความสามารถดา้ นสายงานใหค้ วามส�ำ คญั ในดา้ นการบรหิ าร ทรัพยากรมนุษย์ การเงิน ระบบโลจิสติกส์ และการจัดการสารสนเทศ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั หมายถงึ ผเู้ ชยี่ วชาญทต่ี อ้ งการเพมิ่ ขดี ความสามารถ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 141

ในการท�ำ งานเฉพาะสายงานเหลา่ นอ้ี กี ดว้ ย สถาบนั บรหิ ารจดั การภาครฐั (Institute of Public Administration: IPAM) มโี ครงการแบบแยกสว่ น พิเศษ 3 โครงการ สำ�หรับผู้เชี่ยวชาญด้านสาขา การบริหารทรัพยากร มนุษย์ การบริหารการเงิน และการจดั การสารสนเทศ โครงการท้ังหมดเก่ียวกับความสามารถหลักและความสามารถ ด้านสายงานท่ีนำ�เสนอไป สามารถนำ�มารวมกลุ่มเป็น 5 สาขา ได้แก่ (1) การบริหารงานบริการท่ีเป็นเลิศ (2) การบริหารความเปลี่ยนแปลง (3) การบรหิ ารและการท�ำ งานรว่ มกบั คน (4) การบรหิ ารการดำ�เนนิ งาน และทรพั ยากร และ (5) การบรหิ ารตนเอง โครงการฝกึ อบรมใดทเ่ี หมาะสม กับบุคลากรมากที่สุด และโครงการฝึกอบรมใดที่มีส่วนช่วยสนับสนุน วัตถุประสงค์ขององค์การมากที่สุด ซึ่งจะถูกนำ�ไปเป็นหลักสำ�คัญ ในเสน้ ทางการฝกึ อบรม โดยเสน้ ทางการฝกึ อบรมมอี ยดู่ ว้ ยกนั 2 ลกั ษณะ คือ แบบรายบุคคล และแบบกลุ่มบุคคลหรือองค์การ ขณะที่งานเขียน เกอื บทงั้ หมดใหค้ วามส�ำ คญั ในเรอื่ งเสน้ ทางการฝกึ อบรมแบบรายบคุ คล แต่ก็เป็นที่แน่ชัดว่าการฝึกอบรมแบบกลุ่มก็มีความสำ�คัญด้วยเช่นกัน มฉิ ะนน้ั จะเปน็ การยากในการตรวจสอบลกั ษณะของทกั ษะและความสามารถ ทบ่ี คุ ลากรจ�ำ เปน็ ตอ้ งมตี ามหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ แตก่ เ็ ปน็ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ ในขณะที่ผู้นำ�การฝึกอบรมท่ัวโลกเร่ิมเปล่ียนแปลงแนวคิดออกไปจาก การมุ่งเน้นด้านการเพ่ิมทักษะและการสร้างความสามารถรายบุคคล แต่กองบริการสาธารณะ (PSD) ในประเทศสิงคโปร์กลับยังคงมุ่งเน้น กบั แนวคิดแบบเกา่ เรือ่ ยมา [75] กลา่ วกนั วา่ มขี อ้ สงสยั เลก็ นอ้ ยเกย่ี วกบั เสน้ ทางการฝกึ อบรมบคุ ลากร ภายในองค์การ (OTRM) ที่จัดข้ึนโดยหน่วยงานจัดฝึกอบรม ซึ่งเป็น 142

ผู้นำ�เส้นทางการฝึกอบรมบุคลากรรายบุคคล (ITRM) ท่ีมุ่งเน้น ดา้ นความตอ้ งการขององคก์ ารเชน่ กนั ในระดบั มหภาค องคก์ ารวเิ คราะห์ ระดับและประเภทของทักษะว่ามีความจำ�เป็นในปีต่อไป เพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายขององค์การ ซึ่งสิ่งท่ีจะทำ�การแบ่งอนาคตออกเป็นเส้นทาง การฝึกอบรมบุคลากรประจำ�ปีหลายๆ ปี จัดทำ�ข้ึนโดยผู้บังคับบัญชา ในแต่ละหน่วยงานของตนภายในองค์การ ในลักษณะน้ีอาจกล่าวได้ว่า OTRM สามารถแบ่งตนเองไว้ในหมวดหมู่ของเส้นทางการฝึกอบรม บุคลากรระดับองค์การ และเส้นทางการฝึกอบรมบุคลากรระดับ หน่วยงานย่อย โดยกระทรวงสาธารณสุขเป็นหนึ่งแห่งท่ีใช้การแบ่ง การฝกึ อบรมในลกั ษณะน้ี เส้นทางการฝึกอบรมบุคลากรจัดทำ�ขึ้นโดยบุคลากรแต่ละคน