Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิงคโปร์-singapore

สิงคโปร์-singapore

Description: สิงคโปร์-singapore

Search

Read the Text Version

• การระดมความคิดเหน็ จากสาธารณะ (Inviting Ideas from the Public) นอกจากการดำ�เนินการให้คำ�ปรึกษาสาธารณะ รัฐบาลสิงคโปร์ ยังมีเคร่ืองมือที่เรียกว่า Crowdsourcing ท่ีนำ�มาใช้ในการสร้าง ความผูกพันกับประชาชน ก็คือ จะเปิดโอกาสให้สาธารณชนทั่วไป ได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และเร่ิมดำ�เนินการซ่ึงนำ�ไปสู่ การพัฒนาที่ดีกว่า เครื่องมือ Crowdsourcing น้ี สามารถใช้สร้าง ความผูกพันในการปรับปรุงความสัมพันธ์ในชุมชน และยกระดับ ความน่าสนใจของเพื่อนบา้ น [34] 2.3.3 ก(Cรaะtตaนุ้lyใsหinเ้gกWิดกhาoรleเป-oลf-ยี่ GนoแveปrลnงmภeาnคtรTฐั raบnาsลformation) หวั ใจของการบรหิ ารรฐั แบบมสี ว่ นรว่ ม คอื ประสทิ ธภิ าพและนวตั กรรม ในการทำ�งานภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีได้รับการสนับสนุนด้านข้อมูล ข่าวสารและการส่ือสารด้านเทคโนโลยี (ICT) ซ่ึงความสำ�เร็จควรสร้าง จากพื้นฐานท่ีก่อต้ังโดยอดีต e-government ท่ีพยายามปฏิรูปภาครัฐ โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร และการสอ่ื สารดา้ นเทคโนโลยี (ICT) การบรกิ าร และขดี ความสามารถตา่ งๆ • การเปล่ียนแปลงโครงสร้างพื้นฐานและการบริการภาครัฐ (Transforming Public Sector Infrastructure and Services) เพอ่ื กา้ วให้ทันการพัฒนาของเทคโนโลยี รัฐบาลสงิ คโปรไ์ ดอ้ อกแบบ โครงสร้างพ้ืนฐานภาครัฐยุคต่อไปของการมีส่วนร่วมข้ามหน่วยงาน 50

ผ่านอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ พลังของ Cloud Computing และประสิทธภิ าพพลังงานของเทคโนโลยีต่างๆ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ลงทุน G-Cloud ในการเตรียมสภาพให้เกิด ความยืดหยุ่นและความปลอดภัยให้สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร และการส่ือสารด้านเทคโนโลยี (ICT) ท่ีหน่วยงานภาครัฐอาจซ้ือข้อมูล ทางคอมพวิ เตอรต์ ามความตอ้ งการและจา่ ยตามความเปน็ จรงิ ทง้ั ยนิ ยอม ให้สเกลการปฏิบัติงานปรับขึ้นหรือลงได้ตามความเปล่ียนแปลง ที่ต้องการ ซึ่งเป็นการเปล่ียนวิถีการออกแบบของหน่วยงานภาครัฐ ท่ีรวมถึงการพัฒนาและการเรียงข้อมูลแบบฟอร์มและการบริการ ในอนาคต ประกันความต่อเน่ืองในการวางแนวทางด้านข้อมูลข่าวสารและ การสื่อสารด้านเทคโนโลยี (ICT) เพื่อเป้าหมายทางธุรกิจและกลยุทธ์ สำ�นักงานวิสาหกิจด้านสถาปัตย์ของรัฐบาลกลางสิงคโปร์ท่ีมีความรู้ กวา้ งขวาง ทก่ี อ่ ตงั้ เตรยี มการรวบรวมภาพขอ้ มลู ของรฐั บาล แบบฟอรม์ และเทคโนโลยีต่างๆ ท่ีจะช่วยแสดงเอกลักษณ์ความเป็นไปได้ใน การบรกิ ารตา่ งๆ ถกู แลกเปลยี่ นกนั ใหม่ และเปน็ ไปไดท้ จี่ ะรวมหนว่ ยงาน เขา้ ดว้ ยกนั • การเปล่ียนแปลงสถานท่ีทำ�งานและสมรรถนะภาครัฐ (Transforming Public Sector Workplace and Capabilities) สถานท่ีทำ�งานของภาครัฐจะถูกปฏิรูปเพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วม และปรับปรุงผลิตภาพ เจ้าหน้าท่ีรัฐมีบทบาทในการทำ�งานเชิงรุก ในการถ่ายทอด แบ่งปันความรู้การทำ�งานอย่างชาญฉลาดและ รวดเร็วข้ามหน่วยงานในการให้บริการลูกค้าท่ีดีข้ึน และกุญแจสำ�คัญ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 51

ของสมรรถนะหลักท่ีรัฐบาลสิงคโปร์จะพัฒนาขึ้นมา คือ การวิเคราะห์ เชิงธุรกิจที่ช่วยยกระดับการปฏิบัติงานในหน่วยงาน การปรับปรุง การบริการ และการกำ�หนดนโยบาย เพ่ิมการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดา้ น Infocomm-savvy ใหม้ แี ผนงานส�ำ หรบั ปฏบิ ตั งิ านดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร และการสื่อสารด้านเทคโนโลยี (ICT) ในอนาคต ที่จะถูกพัฒนาให้เป็น กองหนา้ ในเครอื ขา่ ยงานรฐั บาลทรี่ บั เอานวตั กรรมบนฐานของเทคโนโลยี ต่างๆ ทั้งสามารถวิเคราะห์กระบวนการ และการแก้ปัญหาต่างๆ โดยอัตโนมตั ิ [34] 52

3 ประวตั คิ วามเป็นมา ของระบบราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 53

3.1 การปฏิรูประบบราชการ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ โดยรวมนนั้ หมายถงึ การบรหิ ารขา้ ราชการ ให้ปฏิบัติราชการเป็นไปตามนโยบาย ดังน้ันบทบาทของคณะรัฐมนตรี จึงเป็นผู้กำ�กับดูแลการทำ�งานของหน่วยงานราชการ ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ (1) หน่วยงานกลาง (Central Organization of State) อาทิ สำ�นักนายกรัฐมนตรี สำ�นักผู้ตรวจการ (Auditor-General’s Office) และสำ�นักงานอัยการสูงสุด (Attorney-General’s Chambers) (2) กระทรวงต่างๆ ซึ่งประเทศสิงคโปร์มีกระทรวงทั้งหมด 15 กระทรวง (3) องค์การบริหารอิสระ (Statutory Agencies or Statutory Boards) สว่ นใหญเ่ ปน็ หนว่ ยงานระดบั ปฏบิ ตั ิ มหี นว่ ยงานเพยี ง 2-3 แหง่ เท่านั้น ท่ีมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายองค์การบริหารอิสระ แต่ละแห่งต้องทำ�งานประสานอย่างใกล้ชิดกับกระทรวงหน่ึงกระทรวง โดยมีข้าราชการระดับสูงและรัฐมนตรีเป็นกรรมการ ท้ังนี้หน่วยงาน บางแหง่ ยงั คงไดร้ บั การอดุ หนนุ จากรฐั บาล และอยภู่ ายใตก้ ารตรวจสอบ ของส�ำ นักผู้ตรวจราชการ ส่วนการจะปฏิรูปราชการก็เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารที่ต้องการ ท�ำ ใหห้ นว่ ยงานใตก้ ารก�ำ กบั ท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ การศกึ ษา เรื่องการปฏิรูประบบราชการของสิงคโปร์นั้น จึงต้องทำ�ความเข้าใจ เรอ่ื งตา่ งๆ ตง้ั แตป่ รชั ญาหรอื แนวคดิ มาตรการในการปฏริ ปู ผลการปฏริ ปู ซงึ่ มรี ายละเอียดใหศ้ ึกษาตอ่ ไป 54

3.1.1 ปรชั ญาหรอื แนวคดิ ในการปฏริ ปู ระบบราชการแผน่ ดนิ หลงั จากไดร้ บั เอกราชจากประเทศองั กฤษ จดุ เนน้ ในการปฏริ ปู ระบบ ราชการของสงิ คโปร์ คือ การสรา้ งขา้ ราชการเพ่ือทดแทนเจ้าหน้าท่ีของ ประเทศอังกฤษ และการออกแบบให้บริการสาธารณะ เพ่ือตอบสนอง ความต้องการและความคาดหวังของประชาชน ซึ่งเป็นกระบวนการ ท่ีเรียกว่า ความเป็นท้องถ่ินภิวัฒน์ (Localization) และความเป็น ประชาภิวฒั น์ (Indigenization) อยา่ งไรก็ตามในช่วงเวลาไมก่ ่ีปีทีผ่ ่านมา จดุ มุ่งหมายในการปฏิรูปได้ เปล่ียนไป เน้นที่การมีปฏิสัมพันธ์ในระดับนานาชาติ เพ่ือตอบสนองต่อ กระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งรวมถึงแนวคิดเสรีนิยม การลดกฎระเบียบและ การควบคมุ ของรฐั การแปรรปู กจิ กรรมของรฐั ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหร้ ะบบราชการ สามารถมีความร่วมมือกับตลาดต่างประเทศ นักลงทุนต่างประเทศ บรษิ ัทท่ีปรกึ ษาจากต่างประเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ [16] 3.1.2 มาตรการในการปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ David Seth Jones ได้กล่าวถึงมาตรการต่างๆ ในการปฏิรูประบบ ราชการสิงคโปร์ไว้ในหนังสือ Public Administration Continuity and Reform ซงึ่ สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ [32] 1) โครงสร้างองคก์ าร ในชว่ งเวลาไมก่ ปี่ ที ผี่ า่ นมา รฐั บาลสงิ คโปรไ์ ดจ้ ดั ท�ำ โครงการใหมๆ่ ขนึ้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 55

ภายในบริบทของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) ซ่ึงโดย ส่วนใหญ่ต้ังอยู่บนหลักการและเทคนิคขององค์การภาคเอกชน โดยมี การจดั ตง้ั คณะกรรมการพจิ ารณายกเลกิ กจิ กรรมภาครฐั (Public Sector Divestment Committee) ข้ึนด้วย ขั้นตอนการแปรรูปกิจกรรมภาครัฐ แบ่งเป็น 4 ข้ันตอนหลัก คือ การแปรรูปองค์การ (Corporatization) การทำ�สัญญาจ้างเอกชนให้ บรหิ ารงาน (Contracting) การผอ่ นปรนระเบยี บกฎหมาย (Deregulation) และการตัดทอนการลงทุน (Divestment) ทั้งน้ีมีคณะกรรมการอิสระ ในการรัฐวิสาหกิจ (Corporatize Statutory board) สำ�คัญๆ 3 แห่ง ได้แก่ บริษัทสิงคโปร์โทรคมนาคม (Singapore Telecom) บรษิ ทั กระจายเสยี งแหง่ สงิ คโปร์ (Singapore Broadcasting Corporation) และสำ�นักงานสาธารณูปโภคกลาง (Public Ulities Board) และ ยังจะมีการแปรรูปองค์การ (Corporatization) อีกหลายหน่วยงาน ในอนาคตอันใกล้นี้ รวมถึงในส่วนการให้บริการสาธารณสุขหรือ โรงพยาบาลรัฐอีกด้วย การแปรรูปองค์การ (Corporatization) ทำ�ให้ หน่วยงานเหล่านี้ มีความยืดหยุ่นในการบริหารงานมากข้ึน มีโครงสร้าง ทางการเงินท่ีเหมาะสม มีอิสระในการจัดโครงสร้างองค์การ และ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เปน็ อสิ ระจากการควบคมุ ของระบบราชการ หนว่ ยงาน เหล่าน้ีจึงมีความสามารถที่จะเลือกลงทุนขยายกิจการ แข่งขันด้านเวลา สร้างสรรค์นวัตกรรม ปรับปรุงการให้บริการ หรือแม้กระท่ังเลือกลงทุน ในกจิ การประเภทอื่น (Diversification) อย่างไรก็ดีก่อนท่ีจะมีการแปรรูปองค์การ (Corporatization) เตม็ รปู แบบ ไดม้ กี ารโอนการใหบ้ รกิ ารระดบั ขา้ งเคยี ง (Peripheral Service) 56

จำ�นวนหน่ึงของคณะกรรมการอิสระ (Statutory Board) เหล่านี้ไปให้ รัฐวิสาหกิจ (Government-linked Companies) ซ่ึงเป็นองค์การใหม่ ทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ เพอ่ื เปน็ บรษิ ทั ยอ่ ย (Subsidiaries) สว่ นการใหบ้ รกิ ารดา้ นอน่ื ๆ ของหน่วยงาน มีการทำ�สัญญาจ้างเหมาดำ�เนินการ (Contract out) กบั บรษิ ทั เอกชน หรอื ไมก่ ม็ กี ารลดกฎระเบยี บเพอ่ื อนญุ าตใหบ้ รษิ ทั เอกชน ด�ำ เนนิ การแขง่ ขนั ใหบ้ รกิ ารได้ ซง่ึ เปน็ การยกเลกิ การผกู ขาดโดยรฐั นน่ั เอง อย่างไรก็ตามต้องมีการดำ�เนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตัวอย่างเช่น Singapore Telecommunications Ltd. จะยกเลิกการผูกขาดกจิ การ โทรคมนาคม และการให้บริการไปรษณีย์พื้นฐานตามลำ�ดับภายใน 20 ปีข้างหน้า ดังน้ันจนถึงปัจจุบัน การแปรรูปองค์การ (Corporatization) จึงยัง มใิ ชก่ ารแปรสรปู รฐั วสิ าหกจิ อยา่ งเตม็ รปู แบบ (Outright Privatization) กลา่ วคอื รฐั ยงั เปน็ ผถู้ อื หนุ้ ใหญร่ วมถงึ การพฒั นาแผนกขน้ึ มาแผนกหนง่ึ จากหนว่ ยงานเดมิ และท�ำ การปรบั โครงสรา้ งใหม้ ขี นาดทเี่ ลก็ ลงอยา่ งมาก เพอ่ื ท�ำ หนา้ ทพ่ี จิ ารณาอนมุ ตั แิ ละก�ำ กบั ดแู ลบรษิ ทั ตา่ งๆ ทแ่ี ยกตวั ออกมา ดังน้ันจึงม่ันใจว่าผลประโยชน์สาธารณะจะยังคงได้รับการคุ้มครอง ท้ังในด้านราคา ผลประโยชน์ และมาตรฐานการให้บริการ 2) การบรหิ ารงานบุคคล การบรหิ ารงานบคุ คลแตเ่ ดมิ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ บริการด้านสาธารณะ (Public Service Commission: PSC) เป็น สว่ นใหญ่ นอกจากนน้ั เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการอกี สองชดุ และอีกหน่ึงหน่วยงาน คือ คณะกรรมการให้บริการด้านการศึกษา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 57

(Education Service Commission) คณะกรรมการป้องกันพลเรือน และต�ำ รวจ (Police and the Civil Defense Service Commission) และหน่วยงานบริการสาธารณะ (Public Service Division: PSD) กระทรวงและกรมต่างๆ มีอำ�นาจอย่างจำ�กัดในการคัดเลือก และ การพจิ ารณาเลอ่ื นต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการระดบั ลา่ งสดุ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบอ�ำ นาจ จาก PSC เท่านั้น ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) PSC ได้มอบอำ�นาจหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลให้แก่กระทรวงต่างๆ โดยการจดั ตง้ั ระบบคณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คลแบบ 3 ระดบั (Threetier System) คือ ระดับสูงสุดมีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลชุดพิเศษ ประกอบด้วย เลขาธิการและรองเลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (Head and Deputy Head of The Civil Service) และปลดั กระทรวง (Permanent Secretaries) ท�ำ หนา้ ทใ่ี นการพจิ ารณา เลอ่ื นต�ำ แหนง่ และแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการระดบั สงู (Superscale) จนถงึ ระดบั EI (The Mid-point of The Superscale) ในหนว่ ยงานระดบั กรมและ หน่วยงานเช่ียวชาญเฉพาะในระดับกลาง ประกอบด้วย คณะกรรมการ ข้าราชการระดับสูงหลายชุด (Senior Personnel Boards) ทำ�หน้าท่ี คัดเลือกและเลื่อนตำ�แหน่งข้าราชการระดับ 1 (Division 1 Officers) คณะกรรมการแต่ละชุดแต่งต้ังจากหน่วยงานระดับกรมและหน่วยงาน เช่ียวชาญโดยเฉพาะ รวมถึงปลัดกระทรวงท่ีเก่ียวข้องกับการคัดเลือก และเลอ่ื นต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ ดว้ ย ส�ำ หรบั ระดบั ลา่ งสดุ ในแตล่ ะกระทรวงจะมี คณะกรรมการของตนเอง ซึ่งได้รับมอบอำ�นาจในการแต่งต้ังและ เล่ือนตำ�แหนง่ ขา้ ราชการระดับ 2 3 และ 4 (Division 2, 3, 4 Officers) โดยมีข้าราชการะดับสูง (Superscale) เป็นประธาน และมีข้าราชการ 58

ระดบั 1 เปน็ กรรมการ ทงั้ น้ี PSD มหี นา้ ทเ่ี ปน็ ผโู้ ฆษณาประกาศรบั สมคั ร และเปน็ ผรู้ บั สมคั ร รวมถงึ เปน็ การก�ำ หนดเกณฑว์ ดั ในการเลอื่ นต�ำ แหนง่ ด้วย อย่างไรก็ตาม PSC ยังคงเป็นผู้รับผิดชอบในการคัดเลือกและ เลอ่ื นต�ำ แหนง่ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู และการเลอ่ื นต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการระดบั สงู (Superscale) ในหน่วยงานระดับกรมและหน่วยงานเชี่ยวชาญเฉพาะ ส่วนการพิจารณาเง่ือนไขในการให้บริการ (Terms and Personnel Institutions) การควบคุมบังคับใช้กฎระเบียบ และการให้ทุนยังคงเป็น หนา้ ทข่ี องสถาบนั กลางดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล (Central Personnel Institutions) อยู่เชน่ กัน การขยายโครงการฝึกอบรมเป็นพัฒนาการท่ีสำ�คัญอีกประการหนึ่ง ของการบริหารงานบุคคลของระบบราชการสิงคโปร์ โดยมีสถาบัน ขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service Institutions) และวทิ ยาลยั ขา้ ราชการ พลเรือน (Civil Service College) เป็นหน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบ การฝกึ อบรมขา้ ราชการแทบทกุ ระดบั ขา้ ราชการระดบั สงู เนน้ การฝกึ อบรม การบริหารภายใน การบริหารการต่างประเทศ และการกำ�กับดูแล รวมถึงทักษะในการกระตุ้น จูงใจ และการบริหารการเงิน ข้าราชการ ระดับล่าง เน้นทักษะทางการคำ�นวณ การแก้ไขปัญหา กระบวนการ ทำ�งานท่ีมีประสิทธิภาพ และทักษะทางภาษาและการสื่อสาร ท้ังนี้ มกี ารฝกึ อบรมการใชค้ อมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศใหแ้ กข่ า้ ราชการ ทกุ ระดับด้วย นอกจากนี้ยังได้รับการพัฒนาระบบการประเมินผลงานบนพื้นฐาน ของศกั ยภาพในปจั จบุ นั และมกี ารจดั ล�ำ ดบั (Ranking) ของทง้ั กระทรวง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 59

ซึ่งเชอ่ื วา่ จะสะท้อนภาพของผลงานไดถ้ ูกต้องมากขน้ึ 3) ระบบงบประมาณ มกี ารเรม่ิ ใชร้ ะบบการจดั สรรงบประมาณแบบจ�ำ กดั เกณฑก์ ารออกเสยี ง (Block Vote Budget Allocation System) เปน็ ครงั้ แรกในงบประมาณ ปี 2532 (ค.ศ. 1989) โดยกำ�หนดยอดงบประมาณของแต่ละกระทรวง เป็นร้อยละของรายได้มวลรวมประชาชาติ (GDP) เพื่อเสนอให้ สภาพจิ ารณาอนมุ ตั ิ เมอ่ื สภาอนมุ ตั แิ ลว้ กระทรวงจงึ มอี �ำ นาจในการใชจ้ า่ ย งบประมาณตามทปี่ ระกาศไวเ้ ปน็ วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการหรอื กจิ กรรมตา่ งๆ และมีอิสระในการโอนย้ายเงินและบุคลากร โดยไม่ต้องขออนุมัติจาก รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง 3 ปีต่อมาจึงเร่ิมใช้ระบบบัญชีบริหารท่ีมีข่ือว่า “ระบบการบริหาร จดั การบญั ชขี องรฐั บาลสงิ คโปร”์ (Singapore Government Manage- ment Accounting System: SIGMA) โดยจัดทำ�บัญชีต้นทุนบุคลากร ส่ิงปลูกสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และการใช้บริการต่างๆ ของแต่ละโครงการ และกจิ กรรม รายละเอยี ดทางบญั ชเี หลา่ นที้ �ำ ใหผ้ บู้ รหิ ารหนว่ ยงานสามารถ ใช้อำ�นาจหน้าที่ทางการเงินที่ได้รับจากงบประมาณแบบจำ�กัดเกณฑ์ การออกเสยี งไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เมื่อมีข้อมูลทางบัญชีมากขึ้น ดัชนีช้ีวัดผลงานจึงได้รับการพัฒนา เพื่อการวัดและประเมินผลผลิตและผลงาน (Result) ของโครงการและ กจิ กรรม ทง้ั น้ีในปี พ.ศ.2537 (ค.ศ. 1994) กระทรวงการคลงั ไดก้ ำ�หนด ใหม้ กี ารใชง้ บประมาณเพอ่ื ผลงาน (Budgeting for Results - BFR) ซง่ึ เปน็ ผลให้กระทรวงต่างๆ รวมถึงคณะกรรมการอิสระ (Statutory Boards) 60

บางแห่งต้องกำ�หนดเป้าหมายผลงานให้ชัดเจนท้ังในเชิงปริมาณ และคุณภาพ เป้าหมายเหล่านี้จะเป็นตัวกำ�หนดงบประมาณท่ีจะได้รับ และเปน็ ดชั นี (Yardsticks) เพอ่ื การประเมนิ หลายปที ผ่ี า่ นมา กระทรวง ตา่ งๆ ไดท้ ำ�การพฒั นาดัชนีช้ีวดั ผลงานและนำ�มาใชจ้ รงิ ซึง่ สามารถแบ่ง ได้ 2 ประเภท คอื (1) ดัชนชี ว้ี ัดต้นทนุ (Cost Performance Indicator) เป็นดัชนีที่ระบุถึงการวัดต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) ซ่ึงพัฒนาขึ้น จากข้อมูลต้นทุนระบบบัญชีบริหาร ดัชนีนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อการประเมนิ ประสิทธิภาพในการใชท้ รพั ยากร (2) ดชั นชี ว้ี ัดผลผลติ (Output Performance Indicator) เป็นดัชนีที่ใช้วัดประสิทธิผลของโครงการและกิจกรรมท้ัง ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพในการบริการ ปัจจุบันได้มีการนำ�ดัชนีชี้วัดทั้งสองชนิดไปใช้ในหน่วยงานบางแห่ง ตัวอยา่ งเชน่ กรมดา้ นความปลอดภัยในอุตสาหกรรม (Department of Industrial Safety) และกระทรวงแรงงาน (Ministry of Manpower) โดยใช้ต้นทุนต่อการตรวจสอบ (Cost per Inspection) และจำ�นวน อบุ ัตเิ หตตุ อ่ หน่ึงลา้ นชัว่ โมงทำ�งาน (Industrial Accident per Million Man-hours) เป็นดัชนีช้ีวัดผลงาน ท้ังน้ีการกำ�หนดดัชนีช้ีวัด ในเชงิ ปรมิ าณทช่ี ดั เจน จะชว่ ยเออ้ื ตอ่ ความสามารถในการตรวจสอบหรอื การตรวจสอบได้ (Accountability) โดยไม่มีผลกระทบต่อความเป็น อิสระในการบริหาร (Autonomy) อย่างไรก็ดีในอนาคตยังต้องมี การพัฒนาดัชนีชี้วัดท่ีเหมาะสมต่องานบริการที่ไม่สามารถกำ�หนด เป็นตวั เลขได้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 61

3.1.3 ผลการปฏิรปู ระบบราชการแผ่นดนิ การปฏริ ปู ระบบงบประมาณทส่ี �ำ คญั อกี ประการหนง่ึ คอื การพฒั นา งบประมาณแบบฐานศูนย์ (Zero-based Reviews) ข้ึนโดยให้ ส�ำ นกั ผตู้ รวจงานราชการเปน็ ผพู้ จิ ารณาตรวจสอบการใชท้ รพั ยากร และ ค่าใช้จ่ายลงทุน (Spending Outlays) ของแต่ละกระทรวงในทุก 5 ปี โดยใชข้ อ้ มลู จากระบบบญั ชบี รหิ ารและตวั ชว้ี ดั ผลงานเปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ คญั ในการตรวจสอบ แม้ว่าแนวคิดในการปฏิรูประบบราชการสิงคโปร์จะเปลี่ยนไปสู่ การตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งอาจช่วยพัฒนาความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ แตก่ อ็ าจท�ำ ใหค้ วามสามารถในการตอบสนอง ต่อความต้องการของประชาชนลดลง การนำ�แนวคิดเสรีนิยมมาปรับใช้ อาจทำ�ใหก้ ารใหบ้ ริการสาธารณะประสบผลสำ�เรจ็ ในเชงิ เศรษฐกิจ และ ท�ำ ใหเ้ กดิ การละเลยปญั หาทไี่ มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั เศรษฐกจิ (Non Economic Problem) ไดเ้ ชน่ กนั นอกจากนค้ี วามพยายามในการลดความเปน็ ระบบ ราชการ (Debureaucratization) ดว้ ยการใชค้ า่ นยิ มและวธิ กี ารทางธรุ กจิ โดยท่คี ่านยิ มและวิธคี ิด (Mindset) ดั้งเดมิ ของระบบราชการยงั คงฝงั ตัว อยนู่ ั้น อาจทำ�ให้ตอ้ งใช้ระยะเวลาในการปฏิรูปเนิ่นนานออกไป [55] 3.2 ระบบราชการภายใต้การเมืองการปกครอง สภาพการบรหิ ารประเทศในสงิ คโปรก์ เ็ หมอื นประเทศอน่ื ๆ ในเอเชยี ที่มีปัญหาคอรัปช่ันโดยนักการเมืองและข้าราชการทุกระดับ 62

จนเปน็ ทเี่ ขา้ ใจวา่ หวั ไมส่ า่ ยหางไมก่ ระดกิ แตห่ ลงั จากการบรหิ ารประเทศ โดยนายกรฐั มนตรี ลี กวน ยู ผนู้ าํ ทมี่ กี ารศกึ ษาและจติ สาํ นกึ ในการพฒั นา ประเทศชาติสูง การรณรงค์ ป้องกัน และปราบปรามการคอรัปช่ัน ถอื เปน็ เรอื่ งจาํ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งทาํ เพอื่ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมของสงิ คโปร์ ซึ่งเป็นประเทศท่ีเล็กมากให้อยู่รอดได้ ระบบการบริหารราชการ ต้องมีความโปร่งใส ยุคสมัย ลี กวน ยู ได้จัดตั้งสํานักงานสอบสวน การกระทาํ อนั เปน็ การคอรปั ชน่ั (Corruption Practices Investigation Bureau: CPIB) ของสิงคโปร์ โดยจัดให้เป็นเป็นองค์การอิสระที่ทํางาน เข้มแข็ง ในช่วงแรกๆ ได้สอบสวนและเอาผิดขนาดถอดถอนรัฐมนตรี ร่วมคณะรัฐบาลของนายกฯ ลี กวน ยู ได้ โดยที่นายกฯ ลี กวน ยู มีความหนักแน่น แม้ว่าจะต้องเสียเพื่อนหรือสร้างศัตรูเพิ่มขึ้น รัฐมนตรี ท่ีคอรัปช่ันคนหนึ่งตัดสินใจฆ่าตัวตายเพราะความละอาย มีคนหน่ึง หนีฑัณฑ์บนระหว่างการสอบสวนไปใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศอย่างไม่มี ความสุข การที่สิงคโปร์มีผู้นําเป็นคนทํางานหนัก ใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย และสนับสนุนการปราบปรามคอรัปชน่ั อยา่ งเอาจริงเอาจงั เป็นตัวอยา่ ง ท่ีดีทําให้ประชาชนเช่ือม่ันและร่วมมือกับองค์การปราบคอรัปช่ันของ รัฐบาล ทําให้การป้องกันและปราบปรามคอรัปชั่นประสบความสําเร็จ จนในอกี 30-40 ปี ตอ่ มา สงิ คโปร์ได้คะแนนความโปร่งใสในการบรหิ าร งานของรฐั บาลสูงทส่ี ดุ ในเอเชยี ในปี พ.ศ. 2556 สถาบนั องคก์ ารความโปรง่ ใสสากล (Transparency International) ได้จัดให้สิงคโปร์อยู่ในลำ�ดับท่ี 5 จาก 177 ประเทศ ทว่ั โลกทมี่ กี ารฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวงนอ้ ยทสี่ ดุ แตใ่ นขณะเดยี วกนั ในรายงาน ประจ�ำ ปี พ.ศ. 2556 ขององคก์ ารเอกชน Reporters without Borders ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 63

เก่ียวกับดัชนีเสรีภาพของส่ือมวลชน (Press Freedom Index) ของ 179 ประเทศทั่วโลกได้จัดให้สิงคโปร์อยู่ในลำ�ดับที่ 147 ซึ่งต่ำ�กว่า ประเทศสมาชิกก่อตั้งอาเซียนอีก 5 ประเทศ ได้แก่ บรูไน (ลำ�ดับ 122) ไทย (ลำ�ดับ 135) อินโดนีเซีย (ลำ�ดับ 139) กัมพูชา (ลำ�ดับ 143) และ มาเลเซีย (ลำ�ดับ 145) ซึ่งนายโก๊ะ จ๊ก ตง รัฐมนตรีอาวุโสได้ให้การ ยอมรับว่า แม้สิงคโปร์จะมีระดับเสรีภาพของส่ือมวลชนต่ำ� แต่รัฐบาล มีความโปร่งใสมากท่ีสุดแห่งหนึ่งของโลก ดังน้ันการมีเสรีภาพทางส่ือ ไม่ได้ช่วยส่งผลให้รัฐบาลของประเทศนั้นๆ มีระบบการปกครองที่มี ประสิทธิภาพและโปรง่ ใสเสมอไป 64

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 65

4.1 รฐั บาล นโยบายรฐั บาล และนโยบายการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี น 4.1.1 นโยบายรฐั บาลสิงคโปร์ นายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง ของสิงคโปร์ได้แถลงนโยบายเนื่องใน วันชาติของสิงคโปร์ เม่ือวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยให้คำ�มั่นว่า จะช่วยให้ประชาชนซ้ือบ้านได้ง่ายขึ้น ปรับปรุงระบบสาธารณสุข และ ช่วยเหลือประชาชนให้มากขึ้น รวมถึงการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ปรับปรุงพื้นที่บริเวณย่านธุรกิจสำ�หรับเป็นท่ีอยู่อาศัย สำ�นักงาน และ สถานทพี่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจ นอกจากนี้ รฐั บาลจะชว่ ยเหลอื บรษิ ทั ทป่ี ระสบ ปัญหา ขณะเดียวกันรัฐบาลจะมีการคุมเข้มการใช้แรงงานต่างชาติ มากขึ้น รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้ใช้นโยบายด้านอสังหาริมทรัพย์เพ่ือกระตุ้น การสร้างครอบครัว เนื่องจากสามีภรรยารุ่นใหม่ไม่นิยมการมีบุตร ในสภาพเศรษฐกิจที่ค่าครองชีพสูงและที่อยู่อาศัยมีราคาแพง โดยชาว สงิ คโปรถ์ ึงร้อยละ 82 อาศยั ในอพารต์ เมนทท์ ่ีสร้างโดยรฐั บาล ทง้ั นี้ ในปจั จบุ นั ชาวสงิ คโปรเ์ ผชญิ กบั ความเครยี ดเรอื่ งระบบโครงสรา้ ง พื้นฐาน คา่ ครองชพี ทสี่ ูงขึ้น และการแขง่ ขนั ดา้ นอาชพี ทม่ี ากขนึ้ [37] นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ได้ยำ้�ในหลายโอกาสว่า ประสงค์ที่จะพัฒนา สงิ คโปรใ์ หเ้ ปน็ สงั คมทโ่ี ปรง่ ใสและเปดิ กวา้ งมากขนึ้ (A more transparent and open society) โดยจะด�ำ เนินการอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ทงั้ น้ี โดย คำ�นึงถึงค่านิยมที่เป็นคุณลักษณะเฉพาะของประเทศ (อาทิ การเป็น 66

พหสุ งั คมทมี่ คี วามแตกตา่ งดา้ นเชอื้ ชาตแิ ละศาสนา) มากกวา่ การน�ำ ระบบ เสรีนิยมประชาธิปไตยของตะวันตกมาปรับใช้ อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการเมืองสิงคโปร์เห็นว่าประเด็นเร่ืองศาสนาและความแตกต่าง ทางเช้อื ชาติเป็นเร่อื งท่ีมคี วามละเอยี ดออ่ นในสังคมสงิ คโปร์ สิงคโปร์ต้องเผชิญกับประเด็นท้าทายสำ�คัญสามประการ ได้แก่ การแขง่ ขนั จากประเทศในภมู ภิ าค การมปี ระชากรสงู อายใุ นจ�ำ นวนเพม่ิ ขน้ึ ขณะที่อัตราการเกิดของประชากรลดลง และการปรับโครงสร้าง ในภาคการผลิต ซึง่ เน้นการผลิตเพอื่ การสง่ ออก นายลิม อึง เคียง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม สิงคโปร์ได้แถลงต่อรัฐสภาเกี่ยวกับแนวทางยุทธศาสตร์เพ่ือเพิ่มผลผลิต ในภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing) ซึ่งมีสัดส่วนเป็นร้อยละ 27.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ได้แก่ (1) เพิ่มงบประมาณ ด้านการวิจัยและพัฒนาจากร้อยละ 2.1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศเป็นร้อยละ 3 โดยเน้น 3 สาขา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biomedical Sciences) เทคโนโลยสี ง่ิ แวดลอ้ มและน�้ำ (Environmental and Water Technologies) และส่ือดิจิตอล (Interactive and Digital Media) (2) ส่งเสริมการจัดทำ�ความตกลงทางเศรษฐกิจกับ ประเทศต่างๆ ท้ังในแบบการตกลงทางการค้าเสรีทวิภาคี การตกลง เพ่ือส่งเสริมการลงทุน ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นภาษีซ้อน และ การตกลงการรบั รองมาตรฐานรว่ ม เพอ่ื ขยายชอ่ งทางการคา้ และการลงทนุ ใหก้ บั ภาคเอกชนสงิ คโปร์ (3) ขยายการผลติ ในสาขาอตุ สาหกรรมส�ำ คญั ๆ อาทิ อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์และวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และ พฒั นาสาขาอตุ สาหกรรมใหมๆ่ อาทิ นาโนเทคโนโลยี สอ่ื ดจิ ติ อลเทคโนโลยี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 67

สิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน (4) เพ่ือขยายการค้าและการลงทุน ไปยังตลาดใหม่ๆ เช่น ประเทศจีน อินเดีย ตะวันออกกลาง เป็นต้น ซ่ึงมีบริษัท Government Investment Corporation (GIC) และ Temasek Holdings ซ่ึงรัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นมีบทบาทสำ�คัญ ในการขยายตลาดดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2555 ธนาคารโลกได้จัดให้สิงคโปร์อยู่ในลำ�ดับหน่ึงของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย และลำ�ดับสองของโลกท่ีมีสภาพแวดล้อม ท่ีเอ้ืออำ�นวยต่อการลงทุนและจัดตั้งธุรกิจสูงท่ีสุด ปัจจัยที่สนับสนุน สภาพแวดล้อมดังกล่าว ได้แก่ อัตราภาษีศุลกากรท่ีต่ำ� ระบบราชการ อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีประสิทธิภาพ และความโปร่งใสของระบบราชการ (ปัจจุบันสิงคโปร์เป็นที่อยู่ของบรรษัทข้ามชาติประมาณ 7,000 แห่ง จากสหรัฐอเมรกิ า ยโุ รป และญี่ปนุ่ วสิ าหกจิ จำ�นวน 4,000 แหง่ จากจนี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมประมาณ 100,000 แหง่ ) ในปี พ.ศ. 2555 สถาบนั International Institute for Management Development (IMD) ซึ่งต้ังอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้จัดให้ สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีศักยภาพการแข่งทางเศรษฐกิจสูงสุดเป็นลำ�ดับ 4 ของโลก โดยประเมนิ จากปจั จยั 4 ดา้ น คอื ประสทิ ธภิ าพของภาครฐั บาล ประสทิ ธภิ าพของภาคเอกชน สภาวะทางเศรษฐกจิ และโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และในวันท่ี 7 มิถุนายน พ.ศ. 2548 องค์การทรัพย์สินทางปัญญา ของโลกไดเ้ ปดิ ส�ำ นกั งานภมู ภิ าคในเอเชยี เปน็ แหง่ แรกทส่ี งิ คโปร์ ซง่ึ สะทอ้ น ให้เห็นถึงความเช่ือม่ันในกฎระเบียบการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ทมี่ ีตอ่ สิงคโปร์ [1] 68

4.1.2 นโยบายการเข้าส่ปู ระชาคมอาเซียน สงิ คโปรถ์ อื เปน็ 1 ใน 5 ประเทศเรมิ่ แรกในการกอ่ ตง้ั อาเซยี นไดเ้ ตรยี ม ความพร้อมเพ่ือเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไว้อย่างดี โดยเน้นการ พฒั นาความสามารถเพอื่ เพม่ิ ทกั ษะและรองรบั การขยายตวั ภาคเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยมีนโยบายการเพิ่มศักยภาพให้ประเทศเป็นศูนย์กลาง ทางธรุ กจิ ใน 5 สาขาหลกั ดงั นี้ ดา้ นการบรกิ ารทางการแพทย์ ดา้ นการบนิ ด้านการท่องเที่ยว ด้านการศึกษา และด้านอุตสาหกรรมท่ีใช้ความคิด สร้างสรรค์ ด้านเศรษฐกิจ ประเทศสิงคโปร์ได้เตรียมความพร้อมให้กับประเทศตัวเอง ไม่ว่า ในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทง้ั การสง่ เสรมิ งานดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา เพ่ือพัฒนาเทคนิคการผลิตด้านอวกาศ ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ เภสชั ภณั ฑ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และอตุ สากรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งวศิ วกรรมระดบั สงู (Precision Engineering) โดยมุ่งเน้นการผลิตสินค้าท่ีทำ�มูลค่าเพ่ิม ได้มาก และต้องการให้ประเทศเป็นศูนย์กลางของธุรกิจประเภทต่างๆ เชน่ ธุรกิจบรกิ าร การคมนาคมขนสง่ และโลจิสตกิ ส์ (Logistics) สว่ นในดา้ นธรุ กจิ ขนาดเลก็ และขนาดกลาง (SMEs) ประเทศสงิ คโปร์ มงุ่ พฒั นาใหเ้ ปน็ ธรุ กจิ ขนาดใหญใ่ นอนาคต โดยอดุ หนนุ ดา้ นการวจิ ยั และ พัฒนา และสนับสนุนสินเชื่อเพ่ือปรับปรุงเครื่องจักรในการผลิต โดย เฉพาะการผลิตสินค้าคอมพิวเตอร์ เครื่องมือส่ือสาร รวมท้ังเน้นด้าน การเพ่ิมผลิตภาพของ SMEs โดยส่งเสริมและสนับสนุน SMEs ให้เข้าสู่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 69

กระบวนการพฒั นาองคก์ ารส่คู วามเปน็ เลิศทางธุรกิจ สงิ คโปรม์ ผี ปู้ ระกอบการ SMEs ราว 130,000 ราย นบั เปน็ รอ้ ยละ 99 ของวสิ าหกจิ ทง้ั หมด สรา้ งรายไดค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 47 ของผลผลติ มวลรวม ก่อให้เกิดการจ้างงานร้อยละ 62 ของการจ้างงานท้ังหมดในประเทศ จงึ สามารถพดู ไดว้ า่ ถา้ SMEs ของสงิ คโปรเ์ ขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ของสงิ คโปร์ จะเขม้ แขง็ ตามไปดว้ ย จะเหน็ วา่ สงิ คโปรม์ นี โยบายการบรหิ ารเดน่ ๆ และ กระบวนการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจของสิงคโปร์คร้ังใหญ่ที่ได้เร่ิมขึ้น ในปี พ.ศ. 2556 มีดงั นี้ • พัฒนาดัชนีผลิตภาพบริษัทสำ�หรับ SMEs เพื่อใช้ในการติดตาม ระดับการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน และประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน และ ชี้ให้เห็นจดุ อ่อนและปญั หาที่ต้องแก้ไขส�ำ หรับ SMEs • จัดหาบริษัทท่ีมีความเช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนา ให้แก่ SMEs เพื่อร่วมหาทางออกด้านผลิตภาพแรงงานและด้านอ่ืนๆ เพ่อื เพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน • สร้างแรงจูงใจให้เพิ่มผลิตภาพแรงงานผ่านระบบการฝึกอบรม รวมถงึ จดั โปรแกรมคนเกง่ ดา้ น SME (SME Talent) เพอื่ ดงึ ดดู ใหน้ กั ศกึ ษา ท่ีมีความสามารถเข้าร่วมงานใน SMEs ที่มีผลิตภาพสูงได้ทันที หลงั จบการศึกษา • เสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง SMEs กับบริษัทขนาดใหญ่ ในด้านการขยายธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีการแลกเปล่ียน ความรแู้ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ท่ี �ำ ใหอ้ งคก์ ารประสบความส�ำ เรจ็ (Best Practices) รวมถงึ การรว่ มทนุ พฒั นานวตั กรรมและการทดลองดา้ นเทคโนโลยี ฯลฯ • กอ่ ตง้ั คณะกรรมการมาตรฐานผลติ ภาพและนวตั กรรมแหง่ ประเทศ 70

สิงคโปร์ หรือ SPRING (Standards, Productivity and Innovation Board of Singapore) ให้เป็นองค์การหลัก ซ่ึงถูกจัดตั้งเพ่ือส่งเสริม ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของเหล่าธุรกิจ เพื่อความ รงุ่ เรืองทางเศรษฐกจิ ของสิงคโปร์ SPRING ให้ความช่วยเหลือกับผู้ประกอบการ SMEs ในหลายด้าน นับต้ังแต่สนับสนุนการวิจัย นวัตกรรมใหม่ๆ การประสานงานเพ่ือ ความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ กำ�กับดูแลสินค้าและบริการ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและหลักการรักษาส่ิงแวดล้อม ตลอดจน อำ�นวยความสะดวกและให้ความช่วยเหลือด้านการเงิน เช่น โครงการ ทางการเงนิ ขององคก์ ารทอ้ งถนิ่ (Local Enterprise Financial Scheme) ของ SPRING ผู้ประกอบการ SMEs สามารถขอสินเช่ือจากธนาคาร โดยใหว้ งเงนิ เครดติ ในอตั ราสงู สดุ ถงึ รอ้ ยละ 80 หรอื ในภาพของการมอบ คปู อง Voucher มลู คา่ ใบละ 5,000 เหรยี ญสงิ คโปรใ์ หแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ เพอ่ื เปน็ เงนิ ทนุ สนบั สนนุ การปรบั ปรงุ เทคโนโลยแี ละคดิ คน้ นวตั กรรมใหมๆ่ ตอ่ ไป ดา้ นการศึกษา สิงคโปร์ประกาศว่าจะเป็นศูนย์กลางทางการศึกษามาตรฐานโลก โดยจะให้โอกาสเท่าเทียมกันในด้านการศึกษาเป็นพื้นฐาน จะดึงดูด ชาวต่างประเทศเข้ามาเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับ มหาวทิ ยาลยั โดยรัฐบาลไดว้ างยุทธศาสตร์ด้านการศกึ ษา 1) ม่งุ เนน้ ผลลัพธ์ทางการศกึ ษา 2) เนน้ จติ สำ�นึก แรงจงู ใจ การใฝ่รู้ดว้ ยตัวของผเู้ รียนเอง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 71

3) ทุ่มทรพั ยากรดา้ นเงนิ ทนุ ทางการศึกษา 4) การบรหิ ารจัดการแบบศูนย์รวม 5) หลกั สตู รการเรยี นการสอนท่เี ข้มข้น 6) ประเมินตวั เองของผเู้ รยี นให้มากขน้ึ 7) แรงสนับสนนุ จากครอบครัวผู้เรียน ส่วนนโยบายด้านการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ท่ีจะทําให้บุคลากร ของประเทศน้ันมีคุณภาพ เมื่อศึกษาดูจะพบว่า สิงคโปร์ใช้นโยบาย สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มากข้ึน (Teach Less, Learn More) เปน็ กรอบวสิ ยั ทศั นด์ า้ นการศกึ ษาเพอ่ื เตรยี มประเทศเขา้ สศู่ ตวรรษท่ี 21 และใช้แนวคิดเรื่องชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ช่วยเติมกรอบความคิด ในการเปลี่ยนแปลงสิงคโปรใ์ ห้สมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ “การสอนให้น้อยลง และเรียนรู้ให้มากข้ึน” น้ัน ทำ�ได้โดยวิธีการ แบบมสี ว่ นรว่ มปฏบิ ตั ิ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ การเรยี นรแู้ บบประสม การเรยี นรู้ ท่สี อดคลอ้ งกบั การทาํ งานของสมอง การเรยี นรจู้ ากปญั หา และการเรยี นรู้ ผ่านกรณีศึกษา ผ่านการทํางานเป็นทีม หรือท่ีเรียกว่าชุมชนการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี นอกจากนย้ี งั สง่ เสรมิ ใหเ้ รยี นรู้ 2 ภาษาควบคกู่ นั ไป โดยใหเ้ ลอื กเรยี น ภาษาแมอ่ ีก 1 ภาษา คอื ภาษาจนี ภาษามาเลย์ หรือภาษาทมิฬ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ประเทศสงิ คโปรย์ งั มปี ญั หาในสงั คมหลายมติ ขิ องเชอ้ื ชาติ ชนชน้ั และ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ซ่ึงส่ิงต่างๆ เหล่านั้นบ่อยครั้งไม่สามารถแก้ไขได้ด้วย มาตรการของภาครัฐเพียงอย่างเดียว ภาคประชาสังคมจึงได้เข้ามา 72

มีบทบาทในการช่วยแก้ไขปัญหาส่วนนี้ด้วย รัฐบาลสิงคโปร์เห็นถึง ความสำ�คัญและจึงได้สนับสนุนให้เกิดกองทุนธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise Fund: SEF) โดยกระทรวงพัฒนาสังคม เยาวชน และกีฬา (Community Development, Youth and Sports) เข้ามามีบทบาท ในการเปน็ แหลง่ เงนิ ทนุ ส�ำ หรบั เรมิ่ ตน้ การประกอบธรุ กจิ เพอื่ สงั คม และ จากการด�ำ เนินงาน 2 ปี มีผู้ไดร้ บั การสนบั สนุนทงั้ ส้นิ 38 องค์การ และ ไดป้ รบั เปา้ หมายในการด�ำ เนนิ งานใหม่ พรอ้ มทง้ั เพม่ิ บทบาทในการพฒั นา องคก์ ารธรุ กจิ เพอื่ สงั คมใหม้ ากขน้ึ ภายใตช้ อื่ กองทนุ ComCare Enterprise Fund ดา้ นสาธารณสุข สงิ คโปรม์ โี ครงการศนู ยก์ ลางทางการแพทย์ (Medical Hub) สง่ เสรมิ ให้ชาวต่างชาติเดินทางมารักษาพยาบาลที่สิงคโปร์ ซ่ึงในแต่ละปีจะมี ชาวต่างชาติจาก 60 ประเทศท่ัวโลก จำ�นวน 400,000 คน มารับ การรักษาพยาบาลท่ีมีคุณภาพในประเทศสิงคโปร์ ความมีช่ือเสียงและ พยายามชักชวนให้โรงพยาบาลที่มีช่ือเสียงของประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น โรงพยาบาลจอห์น ฮอพกินส์ และเดอะ เวสต์ คลินกิ มาดำ�เนินการ ในประเทศสิงคโปร์ รวมท้ังมีบริษัทวิจัย และบริษัทยาท่ีมีชื่อเสียง ระดบั โลกด้านน้ีมาด�ำ เนินกจิ การในประเทศ คณะท�ำ งานเฉพาะกจิ เพอื่ สง เสรมิ บรกิ ารสขุ ภาพ (The Healthcare Service Working Group: HSWG) ไดเ้ สนอตอ่ คณะอนกุ รรมการบรกิ าร เศรษฐกจิ (Service Subcommittee Economic Review Committee) ถึงวิสัยทัศน์ท่ีจะพัฒนาสิงคโปร์ให้เป็นศูนย์บริการรักษาพยาบาลของ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 73

เอเชยี (Healthcare Service Hub in Asia) โดยตง้ั เปา้ วา่ จะมผี ใู้ ชบ้ รกิ าร กวา่ ลา้ นรายในปี พ.ศ. 2556 น้ี ซงึ่ การรกั ษาดา้ นโรคหวั ใจ (Cardiology) เปน็ อกี สาขาหนง่ึ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั มาก และสงิ คโปรพ์ ยายามจะพฒั นา เป็น Medical Hub ในการรักษาด้านน้ี รัฐบาลสิงคโปร์ยังมีการจัดต้ัง ระบบประกันสังคม เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับประชาชนเพ่ือดูแล ด้านสุขภาพและเป็นกองทุนสำ�รองเล้ียงชีพเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ รวมท้ัง อนุญาตใหป้ ระชาชนสงิ คโปร์เดินทางไปรักษาพยาบาลในมาเลเซียได้ ด้านการท่องเท่ียว รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดสรรงบประมาณในมูลค่า 2 พันล้านดอลลาร์ สิงคโปร์ เพื่อสนับสนุนแผนแม่บทด้านการท่องเที่ยวของสิงคโปร์ใน 10 ปีข้างหน้า (Tourism Master Plan 2015) เพ่ือเสริมสร้างให้สิงคโปร์ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทส่ี �ำ คญั ในภมู ภิ าค และเพม่ิ จ�ำ นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วจาก 8 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2547 เป็น 17 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2558 และ รายไดจ้ าก 10 พนั ลา้ นดอลลารส์ งิ คโปร์ เปน็ 30 พนั ลา้ นดอลลารส์ งิ คโปร์ และสร้างบ่อนคาสิโน 2 แห่ง ท่ีบริเวณอ่าวมาริน่า (Marina Bay) ซึ่งใกล้กับย่านธุรกิจของสิงคโปร์ และบนเกาะเซนโตซ่า (Sentosa) ทง้ั มกี ารรณรงคก์ ารทอ่ งเทยี่ วโดยเนน้ จดุ เดน่ ของสงิ คโปรใ์ นการเปน็ สงั คม ที่มีความหลากหลายทางวฒั นธรรม ด้านตลาดแรงงาน สงิ คโปรเ์ ปน็ ประเทศทมี่ ปี ญั หาการขาดแคลนทรพั ยากรมนษุ ยม์ าโดย ตลอด จากขอ้ มลู สถาบนั กจิ การระหวา่ งประเทศของสงิ คโปร์ (Singapore 74

Institute of International Affairs: SIIA) ระบวุ ่า สงิ คโปรเ์ ป็นประเทศ ที่พึ่งพาแรงงานต่างชาติมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ปัจจุบัน มีแรงงานต่างชาติอย่ใู นสิงคโปรป์ ระมาณ 1,550,000 คน กระจายอย่ใู น ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งนี้เน่ืองจากมีอัตราการเกิดตำ่� ส่งผลให้ ขาดแคลนประชากรวัยทำ�งาน และชาวสิงคโปร์มีค่านิยมที่จะไม่ทำ�งาน ประเภท 3D คือ อันตราย (Dangerous) สกปรก (Dirty) และ ลาํ บาก (Demeaning) นอกจากนี้สิงคโปร์ยังให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาตลาดแรงงาน ในประเทศ โดยกระทรวงแรงงานสิงคโปร์ได้กําหนดแผนแม่บท “Manpower Policy Master Plan” เน้นการดำ�เนินงาน 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การปรับตลาดแรงงานในประเทศให้มีความยืดหยุ่น และ สามารถตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ เพ่ือให้มีกําลังแรงงานเพียงพอที่จะป้อนตลาดยามเศรษฐกิจขยายตัว สามารถปอ้ งกนั และบรรเทาการเลกิ จา้ งแรงงานไดใ้ นชว่ งเศรษฐกจิ ตกต�่ำ 2) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้และพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยเน้น การจดั ฝกึ อบรมเพอื่ ยกระดบั แรงงานใหม้ คี วามช�ำ นาญหรอื มคี วามสามารถ มากขน้ึ และ 3) การสรา้ งหลกั ประกนั ใหก้ บั แรงงานโดยการเพม่ิ มาตรการ ดูแลและให้ความช่วยเหลือแรงงานในด้านต่างๆ เช่น ความปลอดภัย ในการทํางาน การรกั ษาพยาบาล การชว่ ยเหลือหลังเกษยี ณ ฯลฯ นโยบายเศรษฐกจิ บนฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) แมแ้ รงงานตา่ งชาตไิ ดห้ ลง่ั ไหลเขา้ ไปทาํ งานในสงิ คโปรเ์ ปน็ จาํ นวนมาก อย่างไรก็ตามจากการจัดอันดับของ World Economic Forum 2012 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 75

สิงคโปร์ยังสามารถครองอันดับหน่ึงของโลกในเร่ืองคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพแรงงาน ซง่ึ เปน็ ผลมาจากรฐั บาลสงิ คโปรไ์ ดด้ าํ เนนิ นโยบาย การพฒั นาเศรษฐกจิ บนพน้ื ฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) ทเี่ นน้ การพฒั นาศกั ยภาพแรงงาน เทคโนโลยี และประสทิ ธภิ าพการผลติ รวมถงึ อดุ หนนุ การพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยที ที่ นั สมยั เพอ่ื ทดแทน การจา้ งแรงงาน ด้านแผนยุทธศาสตร์ดา้ นขอ้ มูลการสอื่ สารเทคโนโลยี (ICT) ประเทศสิงค์โปร์ได้ประกาศนโยบายไอทีระดับชาติท่ีต้องการ เปลี่ยนแปลงจาก e-government เป็น i-government อักษร i “integration” หมายถงึ การท�ำ งานรว่ มกนั และการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหวา่ ง หนว่ ยงานภาครฐั โดยใชเ้ ทคโนโลยี Web Service ภายใตส้ ถาปตั ยกรรม Service Oriented Architecture (SOA) โดยทางรฐั บาลสงิ คโ์ ปรไ์ ดจ้ ดั ประมูลโครงการใหญ่ 3 โครงการ ได้แก่ โครงการ “Standard ICT Operating Environment (SOE)” ซ่งึ เป็นโครงการที่ก�ำ หนดมาตรฐาน ของเครือ่ ง Desktop, Network Operating System และ Messaging System ของหนว่ ยงานรฐั บาลทง้ั หมดของสงิ คโ์ ปร์ เพอ่ื ใหม้ คี วามปลอดภยั และง่ายต่อการบริหารจัดการ ตลอดจนสามารถรองรับการกู้ภัย ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ในกรณฉี กุ เฉนิ โครงการทส่ี อง คอื โครงการ “Cyber-Watch Center” ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าเป็นโครงการที่เก่ียวข้องกับการ สรา้ งศนู ยเ์ ฝา้ ระวงั ภยั ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ในระดบั ชาติ โดยครอบคลมุ ระบบ สำ�คัญๆ ของรัฐบาล และมีการจัดจ้าง Outsource IT Security Monitoring ท่ีเรียกว่า การบริการจัดการด้านความมั่นคง (Managed 76

Security Service - MSS) อกี ด้วย และ โครงการทสี่ าม ไดแ้ ก่ โครงการ “Centrally Administered Desktop Firewall (CAFE)” เพอ่ื เปน็ การ ป้องกันโปรแกรมมุ่งร้าย (Malicious Software) ไม่ให้สามารถโจมตี เครื่องลูกข่ายท้ังหมดของภาครัฐ ประกอบด้วย การจัดซื้อ ไฟร์วอลล์ บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop Personal Firewall) ระบบ การตรวจจับการบุกรุกของผู้ไม่ประสงค์ดีบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop IDS) และโปรแกรมแอนติสปายแวร์ (Anti-Spyware) โดยระบบ CAFE (Centrally Administered Desktop Firewall) ต้องสามารถควบคุมได้จากส่วนกลางทั้งหมด ทั้งสามโครงการดังกล่าว มีมูลค่าทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่า 1,500 ล้านเหรียญสิงค์โปร์ หรือกว่า 36,000 ล้านบาท เรียกได้ว่าเป็นการยกเคร่ืองคร้ังใหญ่ของภาครัฐเลยก็ว่าได้ โดยให้ความส�ำ คญั เรอื่ งความปลอดภัยของขอ้ มลู เปน็ หลัก นอกจากนี้ยังมีโครงการวิจัยและตรวจสอบช่องโหว่ของโปรแกรม ประยุกต์ของทางภาครัฐท่ีเรียกว่า โครงการวิจัยและการตรวจสอบ ซอฟต์แวร์ของระบบการป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล (Security Assurance through Software Vulnerability Examination & Research) มลู คา่ ประมาณ 24 ลา้ นบาท เพอื่ เปน็ การประเมนิ ความเสย่ี ง ทางดา้ นระบบความปลอดภัยขอ้ มูลของภาครัฐ แผนแม่บท iN2015 อาเซียน ตามแผนที่เรียกว่า แผนแม่บทไอซีทีอาเซียน พ.ศ. 2558 (ASEAN ICT Masterplan 2015) และในแต่ละประเทศก็จะมีแผนแม่บทไอซีที ของตนเอง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 77

ภาพที่ 3 แผนแม่บทด้านไอซที ี อาเซยี น 2558 (ASEAN ICT Masterplan 2015) ท่มี า: www.asean.org การระบยุ ทุ ธศาสตร์ แผนการด�ำ เนนิ งาน เปา้ หมาย รวมทง้ั ระยะเวลา การดำ�เนินการภายใน 5 ปี โดยยทุ ธศาสตร์ทีส่ �ำ คัญมี 6 ด้านคือ 1) การปฏิรปู ทางเศรษฐกจิ 2) การเสริมสร้างพลงั ใหแั กป่ ระชาชน และใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ ม 3) การสร้างนวัตกรรม 4) การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน 5) การพฒั นาทนุ มนษุ ย์ 6) การลดความเหลอ่ื มล�้ำ ในการเขา้ ถึงเทคโนโลยี 78

ภาพที่ 4 แผนแมบ่ ทด้านไอซีที อาเซียน 2558 (ASEAN ICT Masterplan 2015) ท่ีมา: www.asean.org แผนแม่บท iN2015 ของสงิ คโปร์ แผนความฉลาดแห่งชาติ พ.ศ. 2558 (Intelligent Nation 2015) หรือ iN2015 เป็นแผนแม่บทด้านไอซีทีของรัฐบาลสิงคโปร์ที่ได้กำ�หนด ไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กำ�หนดให้ในสิบปีข้างหน้าจะผลักดันให้สิงคโปร์ กลายเปน็ Intelligent Nation โดยใชศ้ กั ยภาพของ Infocomm ซง่ึ แผน แมบ่ ทนไ้ี ดถ้ กู รา่ งโดยหนว่ ยงานชอ่ื องคก์ ารพฒั นาขอ้ มลู สารสนเทศและ การสอ่ื สาร (Infocomm Development Authority: IDA) ซง่ึ วสิ ยั ทศั น์ ของแผนก�ำ หนดไวว้ า่ “Singapore: An Intelligent Nation, A Global City, Powered By Infocomm” ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 79

เป้าหมายหลักของแผน iN2015 มีดังนี้ 1) ผลักดันให้สิงคโปร์เป็นประเทศอันดับหน่ึงของโลกในการที่จะนำ� ขอ้ มลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Infocomm) มาสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และสังคม 2) เพ่ืมมูลค่าอุตสาหกรรมด้านข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (Infocomm) เป็นสองเท่า คือ มีมลู ค่า 26 พนั ลา้ นเหรยี ญสงิ คโปร์ 3) เพิ่มมูลค่าการส่งออกด้านข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร (Infocomm) เปน็ สามเทา่ คอื มมี ลู ค่า 60 พนั ลา้ นเหรยี ญสิงคโปร์ 4) เพ่ิมงานด้านข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร (Infocomm) อกี 80,000 ตำ�แหน่ง 5) ทำ�ใหม้ ีการใชง้ าน Broadband ตามบ้านถงึ รอ้ ยละ 90 6) ทำ�ให้ทุกบ้านที่มีเด็กต้องศึกษาในโรงเรยี นทม่ี ีคอมพิวเตอรใ์ ชง้ าน และเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย แผนแม่บทได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ 4 ด้าน คอื 1) ผลักดันให้กลุ่มอุตสาหกรรมหลักต่างๆ ภาครัฐและสังคมมี นวตั กรรมการใชข้ อ้ มลู สารสนเทศและการสอื่ สาร (Infocomm) มากขน้ึ 2) มกี ารพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Infocomm) ที่มีความเรว็ สูง ชาญฉลาด และนา่ เช่อื ถือ 3) มีการพัฒนาอุตสาหกรรมข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร (Infocomm) ท่ีสามารถแขง่ ขนั ในระดบั โลกได้ 4) มีการพัฒนาอัตรากำ�ลังด้านข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร (Infocomm) ทสี่ ามารถแขง่ ขันในระดบั โลกได้ [68] 80

4.2 จ�ำ นวน และรายช่อื กระทรวงพร้อมทีต่ ิดตอ่ กระทรวง ข้อมลู ตดิ ตอ่ • ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี ทโ โอ เว ททีเอ่ี บ็ม รรย ไศสล ซู่ าพั: ต :ร ท์ ::์ : O(666SwpGi832mrnwec333gnowh552ae_a688.pphrr965oadmq728lr173@eRoOop.(2fgPafm3oiMdc8voe)8.I,s).s 2ggt o3avn.asg (Prime Minister’s Office) • กระทรวงกลาโหม ทอ่ี ย ู่ : U30p3peGroBmubkaitkTDimrivaeh oRfofad (Ministry of Defense) SMinINgDapEForBeu6il6d9in6g45 โทรศ พั ท์ : (1M80IN0D-7E6F0F8e8e4d4back Line) เอวเี ็บมไลซต: ์ : wMwINwD.EmF_inFdeeefd.gboavc.skg_ [email protected] • กระทรวงการคลงั โอทโ เ ว ททีเีอ่ บ็ ม รรย ไศสล ซู่ าัพ: ต :ร ท์ : :์ : #T(m6w6S#ri231nwe0o230ga6fw52-a_s-097.0pqum1943ors13ym)aor15enf1@./dg016om073#v93oH0.47sf6ig.3g4g-h410o33vS4.tTsrgheeet (Ministry of Finance) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 81

กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ต่อ • กระทรวงการต่างประเทศ ทอี่ ยู่ : Ministry of Foreign Affairs (Ministry of Foreign Affairs) Tanglin โทรศพั ท์ : One Call Centre: 1800-476-8870 เว็บไซต์ : www.mfa.gov.sg อีเมล : [email protected] • กระทรวงการพฒั นาสงั คม ที่อยู่ : MSF Building, และครอบครวั 512 Thomson Road Singapore 298136 (Ministry of Social and โทรศพั ท์ : 63555000 Family Development) โทรสาร : 63536695 เวบ็ ไซต์ : www.msf.gov.sg อีเมล : [email protected] • กระทรวงคมนาคม ทอี่ ยู่ : 460 Alexandra Road (Ministry of Transport) #39-00 & #33-00 Storeys PSA Building Singapore 119963 โทรศัพท์ : 62707988 โทรสาร : 63757734 เวบ็ ไซต์ : www.mot.gov.sg อีเมล : [email protected] 82

กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ • กแรละทะทรวรพังสย่งิ าแกวรดนล�ำ้ อ้ ม ทีอ่ ยู่ : 40 Scotts Road, #24-00 (Ministry of The Environment Building, Singapore 228231 Environment and water โทรศพั ท์ : 67319000 Resources) โทรสาร : 67319456 เว็บไซต์ : www.mewr.gov.sg อเี มล : mewr_feedback@mewr. gov.sg • กระทรวงการสือ่ สาร ทอ่ี ยู่ : 140 Hill Street 4th, และสารสนเทศ 5th & 6th Storey Old Hill Street Police Station (Ministry of Communication Singapore 179369 and Information) โทรศพั ท์ : 62707988 โทรสาร : 68379480 เว็บไซต์ : www.mci.gov.sg อีเมล : [email protected] ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 83

กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ • กระทรวงมหาดไทย ทอี่ ยู่ : New Phoenix Park, (Ministry of Home Affairs) 28 Irrawaddy Road Singapore 329560 โทรศพั ท์ : 64787010 โทรสาร : 62546250 เวบ็ ไซต์ : www.mha.gov.sg อีเมล : mha_feedback@mha. gov.sg • กระทรวงกฎหมาย ทอ่ี ยู่ : 100 High Street #08-02 (Ministry of Law) The Treasury Singapore 179434 Storeys PSA Building Singapore 119963 โทรศพั ท์ : 1800 3328840 โทรสาร : 633 28842 เว็บไซต์ : www.mlaw.gov.sg • กระทรวงวฒั นธรรม ชมุ ชน ทอ่ี ยู่ : 140 Hill Street, และเยาวชน #02-00/#03-00, Old Hill Street Police (Ministry of Culture, Station, Singapore 179369 Community and Youth) โทรศัพท์ : 63383632 โทรสาร : 68379459 เวบ็ ไซต์ : www.mccy.gov.sg 84

กระทรวง ขอ้ มลู ติดตอ่ • กระทรวงศกึ ษาธิการ (Ministry of Education) ทอ่ี ยู่ : Ministry of Education 1, North Buona Vista Drive, Singapore 138675 โทรศพั ท : 68721110 โทรสาร : 67755826 เวบ็ ไซต์ : www.moe.gov.sg อีเมล : [email protected] • กระทรวงสาธารณสุข ที่อยู่ : College of Medicine (Ministry of Health) Building 16 College Road Singapore 169854 โทรศพั ท์ : 63259220 โทรสาร : 62241677 เวบ็ ไซต์ : www.moh.gov.sg อเี มล : [email protected] • กระทรวงการคา้ ที่อยู่ : 100 High Street และอุตสาหกรรม #09-01 The Treasury (Ministry of Trade and Singapore 179434 โทรศัพท์ : 62259911 Industry) โทรสาร : 63327260 เวบ็ ไซต์ : www.mti.gov.sg อเี มล : [email protected] ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 85

กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ต่อ • กระทรวงพฒั นาแห่งชาติ (Ministry of National ทอี่ ยู่ : 5 Maxwell Road #21-00 & #22-00 Tower Development) Block, MND Complex Singapore 069110 • กระทรวงแรงงาน โทรศพั ท์ : 62221211 (Ministry of Manpower) โทรสาร : 63257254 เว็บไซต์ : www.mnd.gov.sg อเี มล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : 18 Havelock Road, #07-01 Singapore 059764 โทรศพั ท์ : 65341511 (PABX) Telephone Enquiry Service (CallMOM): 64385122 โทรสาร : 65344840 เวบ็ ไซต์ : www.mom.gov.sg 86

4.3 จำ�นวนขา้ ราชการทวั่ ประเทศ พรอ้ มคุณลกั ษณะหลกั หรอื คณุ ลกั ษณะหลกั ในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน 4.3.1 จำ�นวนขา้ ราชการทวั่ ประเทศ ข้าราชการทั่วประเทศของสิงคโปร์ใน 16 กระทรวง และหน่วยงาน ทางกฎหมายกวา่ 50 หนว่ ยงาน มที ้งั ส้ิน 139,000 คน ในจำ�นวน 139,000 คน เป็นข้าราชการประจำ�กระทรวงจำ�นวน 82,000 คน อยใู่ นหนว่ ยบรกิ ารดา้ นตา่ งๆ เชน่ ดา้ นการใหบ้ รกิ ารงานราชการ กฎหมาย การศกึ ษา ต�ำ รวจ และการป้องกนั ภยั แกพ่ ลเมือง ฯลฯ ภาพที่ 5 กลมุ่ งานข้าราชการสงิ คโปร์ ทีม่ า: http://www.psd.gov.sg ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงิ คโปร์ 87

จากปณิธานส่วนหน่ึงท่ีจะให้หน่วยงานบริการภาครัฐมีข้าราชการ ทหี่ ลากหลายชว่ งอายุ ภาพดา้ นลา่ งนจ้ี ะแสดงใหเ้ หน็ สดั สว่ นกลมุ่ อายขุ อง ข้าราชการสงิ คโปร์ [59] ภาพท่ี 6 กล่มุ อายุข้าราชการสิงคโปร์ ทีม่ า: http://www.psd.gov.sg 88

4.3.2 คุณลักษณะหลักของขา้ ราชการ 4.3.2.1 การก�ำ หนดคณุ ลกั ษณะหลกั ของขา้ ราชการ ในการคัดเลือกบุคลากรเข้ามาทำ�งานในภาครัฐนั้น นอกเหนือจาก คุณสมบัติท่ีตัวผู้สมัครจะต้องมีสัญชาติสิงคโปร์ หรือมีถ่ินพำ�นักถาวร อยู่ที่สิงคโปร์แล้วนั้น ยังต้องมีคุณสมบัติหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก เลอื กบคุ ลากรเขา้ มาท�ำ งานในภาครฐั สงิ คโปร์ ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งออกไป ตามแตล่ ะต�ำ แหนง่ งาน ซง่ึ ต�ำ แหนง่ งานตา่ งๆ ของขา้ ราชการสงิ คโปรน์ นั้ ถูกจำ�แนกภายใต้ระบบการจำ�แนกตำ�แหน่ง ซึ่งข้ึนอยู่กับแนวความคิด เกย่ี วกบั ระดบั ต�ำ แหนง่ ซงึ่ ต�ำ แหนง่ ตา่ งๆ ถกู จ�ำ แนกบนพน้ื ฐานการศกึ ษา วชิ าชพี หรอื คณุ สมบตั ดิ า้ นเทคนคิ ทเ่ี ปน็ ทต่ี อ้ งการ ยงิ่ กวา่ นน้ั ทกุ ต�ำ แหนง่ จะถกู จ�ำ แนกออกไปตามลกั ษณะของงานบรกิ าร หรอื แบง่ ตามกลมุ่ บคุ ลากร ซ่ึงถกู แบ่งออกเปน็ หลายระดับดว้ ยเชน่ กัน ในแต่ละระดับ (Division) ตำ�แหน่งต่างๆ จะถูกจำ�แนกย่อยออกไป อกี เปน็ ล�ำ ดบั ขนั้ (Class Series) และเกรดตา่ งๆ ตามล�ำ ดบั ซงึ่ ทกุ ต�ำ แหนง่ ภายใน 4 กลุ่มนี้ จะถูกจัดกลุ่มตามลักษณะงานบริการหรืองานบุคคล เชน่ บญั ชี บรหิ าร วศิ วกรรม บรหิ ารทว่ั ไป และงานบรกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ ลักษณะการให้บริการน้ันถูกแบ่งออกเป็นหลายๆ ระดับ ตัวอย่าง เช่น • กลุ่มบัญชี แบง่ เป็น พนักงานบญั ชี กลุม่ ที่ I, II, III, IV, V, และ VI • กลุ่มบริหาร แบง่ เปน็ คณะทำ�งานเกรด III, II, และ I เลขานุการ เกรด A, B และ C ฯลฯ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 89

ตารางที่ 3 ต�ำ แหนง่ ทง้ั 4 division Division รายละเอยี ด Division I ประกอบดว้ ย เกรดบริหารและวชิ าชพี ซง่ึ คณุ สมบตั แิ รกเข้าส่เู กรดนี้ จะต้องไดร้ บั ปริญญาตรีเกียรตนิ ิยม อันดับ 2 เป็นอยา่ งนอ้ ย Division II ประกอบด้วย เกรดผ้บู รหิ าร ซ่ึงคุณสมบัติแรกเข้าจะต้องอย่ใู นระดบั A หรอื มีปริญญาตรีจากมหาวทิ ยาลยั หรือวทิ ยาลัย Division III ประกอบดว้ ย เกรดเสมยี นและเจา้ หนา้ ท ี่ เทคนคิ ซึ่งคุณสมบัตแิ รกเขา้ จะต้องอยู่ ในระดับ O Division IV ประกอบดว้ ย ต�ำ แหน่งท่ีปฏบิ ตั งิ าน ด้วยมือ และเป็นงานทีต่ ้องท�ำ ซ�ำ้ ๆ ซึ่งคุณสมบตั แิ รกเข้าจะต้องจบ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 90

ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าชพี ของขา้ ราชการสงิ คโปรม์ ไี ดด้ ว้ ยการเลอ่ื นขน้ั เล่ือนตำ�แหน่ง นอกจากน้ียังสามารถกระทำ�ได้ด้วยการเลื่อนข้ัน เลอ่ื นต�ำ แหนง่ ในระหวา่ งสายงานบรกิ ารดว้ ยกนั หรอื ระหวา่ งชน้ั (Class) เดยี วกนั กไ็ ด้ แตไ่ ม่ปรากฏบอ่ ยนัก สว่ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแผนการจา่ ยเงนิ เดอื นและแผนการจ�ำ แนก ต�ำ แหนง่ ในราชการพลเรอื นของสงิ คโปรน์ น้ั ถกู สรา้ งขน้ึ เพอ่ื ใหส้ อดรบั กนั อยา่ งดกี บั แผนกการจ�ำ แนกต�ำ แหนง่ เงนิ เดอื น ซงึ่ ถกู แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั (Scales) ได้แก่ ระดับสูง (Superscale) ระดับ 1 (Division) ระดับ 2 (Division II) ระดับ 3 (Division III) และระดับ 4 (Division IV) [8] 4.3.2.2 คณุ ลักษณะของข้าราชการสิงคโปร์ในด้านอน่ื ๆ บริการสาธารณะของสิงคโปร์ ณ วันน้ียังต้องการข้าราชการท่ีมี ความพร้อมในดา้ นอื่นๆ ควบคู่กันไปด้วย ดงั นี้ • ความมุ่งมั่นท่ีจะให้บริการประชาชน และปรับปรุงแก้ไขชีวิต ชาวสิงคโปร์ใหด้ ขี ้ึน • ข้าราชการต้องมีความเป็นมืออาชีพและสมบูรณ์พร้อมด้วย มาตรฐานท่สี งู • ขา้ ราชการตอ้ งมคี วามใสใ่ จในการรบั ฟงั และเขา้ ใจความตอ้ งการ ความปรารถนา และความทุกข์ร้อนของประชาชน รวมทั้งการกำ�หนด และการดำ�เนินนโยบายตา่ งๆ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสิงคโปร์ 91

ในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของการบริการสาธารณะ PSC ได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกทุนข้าราชการให้แก่ผู้ที่มีคุณสมบัติ พร้อมด้วยความประพฤติ ความช่ือสัตย์ ความมุ่งม่ัน และความใส่ใจ ในการเรยี นจะน�ำ เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั กวา่ 300 คน จากหลายหนว่ ยงานมาเรยี น ภาคปฏิบัติ เพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพด้วยเคร่ืองมือทางจิตวิทยาที่ใช้ ในการท�ำ นายผลการปฏบิ ัตงิ าน ทุน PSC น้ันเป็นกุญแจสำ�คัญในการพัฒนาระบบบริการสาธารณะ ของสิงคโปร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2504 ได้มีการมอบทุนให้แก่ข้าราชการ ท้ังชายและหญิงที่มีผลงานโดดเด่น มีความทะเยอทะยาน และ ความเชอื่ มน่ั ในการรบั ใชป้ ระเทศและชาวสงิ คโปร์ ผทู้ ไี่ ดร้ บั ทนุ การศกึ ษา จะได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ท้ังในและต่างประเทศ ในการที่จะ ได้พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำ�ให้ดีย่ิงขึ้น เพ่ือมารับใช้กิจการสาธารณะ หลงั จากทส่ี �ำ เรจ็ การศกึ ษากลับมา [67] 4.3.3 คณุ ลักษณะหลักของขา้ ราชการในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน ในยุคโลกาภิวัตน์ซึ่งมาพร้อมกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ต้องแข่งขันกันมากข้ึน ประเทศสิงคโปร์ ต้องปรับตัวรองรับการเปล่ียนแปลงเพื่อรักษาผลประโยชน์ในเวทีโลก และแสวงหาโอกาส รวมทั้งสร้างความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน ในภมู ิภาคและเวทโี ลก นโยบายร่วมดา้ นการตา่ งประเทศให้ความส�ำ คัญ ในเร่ืองงานเชิงรุกทางการทูตเพื่อประชาชน วัฒนธรรม และการศึกษา 92

เน้นการแลกเปลี่ยนในระดับประชาชนกับนานาชาติ ดังนั้นจึงมี ความจำ�เป็นอย่างย่ิงที่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐ จะต้องมีการปรับตัว ตามไปดว้ ย คุณลักษณะหลักของข้าราชการในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มดี ังน้ี 1) ความสามารถด้านภาษาองั กฤษ สิงคโปร์ซึ่งใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการอยู่แล้ว เมื่อประชาคม อาเซยี นเปดิ เสรีภายในปี พ.ศ. 2558 จงึ มีเวลาพฒั นาภาษาอ่ืนๆ 2) ความสามารถยอมรบั ความหลากหลายของอตั ลกั ษณ์ (ASEAN Identity) หัวใจของอนาคตก็คือ การเสริมสร้างความเป็นตัวตนร่วมกัน ทเี่ รยี กกนั วา่ อตั ลกั ษณร์ ว่ มกนั ของประชาคมอาเซยี น (ASEAN Identity) โดยยอมรับความหลากหลายของอัตลักษณ์ ขณะเดียวกันก็ส่งเสริม ส�ำ นกึ การรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ (Caring) การแบง่ ปนั กนั ตลอดจนการแลกเปลย่ี น เรียนรู้จากกัน (Sharing) เพราะทุกประเทศต่างมีความหลากหลาย ของท้องถ่ิน ภาษา และชาติพันธุ์ รวมทั้งนิเวศวิทยาของอาณาบริเวณ ทจ่ี ะตอ้ งอยรู่ ว่ มกนั และพฒั นาไปดว้ ยกนั ดว้ ยหลกั “พอเพยี งและยงั่ ยนื ” แล้วส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชน ประชาสังคม และท้องถิ่น ตลอดจนมหาวิทยาลยั ในการเสรมิ สรา้ งอตั ลักษณ์ร่วมกัน นอกจากนย้ี งั มเี รอื่ งการมองประเทศเพอื่ นบา้ นอยา่ งพน้ ไปจากกรอบ ชาตินิยม และการฉกฉวยผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ และมุ่งหน้าสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ที่จะอยู่กับเพ่ือนบ้านด้วยความเคารพ ซึ่งกนั และกัน อนั เป็นพ้นื ฐานของความสมั พันธท์ ย่ี ั่งยนื ตอ่ ไป ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 93

ดังน้ัน เม่ือมีการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการ จะมี ผคู้ นหลากหลายเขา้ มาตดิ ตอ่ ขอใชบ้ รกิ ารจากภาครฐั มากขนึ้ ขา้ ราชการ และเจ้าหน้าที่รัฐจึงจะต้องมีทักษะในการร่วมมือสร้างโอกาสและ ลดขอ้ จ�ำ กดั เพอื่ เปน็ การเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ระยะยาว 3) ความสามารถดา้ นไอที ตามแผนความฉลาดแหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 (Intelligent Nation 2015) หรือ iN2015 เป็นแผนแม่บทด้านไอซีทีของรัฐบาลสิงคโปร์ ได้ประกาศ นโยบายไอทรี ะดบั ชาตทิ ต่ี อ้ งการเปลยี่ นแปลงจาก e-government เปน็ i-government ซึง่ อักษร “i” หมายถงึ “integration” คือ การท�ำ งาน รว่ มกนั และการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหวา่ งหนา่ ยงานภาครฐั โดยใชเ้ ทคโนโลยี Web Service ดงั นั้น จงึ มีความจำ�เปน็ อย่างยิ่งทจี่ ะตอ้ งมีการก�ำ หนดความสามารถ ด้านไอทีเป็นอีกคุณสมบัติหน่ึงของข้าราชการที่จะต้องมีการต่ืนตัว ในการเตรียมความพร้อม เพื่อรับประชาคมอาเซียน และสนองนโยบาย i-government ของรัฐบาลดว้ ยเช่นกัน 4) ความสามารถด้านการปรับตวั ในการขบั เคลอื่ นการเปลยี่ นแปลงและองคก์ ารแหง่ ความเปน็ เลศิ นน้ั กองบริการสาธารณะ (PSD) เปน็ แชมปเ์ ปยี้ นในการเปล่ียนแปลงบริการ สาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนแปลงในองค์การหรือการคาดการณ์ การเปล่ียนแปลง ทั้งมีบทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมการปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ และการประกันทักษะของพนักงานต่างๆ ให้ทันสมัย ท้ังทำ� การศกึ ษาและเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หาประเดน็ ทเ่ี ปน็ กลยทุ ธร์ ะยะยาว 94

ในหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ให้พัฒนากระบวนการและแผนงานสำ�หรับ การอภปิ รายแลกเปลย่ี นถงึ นโยบายของรฐั ทง้ั หมด และรเิ รม่ิ เปน็ หวั หอก ในการปฏิรูปผ่านแผนโครงการ เป็นกุญแจท่ีท้าทายและโอกาสต่างๆ ในสงิ คโปร์ท่จี ะปรากฏในอนาคต ซง่ึ ชว่ ยใหพ้ นักงานมีกระบวนความคิด ตลอดถงึ สมมตฐิ านในการตง้ั ค�ำ ถามและความสามารถทบ่ี รกิ ารสาธารณะ คาดการณ์ถึงวิถโี ครงสร้างในอนาคต กองบริการสาธารณะ (PSD) สนับสนุนด้านต่างๆ ตามแผน PS21 ในการปฏบิ ตั กิ ารทแ่ี สวงหาการฝกึ อบรมดา้ นการเปลยี่ นแปลงวฒั นธรรม ในการบริการสาธารณะ สถานท่ีการบริการสาธารณะที่พร้อมสำ�หรับ การเปล่ียนแปลง และสามารถปฏิบัติการเปล่ียนแปลง แผน PS21 แสวงหาการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมในสำ�นักงานต่างๆ ทุกระดับ โดยการหนุนช่วยและเพ่ิมอำ�นาจในการมีส่วนร่วมของข้าราชการ ให้เกิดการปรบั ปรงุ ตลอดเวลา การทดสอบ และมนี วตั กรรม นอกจากนี้ แผน PS21 ยงั มเี ปา้ หมายทจ่ี ะปลกู ฝงั ทศั นคตกิ ารบรกิ ารภาครฐั ทดี่ เี ยย่ี ม ใหแ้ กข่ ้าราชการด้วย กองบริการสาธารณะ (PSD) ทำ�งานใกล้ชิดกับบรรดารัฐมนตรี และคณะกรรมการกำ�กับท่ีสร้างความรู้สึกภาคภูมิใจระหว่างหน่วยงาน ด้วยกัน ท่ีดำ�รงชีวิตด้วยคุณค่าแห่งความซื่อสัตย์ การบริการ และ ความเป็นเลิศ ทุกๆ ปีจะมีการฉลองความสำ�เร็จของหน่วยงานบริการ สาธารณะและยืนยันคำ�ม่ันสัญญาการบริการในสัปดาห์การบริการ สาธารณะในเดือนพฤษภาคม 5) ความสามารถด้านอ่นื ๆ นาย Eddie Teo ประธานวทิ ยาลยั ขา้ ราชการพลเรอื น (Civil Service ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 95

College: CSC) ได้กล่าวไว้ในรายงานประจำ�ปีของ CSC ปี 2554 ว่า ข้าราชการยุคใหม่ของสิงคโปร์จำ�เป็นต้องมีความสามารถอ่ืนๆ เพิ่มเติม ดังนี้ • มีความมุ่งมั่นท่ีจะทำ�งานเพื่อประเทศสิงคโปร์ และปรับปรุง วถิ กี ารดำ�เนินชวี ิตของชาวสิงคโปร์ให้ดีย่งิ ขนึ้ • มีมาตรฐานความเป็นมืออาชพี และความซื่อสตั ยส์ ูง • มีความต้ังใจในการฟังและเข้าใจความปรารถนา ความต้องการ และความเดอื ดรอ้ นของประชาชน รวมทง้ั ดา้ นกฎเกณฑแ์ ละการน�ำ นโยบาย ไปปฏิบัติ [58] 96

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจ ของแต่ละกระทรวงและหนว่ ยงานหลกั ทร่ี ับผดิ ชอบงานทีเ่ ก่ียวกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงิ คโปร์ 97

5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะกระทรวง สำ�นักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Office) ภารกจิ สำ�นักนายกรัฐมนตรี (The Prime Minister’s Office - PMO) ประกอบด้วยหนว่ ยงานทท่ี �ำ หน้าท่ีสนบั สนุน นายกรฐั มนตรใี นประเด็นตอ่ ไปนี้ • การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ ในภาครฐั (Public Sector Leadership Development) • ขอบขา่ ยความกา้ วหนา้ งานทรพั ยากรมนษุ ย์ (Progressive Human Resource Framework) • การบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในงานบรกิ าร สาธารณะ (Effective Change Management in the Public Service) • ความนา่ เชอ่ื ถอื และความเปน็ เลศิ ในงานบรกิ ารสาธารณะ (Public Service Excellence and Ethos) • นโยบายประชากรแห่งชาตแิ ละการพัฒนาความสามารถ (National Population and Talent Policies) • กลยุทธ์ดา้ นการวจิ ยั นวัตกรรม และกิจการแห่งชาติ (National Research, Innovation and Enterprise Strategies) 98

ภารกจิ • ความมนั่ คงแห่งชาติ (National Security) • การปอ้ งกนั การคอรปั ช่นั (Prevention of Corrupt Practices) • การเลอื กตง้ั และการบรจิ าคทางการเมือง (Elections and Political Donations) • ความซ่อื สัตย์ รางวลั และสญั ลกั ษณแ์ หง่ ชาติ (Honours, Awards and National Symbols) • ความยุตธิ รรมและสันติภาพ (Justices of the Peace) • การประสานนโยบายดา้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Co-ordination of policies associated with climate change) ประกอบด้วยหนว่ ยงานต่างๆ ดงั น้ี • ทบวงสืบสวนการประพฤตทิ ุจริต (Corrupt Practices Investigation Bureau) • กรมการเลอื กต้งั (Elections Department) • ส�ำ นักงานเลขาธิการการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แห่งชาติ (National Climate Change Secretariat) • กองบรกิ ารสาธารณะ (Public Service Division) • กองประชากรแห่งชาตแิ ละการพฒั นาความสามารถ (National Population and Talent Division) • กองทุนการวจิ ัยแห่งชาติ (National Research Foundation) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร์ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook