ขนบธรรมเนียม ประเพณไี ทย
ประเพณไี ทย • การแสดงออกจากความคดิ ความเชอ่ื ของ กลุม่ สังคมนนั้ และปฏบิ ตั ิรว่ มกนั สบื ทอด ต่อเน่ืองมาแลว้ ต้ังแต่อดีต • สว่ นใหญ่มาจากศาสนาทง้ั ศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์ • ปจั จุบันเราจงึ ได้เหน็ หลายประเพณีที่ แม้ว่าจะไม่ได้เปน็ ประเพณที ีเ่ กดิ ข้ึนจาก สังคมไทยแตก่ ็ยอมรับมาปฏิบตั ิเช่นกัน เชน่ ตรุษจีน เป็นต้น
ควำมหมำยของคำว่ำ ประเพณี • เป็นสง่ิ ที่นยิ มถอื ประพฤติปฏิบัตสิ บื ๆ ตอ่ กนั มาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนยี ม หรอื จารตี ประเพณี • เปน็ กจิ กรรมหรือการกระทาทีก่ ลุม่ สังคมประพฤติปฏิบัติรว่ มกัน และสบื ตอ่ เรอ่ื ยมาตงั้ แตอ่ ดตี จนมีแบบแผนทช่ี ดั เจน • เป็นกจิ กรรมทางสังคมทีผ่ ู้คนส่วนใหญ่ถือปฏบิ ัตสิ ืบตอ่ กันมา • เปน็ เรื่องของสังคมหรือสว่ นรวมท่รี ่วมมือรว่ มใจกนั ทากจิ กรรมเพ่ือให้สงั คมน้ันเกดิ ความสงบ เปน็ สุข สามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสงบ • เปน็ สิง่ ท่คี นในสงั คมส่วนรวมสรา้ งขนึ้ เพ่อื ใหเ้ ป็นมรดกทผี่ ู้เปน็ ทายาทจะต้องรับไวแ้ ละปรบั ปรุง แกไ้ ขใหด้ ยี ิง่ ๆ ขน้ึ ไป
ควำมหมำยของคำว่ำ ประเพณี (ต่อ) สรปุ ได้วำ่ • แบบแผนของความคดิ ความเชอ่ื อนั นามาซึ่งการประพฤตปิ ฏิบตั ทิ ่ีสบื ตอ่ กัน มาจากรุน่ หนง่ึ ส่รู ุ่นหนึ่ง • จะต้องเปน็ ส่ิงท่สี ังคมน้ันเหน็ พอ้ งต้องกนั วา่ ดงี าม • นามาซงึ่ ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา ไขขอ้ สงสัย เพอ่ื ใหส้ งั คมสามารถ ดารงอย่ไู ด้อยา่ งมีความสขุ • นามาซึ่งการกา้ วเดินไปส่เู ป้าหมายท่แี ทจ้ ริงของชวี ติ
กำรแบง่ ประเภทของประเพณี จำรีตประเพณี ประเพณที ีม่ ีเรือ่ งของศลี ธรรมเข้ามาร่วม ขนบประเพณี กาหนดด้วย ธรรมเนยี มประเพณี ประเพณที ม่ี ีการวางระเบยี บสาหรับการ ประพฤติปฏบิ ตั เิ อาไวแ้ ล้วอย่างชัดเจน ประเพณที ี่เกีย่ วกบั การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นใน ฐานะที่เป็นสมาชกิ ของสงั คม
กำรแบ่งประเภทของประเพณี ใช้เกณฑ์ว่ำประเพณีนั้น เป็นเร่อื งเก่ียวกับใคร
ประเภทของประเพณี : ประเพณีครอบครวั • หมายถึง ประเพณีที่เกี่ยวกับ ครอบครวั โดยเฉพาะท่ีอยูใ่ นวิถกี าร ดาเนินชวี ติ ตั้งแตเ่ กิดจนตาย • เชน่ ประเพณที เี่ ก่ยี วกับการเกดิ การ บวชเรยี น การแต่งงาน การตาย การปลูกเรือน เป็นต้น
ประเภทของประเพณี : ประเพณสี ว่ นรวม • หมายถงึ กจิ กรรมหรอื การกระทา ร่วมกันของคนในสังคม • เช่น ประเพณีทเ่ี ก่ียวกบั วนั สาคัญ ของศาสนา ประเพณที เี่ ก่ยี วข้องกับ ความสามคั คีของคนในสงั คม หรือ ประเพณที เ่ี กย่ี วกับเทศกาลตา่ ง เปน็ ตน้
ประเภทของประเพณี : ประเพณที ้องถนิ่ • หมายถงึ การประพฤตปิ ฏิบตั ริ ่วมกนั ของ สมาชิกในสงั คมหรอื ท้องถ่ินนน้ั ๆ เป็นการ เฉพาะ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ เรอ่ื งทผ่ี กู พนั อยู่ กับวิถกี ารดารงชวี ิตร่วมกนั อาชพี งานบญุ เปน็ ตน้ • เชน่ ประเพณกี ารคล้องช้างจงั หวดั สุรนิ ทร์ ประเพณกี ารแตง่ กายของชาวลพบุรี เปน็ ต้น
ประเภทของประเพณี : พระรำชพธิ ีและรัฐพิธี • หมายถงึ ประเพณีที่เก่ียวเนื่องกบั ผปู้ กครอง แบ่งเปน็ พระราชพธิ แี ละรัฐ พธิ ี • พระราชพิธี หมายถึง พิธีการที่พระมหากษัตรยิ ท์ รงปฏบิ ตั ติ ามพระราช กรณยี กิจทีเ่ ป็นแบบแผนราชประเพณมี าแตโ่ บราณ เชน่ พระราชพธิ จี รด พระนังคัลแรกนาขวญั พระราชพธิ ฉี ัตรมงคล เปน็ ตน้ • รฐั พิธี หมายถงึ พิธีที่ “รัฐ” หรอื รัฐบาลเปน็ ผจู้ ดั ขึน้ แลว้ กราบบังคมทูลขอ พระราชทานพระมหากรณุ าธิคุณอญั เชญิ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เสดจ็ พระราชดาเนินมาเปน็ องคป์ ระธานหรืออาจทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระราชวงศ์เสดจ็ แทนพระองค์
กำรแบง่ ประเภทของประเพณี ณรงค์ เส็งประชำ แบง่ โดยใช้กจิ กรรมที่ทาอยูเ่ ป็นประจา ออกเป็น 3 ประเภท คอื • ประเพณีประจำวัย หมายถึง ประเพณีที่กระทาในแต่ละช่วงชวี ติ ของบคุ คล เชน่ ประเพณที ี่เกย่ี วกับการเกิด โกนจุก การบวช การแต่งงาน การตาย เปน็ ต้น • ประเพณีประจำตวั หมายถงึ กิจกรรมหรอื การกระทาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ตวั บคุ คล เช่น การฟังธรรม การทาบญุ ครบรอบวนั เกิด การทาบญุ ข้ึนบา้ นใหม่ เป็นตน้ • ประเพณีสำคญั ทำงศำสนำ หมายถึง ประเพณีทางสังคมทเี่ ก่ียวขอ้ งกับรอบ วนั สาคญั ทางศาสนา เชน่ วนั มาฆบชู า วนั อาสาฬบูชา วันเข้าพรรษา เป็นต้น
ควำมสำคัญของ ประเพณีไทย
ประเพณคี อื วัฒนธรรมของชำติ • สิ่งทีจ่ ะเรยี กไดว้ ่าเป็นประเพณนี นั้ จะตอ้ งผา่ นกระบวนการแช่วงเวลามา อยา่ งยาวนาน จะตอ้ งผ่านการยอมรับร่วมกันของคนในสงั คมหรือกลุ่ม สงั คมนน้ั ๆ ถ่ายทอด สืบตอ่ กนั ผ่านช่วงเวลา อนั เป็นสิ่งท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึง ภมู ิปญั ญาของสงั คมไทย • ประเพณีจึงเป็นเครอื่ งสะท้อนใหเ้ ห็นถึงความเจรญิ รงุ่ เรืองของสงั คมไทย และสร้างความภาคภมู ใิ จใหก้ บั คนรุ่นหลัง
ประเพณีคือสิ่งทท่ี ำให้ชำตเิ จริญรงุ่ เรอื ง • ประเพณีไทย คอื เคร่ืองมือสาคญั ในการทาใหส้ มาชิกในสังคมนน้ั อยรู่ ว่ มกันอยา่ งสงบ สขุ ภายใตค้ วามคิดเห็นและการยอมรบั ท่จี ะปฏิบตั ิตามร่วมกนั โดยต้งั อยบู่ นพืน้ ฐาน ของความดงี าม และความสามคั คี • ประเพณีจงึ มีความสาคญั ในฐานะเปน็ กลไกของการเปน็ สงั คม • แม้ปจั จบุ ันเองทปี่ ระเพณีสาคญั มากมายจะถูกจดั ขึน้ โดยมีวัตถุประสงค์แฝงมากมาย ท้งั การกระตนุ้ เศรษฐกจิ การสรา้ งอัตลกั ษณข์ องตนเอง ฯลฯ หากแตเ่ มอื่ พจิ ารณา โดยละเอียดแล้วก็จะพบว่า ประเพณกี ็ยังมีคณุ ค่าตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื งอยเู่ ชน่ เดิม
ประเพณคี ือเอกลกั ษณอ์ ย่ำงหนึง่ ของคนไทย • ประเพณีไทยท่ีงดงามถือได้ว่าเปน็ เอกลักษณอ์ ย่างหนงึ่ ทค่ี นไทยควรได้ ภาคภมู ิใจอยา่ งยงิ่ • สิ่งสาคญั คือประเพณีคือเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการเชือ่ มความสัมพนั ธ์ของคนใน สงั คม ให้มีความรัก ความสามคั คี มคี วามเป็นหน่ึงเดียวกนั อันจะนามาซึง่ ความม่นั คงของชาตบิ า้ นเมือง • ปจั จบุ ันเอกลกั ษณ์หรือลกั ษณะเฉพาะของตนเอง กาลงั กลายเป็นเครื่องมอื ที่ใช้ตอ่ ยอดเศรษฐกจิ มปี ระเพณีไทยมากมายถูกจดั ขึ้นอยา่ งใหญโ่ ตเพ่อื ดึงดูดนกั ท่องเที่ยว แต่หากว่าการกระทานนั้ ขาดซึ่งความหมายแท้จริงแล้ว ประเพณดี งั กล่าวก็จะไรซ้ ึ่งคณุ คา่ และขาดซึง่ ความยงั่ ยืน
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณใี นสังคมไทย ประเพณไี ทยแบง่ ออกเปน็ 4 ลกั ษณะ คอื
ประเพณเี กี่ยวกบั ชวี ติ
ประเพณที ี่เกยี่ วกบั กำรเกดิ • การไมเ่ ตรยี มขา้ วของสาหรับเดก็ ไว้ ลว่ งหน้าจนกว่าจะคลอดเดก็ ออกมา เพราะเชอื่ วา่ จะทาให้เด็กน้ันอายสุ ัน้ • การจดั เตรยี ม “กระดง้ ” เพ่ือรองรับ การนอนของเด็กแรกเกดิ • พิธแี ม่ซอื้ • พธิ อี ยูไ่ ฟ • พิธีสมุ หนามป้องกนั ผีกระสือ
ประเพณีกำรบวช • เพื่อผล 2 ประการหลกั คอื 1. เพ่ือตอบแทนบญุ คณุ ของพ่อแม่ 2. เพ่ือศกึ ษาเล่าเรียนหลกั ธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา • มคี วามแตกต่างกนั เช่น พธิ ที าขวญั นาคของทางภาคกลาง พิธีแหน่ าคทางภาคอสี าน พิธี อุปสมบทของชาวมอญในประเทศไทย เป็นตน้ • คาทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การบวช 2 คา คอื บรรพชาและอุปสมบท • พธิ กี รรมหลายข้นั ตอน ตง้ั แตพ่ ิธีกราบลาขอขมาผ้ใู หญส่ ง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ที่ตนเองและครอบครวั นบั ถอื พธิ ีปลงผม พิธที าขวัญนาค พิธแี หน่ าค พิธบี วช พิธีเลี้ยงฉลอง • รปู แบบเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพสงั คมทีเ่ ปล่ียนไป
ประเพณีกำรแต่งงำน • คอื พธิ กี รรมเพ่อื ใหช้ ายหญิงอยู่กนิ เปน็ สามีภรรยากันตามประเพณี • ตอ้ งมีพธิ ีสู่ขอ พิธีหมน้ั หมาย พิธกี ารแห่ขบวนขนั หมาก พธิ ีผูกข้อมือ พิธีรดน้า พิธีทาบญุ เพือ่ ความเป็นสริ ิมงคล พธิ ฉี ลองมงคลสมรส พิธสี ่งตัวเขา้ หอ เปน็ ต้น • ทุกข้ันตอนของพิธกี รรมจะประกอบไปด้วยฤกษ์งามยามดี • ปัจจุบันพธิ กี รรมการแต่งงานแบบไทยกลายเปน็ ความฟุ่มเฟอื ย ยงุ่ ยาก ล้าสมยั มกี ารเพ่มิ เติมงานเลย้ี งฉลองแบบตะวันตก การตดั เคก้ การโยนดอกไม้ ฯลฯ • คนรนุ่ ใหมไ่ มส่ นใจประเพณกี ารแตง่ งานแบบไทย สนใจพธิ กี ารทสี่ วยงามแปลก ตาแบบตะวันตก เพราะมองว่าเปน็ เร่ืองของอสิ รเสรภี าพ
ประเพณีเกีย่ วกบั กำรตำย • แต่ละศาสนาจะมีความคดิ ความเชอื่ ที่เกยี่ วกบั การสน้ิ สดุ ของชีวติ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป • บางศาสนาเชือ่ เร่ืองโลกหนา้ บางศาสนาเช่ือเรอ่ื งการเวยี นวา่ ยตายเกดิ บางศาสนา เชอ่ื เรื่องการไปรวมกบั พระเจา้ • นามาซ่งึ ประเพณปี ฏบิ ัติต่อการตายทแี่ ตกต่างกัน • เมอ่ื ศพผา่ นพธิ ีกรรมตามความเชื่อแล้วกจ็ ะกลายสถานะมาเปน็ ผีบรรพบรุ ุษ เทวดา บนสวรรค์ ลงนรกเพ่ือชดใช้กรรม ดวงวิญญาณท่ีล่องลอย
ประเพณที เ่ี ก่ียวกับสงั คม • เรียกอกี อย่างหน่ึงวา่ ประเพณีสว่ นรวม • เชน่ ประเพณีสงกรานต์ ตรษุ จีน ปใี หม่ ลอยกระทง เปน็ ตน้ • ไม่เพยี งบ่งบอกถงึ รูปแบบวิถกี ารอยู่รว่ มกนั ของคนในสังคมไทยเทา่ นนั้ หากแต่ยงั สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ การจัดระเบียบ วธิ ีการปฏิบัตริ ่วมกันโดยต้งั อยู่ บนพ้นื ฐานของการยอมรบั ร่วมกนั • ประเพณีทเ่ี กย่ี วกับสงั คมนมี้ ตี ั้งแต่กล่มุ สังคมส่วนย่อย เชน่ ประเพณขี อง ชาวชนเผา่ ประเพณขี องทอ้ งถิน่ ฯลฯ
ประเพณสี งกรำนต์ • เชอ่ื กนั ว่าเปน็ ของชาวอินเดีย • สงกรานต์ เปน็ ภาษาสันสกฤต แปลว่า กำรยำ่ งขึน้ หมายถงึ ดวงอาทติ ย์ย่างขนึ้ สู่ราศีใดราศี หน่ึง กเ็ รยี กว่าสงกรานต์ • แตถ่ ้าดวงอาทิตยย์ า้ ยจากราศีมีน ขึ้นสรู่ าศเี มษเปน็ การขนึ้ ปีใหมท่ ่มี ี ช่ือเรยี กเป็นพิเศษวา่ “มหำสงกรำนต”์
ประเพณสี งกรำนตโ์ ดยทัว่ ไปจะแบ่งออกเปน็ 4 วัน คือ • วนั ท่ี 1 เรียกว่ำวนั สังขำรล่อง มีการเฉลิมฉลองด้วยการจดั เตรยี มขา้ ว ของไว้สาหรับทาบุญ เกบ็ กวาดบา้ นเรือนให้สะอาด • วนั ท่ี 2 “วันเน่ำ” หรือ “วนั เนำ” มกี ารจดั เตรียมทาอาหารสาหรับไป ทาบุญท่ีวัดและรดนา้ ขอพรผใู้ หญบ่ างพ้นื ท่ีจะมกี ารขนทรายเขา้ วดั • วนั ท่ี 3 เรยี กวำ่ “พญำวนั ” หรอื “วันเถลิงศก” ไปทาบุญทว่ี ดั ปล่อยนก ปลอ่ ยปลา สร้างกศุ ล สรงนา้ พระ ทาพธิ ีบังสกุ ุลอทุ ศิ สว่ นกุศล ใหก้ ับบรรพบรุ ษุ จากนน้ั หนมุ่ สาวกส็ าดนา้ เลน่ กัน • วันท่ี 4 เรยี กวำ่ “วันปำกปีปำกเดอื น” ชาวบา้ นจะพากันไปขอขมา ผู้ใหญ่
ประเพณลี อยกระทง • จัดขึ้นเป็นเทศกาลประจาปีในวันข้นึ 15 คำ่ เดือน 12 • สันนษิ ฐานกันว่าคนไทยรบั ประเพณี ดังกลา่ วมาจากอินเดียตามความเช่ือ ของศาสนาพราหมณ์ • นางนพมาศหรอื ทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ์ อันเปน็ พระสนมเอกแห่งพระรว่ งเจ้า เปน็ ผคู้ ดิ คน้ รูปแบบของกระทงข้นึ มา • เปน็ การสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความ สอดคลอ้ งระหว่างคนและธรรมชาติ
วัตถุประสงคข์ องประเพณีลอยกระทง วัตถุประสงค์โดยทัว่ ไปของคนไทย คือ • เป็นการบูชาเทพเจา้ ประจาสายนา้ หรือพระแมค่ งคา • เปน็ การแสดงออกถงึ ความกตัญญู • การประเพณรี นื่ เริงและพกั ผ่อน หย่อนใจ
สพุ ตั รำ สุภำพได้อธบิ ำยว่ำ • เป็นกำรบูชำพระวิษณุบำท อันเป็นความเช่ือของศาสนาพราหมณ์ว่าเป็นการบูชารอย พระบาทพระผเู้ ป็นเจ้าหรือท้าวมหาพรหม • เป็นกำรบูชำรอยพระพุทธบำท ท่ีหาดทรายแม่น้าเนรพุทธ ต้ังอยูใ่ นแคว้นทักขิณาบถ ประเทศอนิ เดยี • เป็นกำรบูชำบรรพบุรุษ โดยมีการใส่สิ่งของต่างๆ ตามความเชื่อของตนเองลงไป จากน้ันกล็ อยไปตามกระแสน้าเพ่ือบชู าบรรพบรุ ษุ ของตน • เป็นกำรบูชำพระอุปคุต อันเป็นความเช่ือของชาวเหนือท่ีพ้องกันกับความเช่ือของชาว พม่าท่ลี อยกระทงไปบูชาพระอุปคตุ ซง่ึ จาศลี อยูใ่ นโลหะปราสาท ณ กน้ ของแมน่ ้า
ประเพณีเก่ยี วกบั พทุ ธศำสนำ
ประเพณที ่ีเกี่ยวกับพุทธศำสนำ • พิจารณาจากความเช่ือในพระพทุ ธศาสนา • มีความแตกตา่ งกันไปในแต่ละท้องถิ่น • ประกอบไปด้วยความร้คู วามเขา้ ใจถงึ เปา้ หมายทีแ่ ทจ้ ริงของชวี ติ ตาม หลักการทางพุทธศาสนา • วิธกี ารปฏิบัตทิ ่ีถกู ตอ้ งจึงเป็นสิ่งสาคญั ในการอนุรกั ษ์ประเพณรี วมถึงสืบต่อ พระศาสนาให้ยืนยาว
ประเพณวี นั พระ • วนั สาคญั ทนี่ ับเอาวันตามจันทรคติ มี 4 วนั ใน 1 เดอื น คือ ข้นึ 8 คา่ ขึ้น 15 คา่ แรม 8 ค่า และแรม 15 คา่ • มีการทาบุญ ฟังเทศ ฟงั ธรรม ฝกึ จติ ปฏบิ ัติธรรม • จดุ ม่งุ หมาย คือ ได้มีโอกาสชาระจิตใจใหบ้ ริสทุ ธิ์ ตรวจสอบผลของการกระทา ของตนเองทผ่ี ่านมา • การศึกษาธรรมมะเปน็ การอทุ ิศใหก้ ับบรรพบรุ ษุ ทไ่ี ดล้ ว่ งลับไปแล้ว • ศีลไปประพฤติปฏิบตั ิ ตรวจสอบเปา้ หมายท่แี ทจ้ รงิ ของชวี ติ
ประเพณวี นั มำฆบชู ำ • ตรงกันวนั เพ็ญเดอื น 3 รูป • เปน็ วนั ท่ปี ระกอบไปดว้ ยเหตสุ าคัญ 4 ประการคือ 1. เป็นวันทพี่ ระจนั ทรเ์ สวยมาฆฤกษ์ 2. เป็นวันท่ีพระสงฆ์มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมายพร้อมกันมากถึง 1,250 พระสงฆ์เหล่านน้ั ล้วนสาเร็จพระอรหันต์ 3. เปน็ ภิกษทุ ไ่ี ดร้ ับการอปุ สมบทจากองค์สมเด็จพระพุทธเจ้า 4. สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
ประเพณวี นั วิสำขบูชำ • ตรงกับวนั เพญ็ ข้นึ 15 ค่า เดือน 6 • เปน็ วันทอี่ งค์สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงประสตู ิ ตรสั รู้ และ ปรนิ ิพพาน • ถือเปน็ วันพระทพี่ ทุ ธศาสนกิ ชนจะไดร้ ว่ มกนั ทาบญุ รับศลี ฟงั ธรรม ปฏบิ ัติ ธรรม รวมถึงการเวียนเทียนในชว่ งกลางคืน
ประเพณีวนั อำสำฬบูชำ • ตรงกบั วันเพญ็ ขึน้ 15 ค่า เดือน 8 • เป็นวันท่ีมีเหตุการณ์สาคญั เกดิ ข้ึน คือ • เปน็ วนั ทพ่ี ระพทุ ธศาสนาเกิดข้ึนแลว้ บนโลกใบน้ี • เปน็ วนั ท่ีองค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทรงแสดงพระธรรมเทศนา “ธมั จกั รกับปวตั นสตู ร” แกป่ ัจจวคั คยี ์ท้ัง 5 จนไดด้ วงตาเหน็ ธรรม • เปน็ วันท่พี ระสงฆเ์ กิดข้นึ แลว้ ในโลก นั่นกค็ อื พระอญั ญาโกญฑัญญะ หน่งึ ในปัจวัคคียท์ ข่ี อ บวชในพระพทุ ธศาสนา • พระรตั นตรัยเกิดขึน้ แลว้ ทง้ั พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ • พุทธศาสนกิ ชนจะร่วมกันทาบุญตักบาตร รับศลี ฟังธรรม ปฏบิ ตั ธิ รรม และเวยี นเทยี น
ประเพณวี ันเขำ้ พรรษำ • ตรงกบั วันแรม 1 ค่า เดอื น 8 (ตอ่ เน่อื งกับวนั อาสฬบูชา) • เป็นวนั ที่พระภกิ ษุจาพรรษา ตั้งแต่วันแรม 1 ค่า เดือน 8 จนถงึ วนั ข้นึ 15 คา่ เดอื น 11 รวม ระยะเวลา 3 เดอื น • มีการทาบญุ ตกั บาตร รบั ศลี ปฏบิ ัติธรรม • มีประเพณีการทาบญุ ถวายผา้ อาบนา้ ฝนใหก้ บั ภกิ ษุสงฆ์ • ปัจจุบันยงั มกี ารรณรงค์การทาความดโี ดยใช้วนั สาคญั ทางศาสนาเหล่านเี้ ปน็ เงือ่ นไข เชน่ งดเหล้า เข้าพรรษา ถอื ศลี ปฏบิ ตั ิธรรม
ประเพณีวันออกพรรษำ • ตรงกบั วนั ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 11 • ทาบุญตักบาตรหรอื ที่เรยี กว่า “เทโวโรหะนะ” ซง่ึ หมายถงึ การหยั่งลงมายงั เทวโลก • เป็นการตักบาตรในวาระพเิ ศษสืบเน่ืองจนเป็นประเพณียอ่ ยอกี มากมาย เชน่ การตัก บาตรดว้ ยขา้ วตม้ มัด ข้ามต้มลกู โยน ตกั บาตรดอกบัว เปน็ ต้น • เรียกอกี อย่างหนึ่งวา่ “วันปวารณา” อนั หมายถึงวนั ท่ีพระภิกษสุ งฆต์ า่ งยอมรับในการ ตกั เตอื นซงึ่ กันและกนั
ประเพณที อดกฐนิ • ระหว่างวันแรม 1 คา่ เดือน 11 ถงึ วนั ข้นึ 15 ค่า เดือน 12 หรือหลังจากออกพรรษา ไปแล้วประมาณ 1 เดือน • ผา้ ท่เี ปน็ องคก์ ฐนิ จะต้องเป็นจวี ร หรือผา้ สบง หรอื ผา้ สังฆาฏิผนื ใดผนื หน่งึ • นอกเหนอื จากผ้าดังกล่าวจะเรยี กวา่ “บรวิ ารกฐนิ ” • ประเพณีไทยโบราณจะถือว่าเปน็ งานบุญใหญท่ ่ีจะตอ้ งจัดเตรียมอยา่ งใหญ่โต ต้อง บอกกล่าวให้ทว่ั ถงึ
ประเพณีทอดผ้ำป่ำ • ผา้ ปา่ คือ ผ้า (พรอ้ มท้งั เครื่องบรวิ าร ถ้ามี) ทน่ี าเอาไปวางทอดไวเ้ สมือนว่า เปน็ ผา้ ท่ีทง้ิ อย่ใู นปา่ เพ่ือใหพ้ ระชัก เอาไป
ประเพณีเทศมหำชำติ • เชอื่ กันว่าประเพณีเทศนม์ หาชาติมมี าแลว้ ตั้งแตค่ รั้งสโุ ขทัย • เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้พระพุทธศาสนาเสอื่ มสลายไป • ถอื เปน็ บุญใหญท่ ่ีไม่สามารถกระทากนั ไดใ้ นกลมุ่ สงั คมยอ่ ย • มีทีม่ าจากชาดกเรอื่ งพระเวสสนั ดรชาดก • เทศน์มหาชาติ มที ัง้ หมด 13 กัณฑ์ • เช่อื กันวา่ ใครที่ไดฟ้ ังธรรมเทศน์มหาชาตคิ รบทงั้ 13 กัณฑ์ในวันเดยี วจะไดอ้ านิสงสส์ งู มาก • จะไดไ้ ปเกิดอกี ในยุคของพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 5 หรือ ยคุ ของพระศรีอาริยเมตไตรย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127