ซ่ึงเป็นการเติมเต็มให้เส้นทางการฝึกอบรมมีความกว้างใหญ่ขึ้น คณะกรรมการทอ่ี ยอู่ าศยั และการพฒั นา (Housing and Development Board: HDB) เรยี กการด�ำ เนนิ การทง้ั หมดนว้ี า่ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ซ่ึงในแผนการฝึกอบรมจะใช้ทั้งแผน จากบนลงล่าง (Top-Down) และจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) ในลักษณะน้ีบุคลากรแต่ละคนจะถูกคาดหวังให้ทำ�การหารือเก่ียวกับ แผนการฝกึ อบรมในปตี อ่ ไปกบั ผบู้ งั คบั บญั ชาของแตล่ ะคน จากนนั้ บคุ ลากร จะเลือกหลักสูตรและโครงการเพ่ือเข้าร่วมตามความต้องการ ของต�ำ แหนง่ งาน ระดบั ทกั ษะและความรทู้ มี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั และบคุ ลากร คาดหวังท่ีจะพัฒนาตำ�แหน่งงานและอาชีพในอนาคตต่อไปอย่างไร ซึ่งองค์ประกอบส่วนหลังนี้มีความสำ�คัญมาก เน่ืองจากช่วยเชื่อมโยง บุคลากรเขา้ กบั โครงการฝกึ อบรมและเป้าหมายของแต่ละคน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 143

ระดับการฝึกอบรมท่ีต้องการไม่ได้กำ�หนดตามความอาวุโสของ บุคลากร แต่กำ�หนดตามปริมาณการฝึกอบรมท่ีบุคลากรได้รับสำ�หรับ ตำ�แหน่งงานปัจจุบันว่ามีมากเท่าไร บุคลากรได้รับการฝึกอบรม ประเภทใดบ้างในช่วงปีท่ีผ่านมา รวมท้ังบุคลากรจะได้รับส่ิงใด เพอื่ การพฒั นาขดี ความสามารถตอ่ ไปในอนาคต ตรงกนั ขา้ มกบั ทางเลอื ก ในการฝึกอบรม ซ่ึงจะข้ึนอยู่กับว่าบุคลากรกำ�ลังดำ�เนินการส่ิงใดอยู่ และไดร้ ับการฝกึ อบรมไปมากเทา่ ใดแลว้ เสน้ ทางการฝึกอบรมบุคลากร รายบคุ คล (ITRM) จะมกี ารปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั ทสี่ ดุ เปน็ รายไตรมาส เม่ือถึงช่วงสิ้นปีบุคลากรทุกคนจะร่วมหารือกับผู้บังคับบัญชาของตน เกี่ยวกับเป้าหมายการทำ�งานและจัดทำ�แผนเส้นทางการฝึกอบรม เพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคใ์ หม่ ความเป็นอิสระของเส้นทางการฝึกอบรมบุคลากรในลักษณะของ การฝึกอบรมแบบเป็นไปตามความต้องการ (Self-Paced) เป็นไปตาม กำ�หนดเวลาท่ีต้องการ (On-Time) และเป็นไปตามความต้องการ (On-Need) หรือการพัฒนาท่ีให้ทำ�เป็นและเห็นผล (SPOT-ON) ซ่ึงส่วนมากใช้ในการปฏิบัติงานในกระทรวงกลาโหม การฝึกอบรม รปู แบบนจ้ี ะท�ำ ใหบ้ คุ ลากรสามารถเลอื กการฝกึ อบรมตามความตอ้ งการ และดำ�เนินการฝึกอบรมตามระยะเวลาของตนเอง การขับเคล่ือนด้วย ความต้องการ (Demand Driven) ในแง่ของการฝึกอบรมมองว่า การหารอื เกย่ี วกบั ITRM เปน็ การสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ระดบั ของการพฒั นา เชน่ เดยี วกบั การท�ำ งานขององคก์ ารกลางบรหิ ารงานบคุ คลภาครฐั (PPM) ท่ีสามารถเติบโตขึ้นได้ นอกจากนี้กองบริการสาธารณะ (PSD) ยังมี โครงการท่ีรู้จักกันในชื่อของกิจกรรมค่ายวิชาการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 144

เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการระดบั สงู รบั รเู้ กย่ี วกบั สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะวนั ของประชาชน ทวั่ ไป เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนเหลา่ นน้ั ดว้ ยการก�ำ หนดนโยบายทดี่ ยี ง่ิ ขนึ้ เพ่ืออำ�นวยความสะดวกเม่ือกลับมายังองค์การ ดังนั้นเจ้าหน้าท่ีบริหาร งานบริการจึงต้องทำ�งานในฐานะผู้จัดการท่ัวไปตามส่วนงานต่างๆ ของคณะกรรมการพฒั นาชมุ ชนของประเทศสงิ คโปรเ์ ปน็ ระยะเวลา 2 ปี องคป์ ระกอบท่ี 5: ผมู้ ีบทบาทสำ�คญั หนว่ ยงานทม่ี บี ทบาทส�ำ คญั ในการพฒั นาขา้ ราชการสงิ คโปร์ มหี ลาย หนว่ ยงานดว้ ยกันดงั นี้ • กองบริการสาธารณะ (PSD) แห่งสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายก- รัฐมนตรี (PMO) มบี ทบาทสำ�คัญอยา่ งยิ่งเกย่ี วกบั การบริหารงานบุคคล ภาครฐั ในทกุ ๆ ดา้ น มวี ทิ ยาลยั ขา้ ราชการพลเรอื น (CSC) เปน็ หลกั ส�ำ คญั ด้านการเพ่ิมขีดความสามารถและการฝึกอบรม ซึ่งประกอบด้วย หน่วยปฏิบัติการ 3 แห่ง ได้แก่ สถาบันพัฒนานโยบาย (IPD) สถาบนั บรหิ ารจดั การภาครฐั (IPAM) และส�ำ นกั งานใหค้ �ำ ปรกึ ษาแนะน�ำ แกห่ นว่ ยงานภาครัฐ (CSCG) • กระทรวงต่างๆ มีบทบาทด้านการเพ่ิมขีดความสามารถ ตามความต้องการท่กี ระทรวงวางแผนงาน • คณะกรรมาธิการการกฎหมาย มีบทบาทด้านการวางแผน การฝึกอบรมด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น คณะกรรมการท่ีอยู่อาศัยและ การพฒั นา (HDB) มโี ครงการฝกึ อบรมทด่ี หี ลายโครงการส�ำ หรบั บคุ ลากร • สถาบันอ่ืนๆ ยังได้เข้ามามีบทบาทสำ�คัญด้านการวางแผน การฝึกอบรมด้วยเชน่ กนั ได้แก่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 145

- สถาบนั ด้านการบรหิ ารประเทศสิงคโปร์ (SIM) - คณะกรรมการแห่งชาตดิ ้านผลิตภาพและมาตรฐาน (PSB) - สถาบนั การตลาดประเทศสงิ คโปร์ (MIS) ฯลฯ 6.2.2 วธิ ีการพฒั นาขา้ ราชการ องค์ประกอบท่ี 6: ประเภทโครงการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมภายในหน่วยงานให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ของประเทศสงิ คโปรม์ ดี ว้ ยกนั 2 ประเภทหลกั ๆ คอื โครงการภายในประเทศ และโครงการต่างประเทศ ได้แก่ 1) การฝกึ อบรมกอ่ นทาํ งานหรอื แนะนาํ งาน (Induction Training) ท่ีจัดให้แก่บุคลากรเม่ือแรกเข้าทำ�งานในหน่วยงานให้บริการสาธารณะ ของภาครัฐ การฝึกอบรมก่อนทำ�งานท่ีมีความเข้มงวดสามารถเห็นได้ อยา่ งชดั เจนในฝา่ ยบรหิ ารงานบรกิ าร ซงึ่ ใชเ้ วลาในการฝกึ อบรมหลกั สตู ร เตรียมความพร้อมเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 2 เดือน และหนึ่งในน้ัน คือ หลักสูตรการสร้างทีมงาน (Team Building) และหลักสูตร ฝกึ อบรมความเปน็ ผนู้ �ำ รว่ มกบั โรงเรยี นซง่ึ อยหู่ า่ งไกล (Outward Bound School) 2) การฝกึ อบรมขนั้ พนื้ ฐาน (Basic Training) คอื การสอนทกั ษะ ท่ีจำ�เป็นต้องใช้ในการทำ�งานให้แก่บุคลากร โดยดำ�เนินการในปีแรก ของการทำ�งาน ซ่ึงการฝึกอบรมจะถูกจัดขึ้นภายหลังจากการคัดเลือก เขา้ ท�ำ งาน การมอบหมายงานใหม่ หรอื การเลอ่ื นตำ�แหนง่ งานทีส่ งู ข้นึ 146

3) การฝึกอบรมขั้นสูง (Advanced Training) จัดข้ึนภายใน ปที ี่ 2 และปที ี่ 3 ทบี่ คุ ลากรเขา้ มาปฏบิ ตั งิ าน และการฝกึ อบรมนอ้ี อกแบบ มาเพือ่ ช่วยใหบ้ คุ ลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้ดีย่งิ ขึน้ กวา่ เดมิ 4) การฝึกอบรมเพ่ิมเติม (Extended Training) ภายในปีที่ 4 และปีท่ี 6 ของการเข้ามาปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร การฝึกอบรม เพิ่มเติมนี้ จะมอบทักษะให้แก่บุคลากร เพื่อช่วยทำ�ให้บุคลากรก้าวข้าม งานปัจจุบันและปฏิบัติงานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ในทางกลับกันการสอน บคุ ลากรใหท้ �ำ งานของเพอื่ นรว่ มงาน จะท�ำ ใหม้ กี ารพฒั นาเพม่ิ เปน็ ทวคี ณู และมคี วามเครยี ดน้อยลง 5) การฝึกอบรมต่อเน่ือง (Continuing Training) มอบทักษะ ทย่ี งั ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งใชใ้ นปจั จบุ นั แตจ่ ะท�ำ ใหบ้ คุ ลากรมโี อกาสในการจา้ งงาน มากข้ึน ส่ิงน้ีเป็นสิ่งท่ีควรคำ�นึงถึงเนื่องจากปัจจุบันการเรียนรู้ตลอดชีพ และการจ้างงานในระยะยาวมีความสำ�คัญมาก วิกฤติเศรษฐกิจในช่วง ปลายปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) เนน้ ใหเ้ หน็ ความจ�ำ เปน็ ในการฝกึ อบรม ต่อเน่ืองว่ามีความสำ�คัญ ในขณะที่แรงงานถูกตัดทอนลงมากขึ้นเรื่อยๆ มกี ารใหค้ วามส�ำ คญั ในเรอ่ื งการฝกึ อบรมตอ่ เนอ่ื งในต�ำ แหนง่ ของบคุ ลากร ตั้งแต่ปีที่ 7 และปีต่อๆ ไป โครงการฝึกอบรมต่อเนื่องมีอยู่มากมาย หลายประเภท ตั้งแต่หลักสูตรวิชาการเพื่อให้ได้มาซึ่งประกาศนียบัตร และวุฒิบัตร จนถึงหลักสูตรเฉพาะท่ีออกแบบมาเพ่ือให้บุคลากรรับรู้ถึง สิง่ ต่างๆ ทก่ี �ำ ลังเกิดข้นึ ภายในประเทศและท่ัวภูมภิ าค หากไม่คำ�นึงถึงว่าการฝึกอบรมประเภทใดเหมาะสำ�หรับบุคลากร กลุ่มใด พบว่าอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 60 ของการฝึกอบรมจะมี ความสัมพันธ์ทางตรงหรือทางอ้อมกับงานท่ีทำ�อยู่ในปัจจุบัน ขณะท่ี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 147

การประเมินความคุ้มค่า (VFM) จากโครงการฝึกอบรมพบว่า ไม่ได้เป็น เร่ืองยากสำ�หรับบุคลากรในการแสดงเหตุผลอันสมควร เพ่ือขอเข้ารับ การฝึกอบรมในโครงการฝึกอบรมพิเศษใดๆ เนื่องจากการฝึกอบรม เหลา่ นน้ั ผูกพนั กับผลประโยชน์ทางออ้ ม ตลอดจนการฝกึ อบรมดงั กลา่ ว อาจมคี วามสมั พนั ธก์ ับหนา้ ทก่ี ารงานทท่ี ำ�อยู่ ในอีกกรณีหน่ึงมีโครงการจำ�นวนมากมายที่มีบุคลากรจากประเทศ กำ�ลังพัฒนาเดินทางมายังประเทศสิงคโปร์ เพื่อเข้าร่วมการฝึกอบรม ด้านการบรหิ ารจดั การ ตวั อย่างบางส่วน ได้แก่ • โครงการผู้บริหารระดับสูงเครือจักรภพสำ�หรับรัฐวิสาหกิจ เร่ิมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โครงการนี้ครอบคลุมงานสาขาต่างๆ เช่น การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ การตลาด และ บทบาทหนา้ ทด่ี า้ นการบรหิ ารจดั การระบบสารสนเทศ เปน็ ตน้ โครงการน้ี ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลสงิ คโปรแ์ ละส�ำ นกั เลขาธกิ ารเครอื จกั รภพ ภายใตก้ ารจดั โครงการฝกึ อบรม 3 ประเทศของเครอื จกั รภพของประเทศ สิงคโปร์ • มขี อ้ ตกลงทวภิ าครี ว่ มกบั ประเทศนอรเ์ วย์ เพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านเทคนิคและการฝึกอบรมแรงงานจากประเทศกำ�ลังพัฒนา ขอบเขตสาขาของโครงการนี้ ไดแ้ ก่ การสอ่ื สารโทรคมนาคม การพยาบาล และการจัดการท่าเรือ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีการทำ�ข้อตกทวิภาคีร่วมกับ ประเทศกำ�ลังพัฒนาแต่ละประเทศ อย่างเช่น ประเทศแอฟริกาใต้ ไดเ้ ข้าร่วมการฝกึ อบรมดา้ นการบรหิ ารภาครัฐ อีกทั้งผู้เช่ียวชาญชาวสิงคโปร์ยังได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศ บอตสวานาในการจัดตั้งศูนย์เพ่ิมผลผลิตแห่งชาติขึ้นในเดือนสิงหาคม 148

พ.ศ. 2538 ตลอดจนการฝึกอบรมบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือ เขา้ รบั หนา้ ทใ่ี นต�ำ แหนง่ วทิ ยากรประจ�ำ ทมี งานปรบั ปรงุ พฒั นาการท�ำ งาน และสาขาอ่ืนๆ ท่ีประเทศสิงคโปร์ได้ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค มาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ที่อยู่อาศัยของประชาชน การจัดการขยะ การเปลยี่ นแปลงการบรหิ ารในภาครฐั การปฏริ ปู การใหบ้ รกิ ารสาธารณะ ของภาครฐั การจดั การทา่ เรอื และสนามบนิ การบรหิ ารภาษี การธนาคาร การบริหารการโรงแรมและการท่องเที่ยว การบริหารจัดการโครงการ และอน่ื ๆ อีกมากมาย องคป์ ระกอบท่ี 7: ระเบยี บวิธกี าร ขณะทกี่ ารเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นยงั คงเปน็ บรรทดั ฐานของโครงการ ฝกึ อบรมภายในหนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารสาธารณะภาครฐั ของประเทศสงิ คโปร์ แตพ่ บวา่ มวี ธิ กี ารแบบสมยั ใหมย่ งิ่ กวา่ เพอื่ ใชใ้ นการด�ำ เนนิ การฝกึ อบรม เชน่ การเรยี นรผู้ า่ นประสบการณโ์ ดยใหบ้ คุ ลากรของภาครฐั ไปปฏบิ ตั งิ าน ในบรษิ ทั ของภาคเอกชน เพอื่ ใหไ้ ดส้ มั ผสั ประสบการณแ์ ละการแกป้ ญั หา ในองคก์ ารอนื่ หรอื การเรยี นรโู้ ดยยดึ จดุ มงุ่ หมายเปน็ หลกั (Goal-based Learning : GBL) โดยในทนี่ ้ไี ด้แบง่ วธิ ีการเรียนรไู้ วเ้ ปน็ 4 ลักษณะ ได้แก่ 1) การเรียนโดยการลงมือปฏิบัติ (Learning by Doing) คือ การทผ่ี เู้ ขา้ รว่ มการฝกึ อบรมมสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ การปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายตามเปา้ หมายทกี่ �ำ หนด เปน็ การมงุ่ เนน้ ดา้ นการพฒั นาทกั ษะ มากกว่าการจดจำ� 2) การเรียนรู้จากการวินิจฉัยและความผิดพลาด (Learning from Exploration and Failure) ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะน้ีจะทำ�ให้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook